สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

งานบริหารกลาง โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามการสรุปงานโครงการจังหวัดพัทลุง9 กรกฎาคม 2567
9
กรกฎาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย mataharee
  • งาน พท .8.jpg
  • งานพท .3.jpg
  • งาน พท 4.jpg
  • งานพ.ท.jpg
  • งาน พท .9.jpg
  • งาน พท .7.jpg
  • 9.7.8.jpg
  • 9.7.9.jpg
  • 9.7.jpg
  • 9.7.3.jpg
  • 9.7.4.jpg
  • 9.7.5.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • อธิบายความเป็นมาโครงการ / วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน
  • ชี้แจงกลไก พชอ และแนวทางการทำงาน
  • สรุปโครงการ และกระบวนการ
  • กระบวนการ ถอดบทเรียน ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ปัจจัยความสำเร็จ ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ และผลผลิต/ผลลัพธ์
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

(อำเภอศรีนครินทร์) ปี 66 เขียนอนุมัติ 84 อนุมัติ 80 ปี 67 เขียนอนุมัติ 90 อนุมัติ 79
(อำเภอกงหรา) ปี 66 ขออนุมัติ 251 อนุมัติ 281 (มีโครงการขอผ่านกระดาษ) ปี 67 ขออนุมัติ 286 อนุมัติ 240 (ไม่พบโครงการขอผ่านกระดาษ) (กลไกการทำงาน) พี่เลี้ยงกองทุน                                  พี่เลี้ยงจังหวัด                                      ผู้ประสานงาน - ดูแลผลลัพธ์                        -  ดูแลพี่เลี้ยงดูแลผลลัพธ์กองทุน            -  วางแผนและบริหารกิจกรรม/ผลลัพธ์ - แนะนำพัฒนาผู้ขอรับทุน          -  ประสานงานระดับอำเภอละ 1 คน        -  ประสานกลไกระดับเขต - เสนอแนะแก่คณะทำงาน          -  ยกระดับพัฒนาเป็นวิทยากรทุกคน ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ปัจจัยความสำเร็จ ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ และผลผลิต/ผลลัพธ์ (อำเภอกงหรา) ปัจจัยนำเข้า คน และมีการแต่งตั้งคณะ งบประมาณ กระบวนการ - คณะกรรมการมีการเอาระเบียบมานั่งทำความเข้าใจรวมกัน และต้องมีฐานความรู้ - การไปดูงานที่อื่นแล้วมาปรับใช้ - มีการลงปฏิทิน - มีแผนของการดำเนินของหลักสุขภาพกองทุน
ปรับต่าง ** มีการสอนการเขียนโครงการผ่านระบบ ปัจจัยความสำเร็จ - คณะกรรมการ มีส่วนสำคัญ

ข้อจำกัด - มีการปรับข้อจำกัดในการเข้าถึง
- การประชาสัมพันธ์ที่ไม่ทั่วถึง ข้อเสนอแนะ
- การประชาสัมพันธ์ เพื่อให้มีความหลากหลายแก่ผู้รับทุน ปรับต่าง  **มีการประชาสัมพันธ์ที่เพิ่มขึ้น ผลลัพธ์/ผลผลิต - การเขียนโครงการไม่กระจาย - ประชาชนรู้ข่าวสารมากขึ้น - มีการขอรายงานผ่านระบบที่เพิ่มขึ้น (อำเภอศรีนครินทร์) ชุมพล บางนา และอ่างทอง ปัจจัยนำเข้า คน งบประมาณ และการบริการจัดการ กระบวนการดำเนินงาน - จัดอบรมให้ความรู้
- ติดตามความก้าวหน้าโครงการ - มีการประชุมคณะกรรมการทุกเดือน
ปัจจัยความสำเร็จ - ผู้บริหารให้ความสำคัญ - ผู้ขอรับทุนสามารถดูได้ในเว็บ - มีการขอทุนในหลากหลายกลุ่ม
- มีกลุ่มที่ของบเพิ่มขึ้น - มีการดูแลและพัฒนาขึ้น
ข้อเสนอแนะ - มีการประชาสัมพันธ์เรื่องการขอรับทุนที่เพิ่มขึ้น ผลผลิต - ใช้งบประมาณที่เหมาะสม
- มีความสำเร็จในการโครงการ - มีโครงการที่ตามแผนแต่ละพื้นที่ ประเด็นพชอ.ในพื้นที่ มีการขับเคลื่อนประเด็น PA และอหารที่เป็นผลเห็นชัด (อำเภอควนขนุน)
ชะม่วง นายาง บ้านสวน
ปัจจัยนำเข้า คน :  ภาษีเครือข่าย สตรี ผู้สูงอายึ อสม เจ้าหน้าที่กองทุน
                งบ : สสส งบ อบจ กองทุนหมู่บ้าน                 การบริหารจัดการ
กระบวนการทำงาน - มีการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง - พี่เลี้ยงจังหวัดมีการให้ความรู้แก่ผู้รับทุน - มีการเขียนโครงการ - มีการประเมินโครงการ - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลในกองทุน - อนุกรรมการคัดกรอง - มีการสื่อสารในตำบล ปัจจัยสำเร็จ - ผู้นำเข้มแข็ง - เจ้าหน้าที่ได้มีการพัฒนาตลอด - โครงการในเว็บ 100 % ข้อจำกัด - ความขัดแย้งภายใน - มีการเตรียมและกระจายความรู้ที่เพิ่มขึ้น ข้อเสนอแนะ - อธิบายการทำงานอย่างเข้าใจ ผลผลิต - คณะกรรมการได้รับการพัฒนาที่เพิ่มขึ้น - มีการพัฒนาเยอะ - มีการเข้าถึงแก่ผู้ขอทุน