ชื่อโครงการ | ประเมินผลภายใน การจัดบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม |
ภายใต้โครงการ | งานประเมินผลภายใน |
ภายใต้องค์กร | สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 1 กรกฎาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2563 - 8 ธันวาคม 2564 |
งบประมาณ | 105,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมล คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.ปัตตานี และคณะ |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมล, ภมรรัตน์ ชมพูประวิโร |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสตูล อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี อำเภอธารโต จังหวัดยะลา อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.ค. 2563 | 28 ก.พ. 2564 | 75,000.00 | |||
2 | 1 มี.ค. 2564 | 30 ก.ย. 2564 | 30,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 105,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | สถานการณ์ที่ 1 การแพร่ระบาดของโณคโควิด-19 ในประเทศและในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนใต้ที่มีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้น บางจังหวัดการแพร่ระบาดจัดอยู่ในกลุ่ม 5-10 อันดับแรกของประเทศ ทำให้บุคลากรสาธารณสุขด่านหน้าต้องมาทำงานเชิงรุกในการแก้ปัญหา สถานการณ์แพร่ระ | 1.00 | ||
2 | การทำงานในระยะนี้มีการพัฒนาคู่มือแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพในหน่วยบริการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่นลงสู่การปฏิบัติ เนื่ืองจากแนวปฏิบัติเชิงศาสนาและความเชื่ือเป็นประเด็นอ่อนไหว ทางศวนส.มีการวิพากษ์นำเสนอร่างคู่มือเพื่ือให้ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีส่่วนได้เสียวิพา | 1.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ความมั่นคงด้านสุขภาพเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญในเพื่อสร้างสังคมสุขภาวะ จังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งมีความเป็นพหุสังคม การสร้างความมั่นคงทางสุขภาพจำเป็นต้องคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการประยุกต์แนวคิดการแพทย์พหุวัฒนธรรมลงสู่การปฏิบัติ ได้แก่ องค์ความรู้ที่สำคัญ นวตกรรมด้านสุขภาพและสังคม สมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของผู้ปฏิบัติงาน สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่เอื้ออำนวย กระบวนการและเครือข่ายทางสังคม การประเมินผลกระทบช่วยให้เกิดหนุนเสริมเชิงวิชาการ เสริมพลังให้กับผู้ปฏิบัติ และสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายซึ่งช่วยให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีในการนำนโยบายการแพทย์เชิงพหุวัฒนธรรมลงสู่ปฏิบัติ นับตั้งแต่มีการดำเนินโครงการตั้งแต่ปี 2561 เป็นต้นมาพบว่า ทุกโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการได้ขับเคลื่อนการแพทย์เชิงพหุวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในภาพรวมส่วนใหญ่มุ่งให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ทั้งระดับโรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีเจตคติที่ดีต่อการดำเนินงาน เช่น การพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส การพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม โรงพยาบาลยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี หรือ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา เป็นต้น ซึ่งในขั้นตอนต่อไปจะต้องขับเคลื่อนการดำเนินงานในหลากหลายมิติให้บรรลุเป้าหมายนำนโยบายการแพทย์เชิงพหุวัฒนธรรมลงสู่ปฏิบัติ ภายใต้ตัวชี้วัด คือ เกิดนวัตกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาขีดความสามารถของคนและเครือข่าย มีการสร้างสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกที่เอื้อต่อการดำเนินงาน เกิดกระบวนการชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง เกิดนโยบายสาธารณะ และเกิดคุณค่าทางจิตวิญญาณ เป็นต้น การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจะเป็นปัจจัยหนุนเสริมให้การขับเคลื่่อนบรรลุผลอย่างเป็นรูปธรรม
กรอบแนวคิดในการติดตามประเมินครั้งนี้มีรายละเอียดดังนี้
แนวปฏิบัติบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในหน่วยบริการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่น พัฒนาโดยโดย ศวนส.มอ.
1)แนวปฏิบัติสำหรับพี่เลี้ยง/ประชาชน
2)แนวปฏิบัติสำหรับผู้ให้บริการทางสุขภาพ
3) แนวปฏิบัติสำหรับอปท./ผู้นำศาสนา
กรอบแนวคิด Health Impact Assessment
ขั้นตอนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA)
1) Public screening
2) Public Scoping
3) Assessing
4) Public Review
5) Influencing
6) Public monitoring & Evaluation
ติดตามด้านผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบของคู่มือ ในระยะการพัฒนาคู่มือและระยะการนำคู่มือลงสู่การทดลองปฏิบัติจริง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อประเมินผลการนำระบบการแพทย์พหุวัฒนธรรมไปใช้สร้างเสริมสุขภาพชุมชน รายงานผลการประเมินจำนวน 2 ครั้ง (ตามการปฏิบัติจริง จากปัญหาสภาพการในพื้นที่)
ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2564 ผลิตคู่มือแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพในหน่วยปฏิบัติการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่น คู่มือเสร็จแต่ช้ากว่าแผนเดิม |
100.00 | |
2 | เพื่อเสริมพลังผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์พหุวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ กิจกรรมเยี่ยมนิเทศพื้นที่โครงการจำนวน 5 ครั้ง (ผ่านระบบออนไลน์) กิจกรรมเยี่ยมนิเทศพื้นที่โครงการจำนวน 3 ครั้ง (การลงพื้นที่จริง รพ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี, รพ.สต.วังใหญ่ อ.เทพา จว.สงขลา, รพ.สตูล จ.สตูล |
100.00 | |
3 | เพื่อหนุนเสริมเชิงวิชาการและสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่ายการทำงานสร้างเสริมสุขภาพชุมชนในบริบทพหุวัฒนธรรม เวทีพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้้อย่างน้อย 5 ครั้ง |
100.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 72 | 78,850.00 | 9 | 76,590.00 | |
20 เม.ย. 64 | Screening 1 | 3 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
20 เม.ย. 64 | Screening 3 | 1 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
21 เม.ย. 64 | Screening 4 | 3 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
24 เม.ย. 64 | screening 2 | 3 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
30 เม.ย. 64 | Screening 5 สัมภาษณ์ถอดเทป วิเคราะห์ 5 รพ | 4 | 10,500.00 | ✔ | 10,500.00 | |
1 พ.ค. 64 | Public Scoping พค,ตค | 30 | 17,500.00 | ✔ | 17,500.00 | |
4 ธ.ค. 64 | Assessing 1 (วันที่ 1 4/ธันวาคม 2564) รพ.สต.วังใหญ่ ชื่ือโครงการ คัดกรองไว ดูแลไว ปลอดภัยตามวิถี | 6 | 15,850.00 | ✔ | 15,850.00 | |
7 ธ.ค. 64 | Assessing II รพ.สตูล | 15 | 25,000.00 | ✔ | 22,740.00 | |
8 ธ.ค. 64 | writing report and academic journal | 7 | 10,000.00 | ✔ | 10,000.00 |
1.บทเรียนรู้เชิงพื้นที่การนำระบบการแพทย์พหุวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพชุมชน
2. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการขยายผลระบบการแพทย์พหุวัฒนธรรม
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 มิ.ย. 2563 17:18 น.