สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

งานบริหารกลาง โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ งานบริหารกลาง โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ
ภายใต้โครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน (13 เขต)
รหัสโครงการ 65-10011
วันที่อนุมัติ 23 กันยายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 15,000,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สถาบันนโยบายสาธารณะ
ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.สุวภาคย์ เบญจธนวัฒน์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวจินดาวรรณ รามทอง
พื้นที่ดำเนินการ เขตสุขภาพที่ 1-13
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2565 15 ก.พ. 2566 3,019,784.00
2 16 ก.พ. 2566 31 พ.ค. 2566 4,478,804.00
3 1 มิ.ย. 2566 31 มี.ค. 2567 4,891,304.00
4 1 เม.ย. 2566 31 ส.ค. 2567 2,218,804.00
5 1 ก.ย. 2566 30 ก.ย. 2567 391,304.00
รวมงบประมาณ 15,000,000.00
stars
3. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
4. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
5. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) จำนวน 80 กองทุน (อย่างน้อย 5 อำเภอ)

80.00
2 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้มีโครงการสร้างเสริมสุขภาวะที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) ที่ผ่านการพิจารณาและได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ รวมอย่างน้อย 500 โครงการ

500.00
3 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาทลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

พี่เลี้ยงที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนฯ รวม 130 คน

130.00
4 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

ขยายผลไปยังกองทุนฯ อื่นโดยความสมัครใจ จำนวน 100 กองทุน

100.00
5 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

กองทุนขยายผลมีแผนงานอย่างน้อย 1-2 แผนงานต่อกองทุน และมีโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ รวมอย่างน้อย 150 โครงการ

150.00
6 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

ได้คู่มือการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการ ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต จำนวน 8 ชุด

8.00
7 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

ได้ website ระบบการจัดการบริหารกองทุนฯ ที่ใช้ในการพัฒนาแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต จำนวน 1 ระบบ

1.00
8 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

ได้รูปแบบการบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ อย่างน้อย 5 อำเภอ

5.00
9 1. ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) จำนวน 80 กองทุน (อย่างน้อย 5 อำเภอ)

ได้ข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และได้ข้อเสนอเชิงนโยบายในการบูรณาการการดำเนินงานระหว่างกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

0.00
stars
6. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 15 3,000.00 28 853,619.00
10 ต.ค. 65 ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน 0 0.00 3,800.00
17 - 21 ต.ค. 65 ระชุมชี้แจงโครงการ วางแผนการดำเนินงาน และพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน 0 0.00 385,051.00
17 พ.ย. 65 ร่วมประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ และร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) อ.หนองจิก อ.ยะหริ่ง อ.เมือง จ.ปัตตานี 0 0.00 7,080.00
24 พ.ย. 65 - 25 พ.ย. 64 อบรมเสริมทักษะการบริหารจัดการแผนงาน/โครงการ ด้านการเงิน การบัญชี 0 0.00 8,900.00
30 พ.ย. 65 ประชุมหารือพัฒนาเครื่องมือเก็บข้อมูล 0 0.00 11,790.00
13 ธ.ค. 65 ประชุมชี้แจงแจงเรื่องการเงินและพัสดุ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชม ผ่านระบบ ZOOM 15 3,000.00 4,150.00
24 - 26 ธ.ค. 65 กิจกรรมทดสอบเครื่องมือเก็บข้อมูลสถานการณ์ชุมชน 0 0.00 7,000.00
27 ธ.ค. 65 ประชุมหารือและเสนอความคิดเห็นเพื่อพัฒนาเครื่องมือเก็บข้อมูลสถานการณ์ในชุมชน 0 0.00 12,874.00
11 ม.ค. 66 อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เครื่องมือเพื่อเก็บเเละวิเคราะห์ข้อมูลสถานกาารณ์ชุมชน 0 0.00 175,204.00
15 - 20 ม.ค. 66 ประชุมชี้เเจงแนวทางการดำเนินงานโครงการบูรณาการกลไกลสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพขุมชน เเละลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) เขต 10 0 0.00 55,014.00
15 ก.พ. 66 รายงานความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุข ภาวะระดับตำบลและอำเภอ ทั้งกองทุนศูนย์เรียนรู้และกองทุนขายผล 0 0.00 15,194.00
28 ก.พ. 66 การประชุมหารือและเสนอความคิดเห็นเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ในการวิเคราะห์ผลข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชน ผ่านระบบ ZOOM https://zoom.us/j/9019029101 0 0.00 14,520.00
16 มี.ค. 66 ประชุมรายงานความก้าวหน้าและปรึกษาหารือเพื่อพัฒนาเครื่องมือ 0 0.00 74,762.00
28 - 29 มี.ค. 66 ประชุมรายงานความก้าวหน้าและปรึกษาหารือเพื่อพัฒนาเครื่องมือ 0 0.00 78,280.00
15 พ.ค. 66 ประชุมความก้าวหน้าการดำเนินงานพร้อมปัญหาและอุปสรรค 0 0.00 0.00
18 ก.ค. 66 ประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพการทำแผนและพัฒนาข้อเสนอโครงการฯ 0 0.00 0.00
31 ก.ค. 66 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาพี่เลี้ยงระดับอำเภอและตำบลเพื่อเขียนแผนและโครงการในระบบสุขภาพชุมชน พื้นที่เขตสุขภาพที่ 10 0 0.00 0.00
18 ส.ค. 66 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนผลการดำเนินโครงการ 0 0.00 0.00
20 ก.ย. 66 ประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 0 0.00 0.00
25 ต.ค. 66 ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่และการทำแผนปี 67 (เขต 12) อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี 0 0.00 0.00
27 พ.ย. 66 ประชุมรายงานความก้าวหน้าและปรึกษาหารือเพื่อพัฒนาเครื่องมือ 0 0.00 0.00
30 พ.ย. 66 สรุปประชุมการดำเนินงาน พื้นที่สุขภาพเขต 10 จังหวัดอุบลราชธานี 0 0.00 0.00
5 ม.ค. 67 ประชุมชี้แจงแนวทางการทำงานชองทีมประเมิน และเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงแบบสอบถามข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชน 0 0.00 0.00
9 ม.ค. 67 ประชุมความก้าวหน้าและพัฒนาแบบสอบถามทีมประเมิน 0 0.00 0.00
25 - 26 ม.ค. 67 ประชุมติดตามประเมิน และรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ. จ.พัทลุง 0 0.00 0.00
7 ก.พ. 67 อบรมเชิงปฏิบัติการการทำแผนอำเภอ 0 0.00 0.00
9 ก.พ. 67 ประชุมหารือการทำสื่อเสนอบทเรียนที่ดีจากการดำเนินโครงการ 0 0.00 0.00
21 ก.พ. 67 อบรบเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการกองทุน 0 0.00 0.00
25 - 26 มี.ค. 67 ประชุมติดตามประเมินผลและรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ.พัทลุง 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ได้คู่มือการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการ ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต จำนวน 8 ชุด
  2. ได้ website ระบบการจัดการบริหารกองทุนฯ ที่ใช้ในการพัฒนาแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต จำนวน 1 ระบบ 3.ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ จำนวน 80 กองทุน
  3. กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้มีแผนงานที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต)
  4. กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้มีโครงการสร้างเสริมสุขภาวะที่ผ่านการพิจารณาและได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ อย่างน้อยจำนวน 500 โครงการ
  5. เกิดการบูรณาการความร่วมมือและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่
  6. ขยายพื้นที่การดำเนินงานกองทุนฯ จำนวน 100 กองทุน
  7. กองทุนฯ ขยายผลมีแผนงานที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ อย่างน้อย 1-2 แผนงานต่อกองทุน
  8. กองทุนฯ ขยายผลมีโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ อย่างน้อย 150 โครงการ
  9. พี่เลี้ยงมีศักยภาพสามารถ coaching กองทุนฯ ในการสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชน ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต รวม 130 คน
  10. พี่เลี้ยงมีศักยภาพสามารถ coaching กองทุนฯ ในการจัดทำแผนงาน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ รวม 130 คน
  11. พี่เลี้ยงมีทักษะสามารถ coaching กองทุนฯ ในการใช้ระบบออนไลน์จัดทำแผนงาน พัฒนาข้อเสนอโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการ รวม 130 คน
  12. มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องทั้งแบบออนไลน์ และออนไซต์ ตลอดระยะเวลาโครงการ
  13. เกิดการหนุนเสริมการทำงานแบบบูรณาการและเสริมพลังการทำงานในพื้นที่
  14. ได้สื่อนำเสนอบทเรียนที่ดี จากการดำเนินโครงการ อย่างน้อย 1 ชุด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ธ.ค. 2565 16:24 น.