สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

assignment
บันทึกกิจกรรม
การรวบรวมองค์ความรู้-ชุดความรู้ นวัตกรรม เรื่องพื้นที่สุขภาวะ ความปลอดภัยด้านกิจกรรมทางกายในพื้นที่สาธารณะ การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในวัยเด็กและเยาวชน เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอต่อคนไทย งวดที่ 222 เมษายน 2567
22
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

การประชุมพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่จังหวัดตรัง10 เมษายน 2567
10
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ค่าจ้างการสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่จังหวัดลำพูน งวดที่ 15 เมษายน 2567
5
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ค่าจ้างการสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่จังหวัดน่าน งวดที่ 15 เมษายน 2567
5
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ประชุมเชิงปฏิบัติการ การประเมินผลการดำเนินงานของ “แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย” ปี 2564 -25674 เมษายน 2567
4
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • S__11247682_0.jpg
  • S__11247681_0.jpg
  • S__11247680_0.jpg
  • S__11247679_0.jpg
  • S__11247677_0.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมเชิงปฏิบัติการ การประเมินผลการดำเนินงานของ “แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย” ปี 2564 -2567 วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2567 เวลา 09.00-17.00 น. ณ ห้อง Executive 1+2, Below Lobby Floor โรงแรมปทุมวันปริ้นเซส ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นำเสนอผลการดำเนินงานของ “แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย” ปี 2564 -2567

คณะทำงานเข้าร่วมประชุมการพัฒนาโครงข่ายพื้นที่สุขภาพดี1 เมษายน 2567
1
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • S__11231472_0.jpg
  • S__11231466_0.jpg
  • S__11231465_0.jpg
  • S__11231462_0.jpg
  • S__11231460_0.jpg
  • S__11231457_0.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานเข้าร่วมประชุมการพัฒนาโครงข่ายพื้นที่สุขภาพดี

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้แนวทางและความร่วมมือในการพัฒนาโครงข่ายพื้นที่สุขภาพดี
เงินเดือนผู้ช่วยวิจัยและเจ้าหน้าที่การเงินโครงการ ประจำเดือนมีนาคม 256729 มีนาคม 2567
29
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ประชุมวางแผนการสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างพลังการเปลี่ยนแปลง27 มีนาคม 2567
27
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • ร่างกำหนดการอบรมเรื่องการสื่อสารสาธารณะ.pdf
  • 1711511637048.jpg
  • 1711510208137.jpg
  • 1711510196452.jpg
  • 1711509540683.jpg
  • 1711508610720.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วางแผนพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสื่อเพื่อการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ปรับกำหนดการใหม่
  2. ได้แผนการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสื่อ
  3. ให้เครือข่ายสื่อทำคอนเทนต์ (Content) มาก่อนถึงวันประชุม
การประชุมเชิงปฏิบัติการเก็บข้อมูลการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและข้อมูลสุขภาพชุมชนผ่านระบบกองทุนสุขภาพตำบล (https://localfund.happynetwork.org/)25 มีนาคม 2567
25
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ประชุมเชิงปฏิบัติการเก็บข้อมูลการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและข้อมูลสุขภาพชุมชนผ่านระบบกองทุนสุขภาพตำบล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ25 มีนาคม 2567
25
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • 1711349468745.jpg
  • 1711349432188.jpg
  • 1711349416103.jpg
  • 1711349372655.jpg
  • 1711349354558.jpg
  • 1711349340781.jpg
  • 1711349327512.jpg
  • 1711349304797.jpg
  • 1711349282492.jpg
  • 1711349247609.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมเชิงปฏิบัติการเก็บข้อมูลการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและข้อมูลสุขภาพชุมชนผ่านระบบกองทุนสุขภาพตำบล (https://localfund.happynetwork.org/) วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม 2567 โดยการประชุมผ่านระบบออนไลน์ https://zoom.us/j/9019029104

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถาบันนโยบายสาธารณะ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  (สนส.ม.อ.)  ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี และภาคีเครือข่ายท้องถิ่นอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานีและอำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ รวม 20 แห่ง ประชุมเชิงปฏิบัติการเก็บข้อมูลการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและข้อมูลสุขภาพชุมชนผ่านระบบกองทุนสุขภาพตำบล (https://localfund.happynetwork.org/) วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม 2567 โดยการประชุมผ่านระบบออนไลน์ https://zoom.us/j/9019029104

วัตถุประสงค์การประชุมวันนี้ เพื่อพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถเก็บข้อมูลการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและข้อมูลสุขภาพชุมชน ผ่านระบบกองทุนสุขภาพตำบล (https://localfund.happynetwork.org/) และสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมสุขภาพที่มีคุณภาพ โดยได้รับเกียรติจากท่านวิทยากรร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ได้แก่ ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  ภ.ก.สมชาย  ละอองพันธ์  สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา (สปสช.) คุณจงกลนี ศิริรัตน์ มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี คุณธนพนธ์ จรสุวรรณ คณะทำงานพี่เลี้ยง และคณะทำงานเก็บข้อมูลจากท้องถิ่น 20 แห่ง

การจัดจ้างกระบวนการออกแบบทางสถาปัตยกรรมพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่นำร่องของจังหวัดน่านและจังหวัดลำพูน งวดที่ 122 มีนาคม 2567
22
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ค่าธรรมเนียมบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย งวดที่ 221 มีนาคม 2567
21
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานนโยบายสาธารณะ เรื่องแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดตรัง21 มีนาคม 2567
21
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_20.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_19.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_18.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_17.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_16.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_15.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_14.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_13.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_12.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_11.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_10.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_9.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_8.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_7.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_6.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_5.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_4.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_3.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_2.jpg
  • LINE_ALBUM_21 มี.ค.67 ทำแผน PA จ.ตรัง_๒๔๐๓๒๒_1.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สถาบันนโยบายสาธารณะ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  (สนส.ม.อ.)  ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และภาคีเครือข่ายจังหวัดตรัง ประชุมการทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตามโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย  วันที่ 21 มีนาคม 2567 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถาบันนโยบายสาธารณะ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  (สนส.ม.อ.)  ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และภาคีเครือข่ายจังหวัดตรัง ประชุมการทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตามโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย  วันที่ 21 มีนาคม 2567 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
การพบปะแลกเปลี่ยนกันวันนี้เป็นครั้งที่ 3 ซึ่งกิจกรรมที่ผ่านมาท้องถิ่นทั้ง 10 แห่ง ได้ร่วมเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชน 10 ประเด็น เป็นที่เรียบร้อย ครั้งนี้นำข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนมาร่วมวิเคราะห์จัดทำแผนและโครงการที่จะดำเนินการ ซึ่งได้รับเกียรติจากท่านวิทยากรคุณสมนึก นุ่นด้วง คุณวาลัยพร ด้วงคง และคณะพี่เลี้ยงจังหวัดตรัง ร่วมแลกเปลี่ยนให้ความรู้เรื่องการจัดทำแผนกิจกรรมทางกายและสุขภาพอื่นๆ ในท้องถิ่น

  1. กิจกรรมทางกาย คือ การเคลื่อนไหวหรือการออกแรงของร่างกายในการทำกิจกรรมรูปแบบต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ 1) การทำงาน/งานบ้าน 2) การเดินทาง (เดิน/ปั่นจักรยานไปที่ต่างๆ ในชุมชน ) 3) การมีกิจกรรมนันทนาการ การเล่นกีฬา และการออกกำลังกาย
    “กิจกรรมทางกายจึงมีความหมายมากกว่าการเล่นกีฬาและการออกกำลังกาย”

  2. วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ  และเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ  พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย ร่วมกับท้องถิ่น 10 แห่งในจังหวัดตรัง

  3. ท้องถิ่น 10 แห่ง ได้แก่ 1) เทศบาลตำบลย่านตาขาว 2) องค์การบริหารส่วนตำบลหาดสำราญ 3) ทต.นาโยงเหนือ 4) องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ 5) องค์การบริหารส่วนตำบลปากคม 6) เทศบาลตำบลโคกหล่อ 7) องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด 8) องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโพธิ์ 9) องค์การบริหารส่วนตำบลปะเหลียน 10) องค์การบริหารส่วนตำบลคลองลุ

  4. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ โดยเน้นแผนงานกิจกรรมทางกายเป็นหลักในการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีประเด็นอื่นๆ ร่วม 10 ประเด็น เพื่อการออกแบบโครงการสามารถเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ ไปสู่การแก้ปัญหาอื่นๆ แบบบูรณาการได้  โดย 10 ประเด็นมี คือ 1) แผนงานกิจกรรมทางกาย 2) แผนงานขยะ 3) แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม 4) แผนงานยาสูบ 5) แผนงานสุรา 6) แผนงานสิ่งเสพติด 7) แผนงานอาหารและโภชนการ 8) แผนงานสุขภาพจิต 9) แผนงานความปลอดภัยทางถนน 10) แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่

  5. หลักการทำแผน มี 4 คำ (อยู่ไหน, จะไปไหน,ไปอย่างไร, ไปถึงแล้วยัง) คือ  1) อยู่ไหน : สถานการณ์ 2) จะไปไหน : เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ 3) ไปอย่างไร : แนวทาง วิธีการดำเนินการ โครงการ 4) ไปถึงแล้วยัง : ประเมินผลลัพธ์ (คู่มือการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย: https://localfund.happynetwork.org/upload/forum/plandoc_pa.pdf)

  6. กระบวนการการจัดประชุม: 1) สร้างความเข้าใจกระบวนการพัฒนาแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและความเชื่อมโยงของโครงการกับแผนงาน 2) ปฏิบัติการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ที่เชื่อมโยงกับแผนงาน โดยใช้เครื่องมือเพื่อการเรียนรู้เว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org 3) แลกเปลี่ยนนำเสนอโครงการเพื่อสร้างการเรียนรู่ร่วมกัน

  7. ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ได้แผนสุขภาพตำบล 10 ประเด็น จำนวน 10 ท้องถิ่นนำร่องในจังหวัดตรัง และได้โครงการที่จะดำเนินการในพื้นที่ ในครั้งถัดไป คือ “ขั้นตอนที่ 3) ไปอย่างไร : แนวทาง วิธีการดำเนินการ โครงการ” เป็นการเขียนโครงการที่ดีเพื่อนำไปสู่เป้าหมายการเพิ่มกิจกรรมทางกายในท้องถิ่น การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และสร้างกลไกความร่วมมือสร้างเสริมสุขภาพและสุขภาวะที่ดีในท้องถิ่นต่อไป

การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานนโยบายสาธารณะเรื่องแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี20 มีนาคม 2567
20
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ค่าจ้างการสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดอำนาจเจริญ งวดที่ 114 มีนาคม 2567
14
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

การจัดจ้างกระบวนการออกแบบทางสถาปัตยกรรมพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่นำร่องของจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดอำนาจเจริญ งวดที่ 114 มีนาคม 2567
14
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานนโยบายสาธารณะ เรื่องแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงความปลอดภัยในพื้นที่นำร่องของจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดอำนาจเจริญ12 มีนาคม 2567
12
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานนโยบายสาธารณะ เรื่องแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงความปลอดภัยในพื้นที่นำร่องของจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดอำนาจเจริญ11 มีนาคม 2567
11
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการจัดการสุขภาวะด้วยกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม4 มีนาคม 2567
4
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

เงินเดือนผู้ช่วยวิจัยและเจ้าหน้าที่การเงินโครงการ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 256729 กุมภาพันธ์ 2567
29
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานนโยบายสาธารณะเรื่องแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ ส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดตรัง27 กุมภาพันธ์ 2567
27
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมติดตามการดำเนินงานของพื้นที่โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่จังหวัดน่านและลำพูน22 กุมภาพันธ์ 2567
22
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ค่าจ้างการสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่จังหวัดตรัง งวดที่ 121 กุมภาพันธ์ 2567
21
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ประชุมทำแผนสุขภาพ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่/ประชุมพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ฯพื้นที่สุราษฎ์ธานี21 กุมภาพันธ์ 2567
21
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การจัดจ้างกระบวนการออกแบบทางสถาปัตยกรรมพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่นำร่องของจังหวัดสุราษฎร์ธานี งวดที่ 120 กุมภาพันธ์ 2567
20
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ค่าจ้างการสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี งวดที่ 120 กุมภาพันธ์ 2567
20
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเรื่องแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดลำพูน15 กุมภาพันธ์ 2567
15
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเรื่องแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดน่าน12 กุมภาพันธ์ 2567
12
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมหารือวางแผนการขับเคลื่อนนโยบายสาะารณะ การพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดตรัง9 กุมภาพันธ์ 2567
9
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะฯ ร่วมกับพี่เลี้ยงในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้6 กุมภาพันธ์ 2567
6
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปประชุม 6 ก.พ.67.pdf
  • สรุปประชุม 6 ก.พ.67.docx
  • ทามไลน์การดำเนินงานของพี่เลี้ยง (3).jpg
  • 1707269904615.jpg
  • 1707269868113.jpg
  • 1707269842719.jpg
  • 1707269642582.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมอัปเดทความก้าวหน้างาน PA และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติงาน วันอังคารที่ 6 ก.พ.67 เวลา 13.30-15.00 น. ทาง ZOOM 4 https://zoom.us/j/9019029104#success

ผู้เข้าร่วม จำนวน 10 คน
- สนส.ม.อ. 2 คน - พี่เลี้ยงภาคเหนือ 5 คน - สถาปนิกภาคเหนือ 1 คน
- พี่เลี้ยงภาคใต้ 1 คน - พี่เลี้ยงภาคอีสาน 1 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ความก้าวหน้า
ภาคเหนือ:
- ได้พื้นที่ส่งเสริมการทำแผนและโครงการ น่าน 11 แห่ง และลำพูน 10 แห่ง
- ได้คัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ PA 4 แห่ง (ริมปิง, บ้านแป้น, น่านอีก 2 แห่ง) และได้ลงสำรวจศักยภาพของพื้นที่สำรวจพื้นที่ คุยกับท่านนายกฯ กองช่างและกองสาธารณสุขแล้ว แผนต่อไปคือ สร้างการมีส่วนร่วมในการออกแบบพื้นที่โดยมีอาจารย์สถาปัตยกรรมมาช่วยกระบวนการออกแบบกับชุมชน
- แผนปฏิบัติงานถัดไป: วันที่ 12 และ 15 กุมภาพันธ์ 2567 จะมีการจัดประชุมทำแผนและโครงการในจังหวัดลำพูนและน่าน และลงสำรวจข้อมูลสถานการณ์กิจกรรมทางกายและประเด็นสุขภาพอื่นๆ

ภาคใต้: สุราษฯ
- ได้สำรวจสถานการณ์ PA และประเด็นสุขภาพอื่นๆ แล้ว
- ได้ทำแผนและโครงการของจังหวัดสุราษฯในกองทุนสุขภาพตำบล 10 แห่ง
- ได้พื้นที่ต้นแบบ PA 4 แห่ง
- ได้ออกแบบโครงการสนับสนุนการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในชุมชนและโรงเรียน
- ได้ผลักดันชุมชนขอทุนโครงการระดับจังหวัด
- แผนปฏิบัติงานถัดไป: ประชุมทำแผนและโครงการ PA วันที่ 21-22 ก.พ. 67 และสถาปนิกลงพื้นที่สร้างกระบวนการออกแบบเรียนรู้ และสนับสนุนกิจกรรมโครงการ

ภาคอีสาน:
- เปลี่ยนพื้นที่ดำเนินงานศรีสะเกษ โดยคุยกับ กกท.ศรีสะเกษ เนื่องจากแต่ละอำเภอพื้นที่ห่างไกล โดยเปลี่ยนเป็น อำเภอเมือง 5 แห่ง และอำเภอกันทลักษณ์ 5 แห่ง และอุบลฯ มีอำเภอเมืองและอำเภอวารินฯ 10 แห่ง
- แผนปฏิบัติงานถัดไป: สรุปพื้นที่และทำแผนและโครงการในกิจกรรมถัดไป


แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ขั้นตอนกระบวนการทางสถาปัตยกรรม
1. ได้แบบไกด์ไลน์
2. เอาไกด์ไลน์ไปคุยกับ Stakeholder
3. ได้แบบร่าง 3 แบบ เป็นมาสเตอร์แพลน 3 แบบ ในรูปแบบ 3D และ layout 4. รายงานเชิงโครงสร้าง 5. สถาปัตย์กับทางวิศวกรรม
6. การก่อสร้างจริง
- งาน สนส.ม.อ.ได้กำหนดขอบเขตส่งผลลงานถึงขั้นตอนที่ 3 คือ การออกแบบสถาปัตยกรรมในรูปแบบ 3D และ layout

แนวทางการดำเนินงานถัดไปของ สนส.ม.อ. 1. สนส.ม.อ.จัดประชุมหลักสูตรสื่อ เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมงานสื่อ
2. ดูระบบการจัดการเงินสนับสนุนกิจกรรมในพื้นที่
3. ทำแบบเช็คลิสสถาปนิก เวลาสำรวจพื้นที่และการจัดกระบวนการ 4. พี่เลี้ยงส่งแผนปฏิบัติการในไฟล์ excel
5. กำหนดขอบเขตส่งผลงานทางสถาปัตยกรรมในรูปแบบ 3D และ layout 6. จัดทำแบบฟอร์มการสนับสนุนกิจกรรม PA ในพื้นที่

ประชุมคณะทำงานจังหวัดสุราษฎร์ธานี พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่4 กุมภาพันธ์ 2567
4
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

เงินเดือนผู้ช่วยวิจัยและเจ้าหน้าที่การเงินโครงการ ประจำเดือนมกราคม 256731 มกราคม 2567
31
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนกับภาคเครือข่ายในการพัฒนาแผนกิจกรรมทางกายและตำบลบูรณาการอาหารของท้องถิ่น26 มกราคม 2567
26
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย17 มกราคม 2567
17
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานนโยบายสาธารณะเรื่องแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี16 มกราคม 2567
16
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ค่าธรรมเนียมการโอนเงิน ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนมีนาคม 256715 มกราคม 2567
15
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

ประชุมการสื่อสารสาธารณะการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเด็กและเยาวชน13 มกราคม 2567
13
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

เงินเดือนผู้ช่วยวิจัยและเจ้าหน้าที่การเงินโครงการ ประจำเดือนธันวาคม 256629 ธันวาคม 2566
29
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามประเมินผลโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย26 ธันวาคม 2566
26
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

จัดการประชุมเวทีฟอรั่มการจัดการความรู้ ครั้งที่ 2 ภาคใต้ “ร่วมเปลี่ยนการศึกษา เพื่อเด็กทุกคน”23 ธันวาคม 2566
23
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานนโยบายสาธารณะเรื่องแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่นำร่องของจังหวัดสุราษฎร์ธานี20 ธันวาคม 2566
20
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

รายงานความก้าวหน้าการทบทวนเอกสารพื้นที่สาธารณะ19 ธันวาคม 2566
19
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • S__9789467.jpg
  • S__9789466.jpg
  • S__9789464.jpg
  • 1702970341523.jpg
  • 1702968166342.jpg
  • 1702967954447.jpg
  • 1702967889393.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รายงานความก้าวหน้าการทบทวนเอกสารพื้นที่สาธารณะ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้ข้อมูลเอกสารทุติยภูมิและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องพื้นที่สาธารณะ
  2. ข้อมูลถูกนำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาข้อเสนอนโยบาย

แนวทางการดำเนินการต่อ 1. พัฒนาข้อเสนอนโยบายพื้นที่สาธารณะ 2. ข้อเสนอฯผ่านการแลกเปลี่ยนผู้ทรงคุณวุฒิในสถาบันและนอกสถาบัน 3. ข้อมูลผ่านเวทีสาธารณะเพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯต่อไป

ประชุมหารือการจัดโมดูลพัฒนาศักยภาพสื่อฯ PA14 ธันวาคม 2566
14
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • S__9707529.jpg
  • S__9707528.jpg
  • S__9707525.jpg
  • S__9707523.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมหารือการจัดโมดูลพัฒนาศักยภาพสื่อฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้กำหนดการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การสื่อสารสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสร้างเสริมสุขภาพ” ระหว่างวันที่ 31 มกราคม 1-2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2567 ณ ชั้น 14 สนส.ม.อ.
    และทางออนไลน์ระบบ Zoom ลิงก์ https://zoom.us/j/9019029105
  2. กลุ่มเป้าหมาย: สื่อภาคเหนือ ใต้ อีสาน, พี่เลี้ยงทำงาน, นักศึกษา ป.โท และ ผู้สนใจทั่วไป
เงินเดือนผู้ช่วยวิจัยและการเงินโครงการ ประจำเดือนพฤศจิกายน 256630 พฤศจิกายน 2566
30
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานนโยบายสาธารณะเรื่องแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่นำร่องของภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ29 พฤศจิกายน 2566
29
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมติดตามความก้าวหน้าการทบทวนเอกสาร (Progress report)24 พฤศจิกายน 2566
24
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nell.monchanok98
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.

การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่นำร่องของการกีฬาแห่งประเทศไทยจังหวัดตรัง20 พฤศจิกายน 2566
20
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ตรวจสอบบัญชีโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย งวดที่ 114 พฤศจิกายน 2566
14
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การรวบรวมองค์ความรู้-ชุดความรู้ นวัตกรรม เรื่องพื้นที่สุขภาวะ ความปลอดภัยด้านกิจกรรมทางกายในพื้นที่สาธารณะ การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในวัยเด็กและเยาวชน เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอต่อคนไทย งวดที่ 113 พฤศจิกายน 2566
13
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมรวบรวมองค์ความรู้/ชุดความรู้ นวัตกรรมเรื่องพื้นที่สุขภาวะ ความปลอดภัยด้านกิจกรรมทางกายในพื้นที่สาธารณะ การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในวัยเด็กและเยาวชน เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอต่อคนไทย9 พฤศจิกายน 2566
9
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย3 พฤศจิกายน 2566
3
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ค่าจัดจ้างการทำตรายางหมึกในตัวชื่อโครงการและรหัสโครงการ3 พฤศจิกายน 2566
3
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมวางแผนทำแผนโครงการร่วมกับพี่เลี้ยงในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้31 ตุลาคม 2566
31
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

เงินเดือนผู้ช่วยวิจัยและการเงินโครงการ ประจำเดือนตุลาคม 256631 ตุลาคม 2566
31
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

หารือการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่ ร่วมกับสมาคมองค์การบริหารส่วนตำบล จ.สุราษฎร์ธานี26 ตุลาคม 2566
26
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
  • D75C0AF9.jpg
  • A18D3EBC.jpg
  • 45270044.jpg
  • 149FCD0C.jpg
  • 146.png
  • 145.png
  • 11B7C7FD.jpg
  • 5C8EA0B1.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

หารือการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่และการทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายกับการกีฬาแห่งประเทศไทย จ.ตรัง จ.ศรีสะเกษ และจ.น่าน24 ตุลาคม 2566
24
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมเพื่อรวบรวมองค์ความรู้/ชุดความรู้นวัตกรรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย24 ตุลาคม 2566
24
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • 24.10.66 สรุปประชุม review ข้อมูลกับ อ.โอ.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วันที่ 24 ตุลาคม 2566 เวลา 10.00-11.00 น. ณ ชั้น 10 สนส.ม.อ. และ zoom ออนไลน์
ประชุมเพื่อรวบรวมองค์ความรู้/ชุดความรู้นวัตกรรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปประชุม วันที่ 24 ตุลาคม 2566 เวลา 10.00-11.00 น. ณ ชั้น 10 สนส.ม.อ. และ zoom ออนไลน์ 1. ชื่อกิจกรรม การประชุมเพื่อรวบรวมองค์ความรู้/ชุดความรู้นวัตกรรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม เพื่อได้ข้อมูลข้อเสนอเชิงนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยเสนอต่อหน่วยงานที่กำหนด 3. ตัวชี้วัด ได้องค์ความรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ได้แก่ 1. การพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในวัยเด็กและเยาวชน
3. ความปลอดภัยในพื้นที่สวนสาธารณะ

  1. จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม / รายชื่อ
    จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 5 คน
    หน่วยงาน/รายชื่อ
    คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    1. ดร.ภก. ธนเทพ วณิชยากร

    สถาบันนโยบายสาธารณะ

  2. ดร.สุวภาคย์ เบญจธนวัฒน์
  3. นายญัตติพงศ์ แก้วทอง
  4. นางสาวฐิติชญา หนูสอน
  5. นางสาวมนชนก แก้วชูเชิด

  6. รายละเอียดการจัดกิจกรรม

    1. สร้างความเข้าใจภาพรวมโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
    2. Mapping ข้อมูลการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในวัยเด็กและเยาวชน และความปลอดภัยในพื้นที่สวนสาธารณะ
    3. กำหนดหัวข้อทบทวนเอกสาร
  7. ผลลัพธ์ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)

    1. ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
    2. ได้หัวข้อทบทวนเอกสาร ได้แก่ 1) การพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2) การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในวัยเด็กและเยาวชน 3) ความปลอดภัยในพื้นที่สวนสาธารณะ
    3. ได้แนวทางการนำข้อมูลต่อหน่วยงานที่กำหนดนโยบาย ผ่านรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการนำนโยบายไปปฏิบัติ
    4. ข้อมูลการออกแบบพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย การทบทวนเอกสารจะได้ 2 แนวทาง คือ 1. การวัดผลเกณฑ์มาตรฐานการใช้พื้นที่สาธารณะ และ 2. การออกแบบพื้นที่สาธารณะ/ตัวอย่างพื้นที่ออกแบบ
  8. แผนการดำเนินการต่อ

    1. กำหนดวันสุดท้ายการทบทวนเอกสารช่วงเดือนมกราคม 2567
    2. รายงานความก้าวหน้าการทวนเอกสารเดือนละ 2 ครั้ง
    • พฤศจิกายน 2566 จำนวน 2 ครั้ง
    • ธันวาคม 2566 จำนวน 2 ครั้ง
    1. ช่วงเดือนมกราคม 2567 นำข้อมูลจัดเวทีแลกเปลี่ยนและนำข้อเสนอสู่ผู้กำหนดนโยบาย
ประชุมปรึกษาหารือเรื่องการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่และการทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น20 ตุลาคม 2566
20
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ปรึกษาหารือเรื่องการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่และการทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ 20 ตุลาคม 2566 ณ อบต.ท่าข้าม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ดร.สุวภาคย์ เบญจธนวัฒน์ หัวหน้าโครงการและคณะทำงาน โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าหารือปรึกษากับ ดร. สินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม เรื่องการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่และการทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น และได้รับคำแนะนำจากท่าน ดร. สินธพ อินทรัตน์ เรื่องการขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายกับสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย และสมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย

หารือการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่และการทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย จ.ตรัง17 ตุลาคม 2566
17
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมปรึกษาหารือการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่และการทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ณ สนามกีฬาเมืองหลักภาคใต้ (พรุค้างคาว) อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา คณะทำงานโครงกายกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) นำโดย ดร.สุวภาคย์ เบญจธนวัฒน์ หัวหน้าโครงการ นายญัตติพงศ์ แก้วทอง เจ้าหน้าที่วิจัย นางสาวฐิติชญา หนูสอน และมนชนก แก้วชูเชิด ผู้ช่วยวิจัยและผู้ประสานงานโครงการ  เข้าหารือกับนายณรงค์ โสภารัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานการกีฬาแห่งประเทศไทย จังหวัดตรัง เรื่องการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่และการทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น นำร่องจังหวัดตรัง จำนวน 10 ท้องถิ่น และยกระดับการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ 2 พื้นที่ รวมทั้งได้รับคำแนะนำจากท่าน ผอ.ณรงค์ โสภารัตน์ เรื่องการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของคนในพื้นที่ และการคัดเลือกพื้นที่นำร่องในภาคเหนือกับตะวันออกเฉียงเหนือ รวม 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดน่านและจังหวัดศรีสะเกษ

ประชุมปรับปรุงเว็บไซต์ Pathailand17 ตุลาคม 2566
17
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมปรับปรุงเว็บไซต์ Pathailand

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานโครงการ PA สนส.ม.อ. นำโดย ดร.สุวภาคย์ นายญัตติพงศ์ น.ส.ฐิติชญา และนายภวินท์ (นักวิชาการคอมพิวเตอร์) ได้ประชุมปรับปรุงเว็บไซต์ Pathailand เพื่อให้เป็นสื่อสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร บทความ งานวิชาการที่เกี่ยวช้องกับการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้สังคมต่อไป

วางแผนการทำงานการขับเคลื่อนงาน PA กับ กกท.และ อปท. 16/10/6616 ตุลาคม 2566
16
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วางแผนการทำงานการขับเคลื่อนงาน PA กับ กกท.และ อปท.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กำหนดพื้นที่ให้ กกท.และ อปท.คัดเลือกพื้นที่ ภาคละ 2 จังหวัด รวมทั้งหมด 6 จังหวัด / 60 ท้องถิ่น
  2. ได้แผนปฏิบัติการโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ปี 2566-2567
  3. แผนปฏิบัติการดำเนินการตาม CoO4 แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย นำไปสู่ผลลัพธ์สุขภาพ คือ ลดผลกระทบสุขภาพจากโรคไม่ติดต่อที่เกิดจากการขาดกิจกรรมทางกาย และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
ประชุมปรับปรุงเว็บไซต์ระบบออนไลน์ การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย14 ตุลาคม 2566
14
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
  • 14.10.66 ประชุมเว็บกับพี่หมี.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมปรับปรุงเว็บไซต์ระบบออนไลน์ การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมปรับปรุงเว็บไซต์ระบบออนไลน์ การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

เงินเดือนผู้ช่วยวิจัยและการเงินโครงการ เดือน กันยายน 256629 กันยายน 2566
29
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

เงินเดือนผู้ช่วยวิจัยและการเงินโครงการ เดือน สิงหาคม 256629 กันยายน 2566
29
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ค่าธรรมเนียมบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย งวดที่ 119 กันยายน 2566
19
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ทีมงานติดตามงานและวางแผนการดำเนินโครงการ19 กันยายน 2566
19
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทีมงานติดตามงานและวางแผนการดำเนินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แผนดำเนินงาน PA ปี 66
- การพัฒนาศักยภาพ 1. แผนการพัฒนาเครือข่ายสื่อ 3 ภาค
2. แผนพัฒนาศักยภาพเครือข่าย กกท./อปท.
3. แผนส่งเสริมกิจกรรม PA ในพื้นที่ต้นแบบ

  • การพัฒนาระดับพื้นที่
  1. คัดเลือกพื้นที่/ยกระดับพื้นที่ ภาคละ 2 จังหวัด รวม 60 ท้องถิ่น
  2. แผนพัฒนาพื้นที่ต้บแบบ PA 12 แห่ง
  • การพัฒนาระดับนโยบายชาติ/ท้องถิ่น
  1. แผนขับเคลื่อนนโยบายระดับชาติ ท้องถิ่น
  2. แผนขับเคลื่อนกับ กกท.และอปท. (สมาคมฯ อบจ./สันนิบาตเทศบาล/อบต.)
  • DATA ฐานข้อมูลสนับสนุน
  1. ทบทวนข้อมูล PA เพื่อจัดทำร่างข้อเสนอนโยบาย
  2. ปรับปรุงคู่มือพื้นที่สาธารณะและคำนึงความปลอดภัย ซึ่งคู่มือพื้นที่สุขภาวะที่ตอบโจทย์พื้นที่ ดังนี้ 1. พื้นที่ลานกีฬา กกท. 2. พื้นที่สาธารณะท้องถิ่น 3. พื้นที่ PA ในโรงเรียน/ศูนยืเด็กเล็ก
  3. ปรับปรุงคู่มือทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายโครงการ
  4. ปรับปรุงเว็บ Pathail.com เป็นสื่อสาธารณะ PA /เป็นฐานข้อมูล PA สนส.ม.อ. /เชื่อมโยงเว็บกองทุนสุขภาพตำบล
  • ระบบกลไกสนับสนุน / ติดตามประเมินผล
  1. แต่งตั้งคณะทำงานวิชาการ PA
  2. สร้างทีมกลไกสื่อ PA 3 ภาค
  3. ยกระดับ/ขยายกลไกพี่เลี้ยง PA
  4. แผนประเมิน CIPP และ SROI
การประชุมออกแบบกระบวนการนโยบายสาธารณะการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เพื่อรวบรวมองค์ความรู้/ชุดความรู้นวัตกรรม26 กรกฎาคม 2566
26
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ออกแบบกระบวนการนโยบายสาธารณะการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เพื่อรวบรวมองค์ความรู้/ชุดความรู้นวัตกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้กระบวนการกลุ่มย่อย ทำแผน 3 ปี เรียงตามมติสมัชชา PA
  2. จัดลำดับ PA ตามแนวคิดปัจจัยกำหนดสุขภาพ (Determinant of Health) คือ 1) Active People  2) Active Environment 3) Active Society 4) Active system
ประชุมเอกสารนำเข้า PA และกำหนดตัวชี้วัดและแผนติดตามขับเคลื่อนต่อหลังงานสร้างสุข PA18 กรกฎาคม 2566
18
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • เอกสารที่ Mapping ประเด็นพื้นที่สาธารณะกับการเพิ่มสุขภาวะกิจกรรมทางกาย.doc
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมเอกสารนำเข้า PA และกำหนดตัวชี้วัดและแผนติดตามขับเคลื่อนต่อหลังงานสร้างสุข PA

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เอกสารนำเข้า PA
  • ได้กำหนดการ/กระบวนการทำแผน
  • เตรียมวิทยากร
นำเสนอผลข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายในงาน Southern Research Expo and Innovation Showcaase 202323 มิถุนายน 2566
23
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นำเสนอผลข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ในงาน “Innovation for Society and Future” จัดโดยสำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วันที่ 23-24 มิ.ย.66 ณ หาดใหญ่ฮอลล์ ชั้น 5 ศูนย์การค้าเซ็นทรัล หาดใหญ่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นำเสนอผลข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ดังนี้
กิจกรรมทางกาย (Physical Activity : PA) เป็นการเคลื่อนไหวหรือการออกแรงของร่างกายในการทำกิจกรรมรูปแบบต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ 1) การทำงาน/งานบ้าน 2) การเดินทาง 3) การมีกิจกรรมนันทนา การกีฬา และการออกกำลังกาย  การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นหนึ่งในปัจจัยสาเหตุหลักนำไปสู่การโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (non-communicable diseases : NCDs) ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมอง ทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรั้ง และโรคมะเร็ง คนไทยเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังปีละเกือบ 400,000 คน คิดเป็น 76% ของการเสียชีวิตทั้งหมด และ 50% เสียชีวิตก่อนวัยอันควร เพื่อการจัดการปัญหาสุขภาพโดยการส่งเสริมป้องกันให้คนไทยมีสุขภาพที่ดีนั้น วิธีวิจัยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) และกระบวนการนโยบายสาธารณะ วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอนโยบายสาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในระดับชาติผ่านเครื่องมือสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พัฒนากลไกกองทุนสุขภาพตำบลที่มีแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับตำบล รวมทั้งพัฒนาพื้นที่ต้นแบบด้านการปรับสภาพแวดล้อมทางสถาปัตยกรรมให้เอื้อและจูงใจต่อการมีกิจกรรมทางกายในชุมชนท้องถิ่นและเอกชน ผลลัพธ์ 1) ได้มติการส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น จำนวน 9 มติ 2) เกิดการขับเคลื่อนกลไกกองทุนสุขภาพตำบล 12 เขตสุขภาพ มีแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 3,068 แผน และมีโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายปฏิบัติการในระดับตำบลจำนวน 8,205 โครงการ 3) เกิดพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายในทางสถาปัตยกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 4 พื้นที่

ประชุมรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้านการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ และการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในวัยเด็กและเยาวชน12 พฤษภาคม 2566
12
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
  • ข้อมูล ภาพรวมสถานการณ์ของการมีกิจกรรมทางกายของคนไทย.pdf
  • C5054F12-F002-45A2-BFA9-EE1B0CAFE2D5.jpg
  • AD20EC96-D0E6-4956-82F1-49C634CF45BE.jpg
  • 50F155A1-24D9-4D03-9F9E-BDFC4F4287DF.jpg
  • 7B8126D5-02F0-4B21-AEA7-3E669399A6FC.jpg
  • 5A8033E2-88FB-4EDE-854E-0A6AFA41D385.jpg
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้านการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ และการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในวัยเด็กและเยาวชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ภาพรวมสถานการณ์ของการมีกิจกรรมทางกายของคนไทย จากการติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์์กิจกรรมทางกายระดับประเทศ โดยสถาบันวิจัยประชากร และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลร่วมกับ สสส. และกระทรวงสาธารณสุข แสดงให้้เห็นว่าทิศทางการมีีกิจกรรมทางกายของประชากรไทยมีีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ 66.3 ในปีี พ.ศ. 2555 (ปีีฐานของการสำรวจ) เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 74.6 ในปีี พ.ศ. 2562 (ก่อนสถานการณ์์โควิด-19) ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ประชากรไทยมีกิจกรรมทางกายสูงที่สุดในรอบ 10 ปี
ในปี พ.ศ. 2563-2564 ช่วงการแพร่่ระบาดของโควิด-19 ด้วยข้อจำกัดในการใช้ชีวิตดังที่่เคยเป็นตามปกติิ ส่งผลให้้ระดับการมีกิจกรรมทางกายที่่เพียงพอของคนไทยในภาพรวมลดลง โดยการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยลดลงเหลือเพียงร้อยละ 54.3 ในปี พ.ศ. 2563 และปรับเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 63.0 ในปี 2564 และร้อยละ 62.0 ในปี พ.ศ. 2565

เมื่อพิจารณาการมีกิจกรรมทางกายตามพื้นที่ ในปี พ.ศ. 2564  พบว่า จังหวัดที่ประชาชนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอสูงสุด 5 จังหวัด คือ สงขลา มหาสารคาม มุกดาหาร กระบี่ และราชบุรี ส่วนจังหวัดประชาชนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่ำสุด 5 จังหวัด คือ ปัตตานี ร้อยเอ็ด บุรีรัมย์ สมุทรสาคร และบึงกาฬ โดยพบความแตกต่างระหว่างจังหวัดที่มีกิจกรรมที่เพียงพอสูง มีสัดส่วนประชากรที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอสูงกว่าจังหวัดที่มีกิจกรรมเพียงพอต่ำมากกว่า 3 เท่า ซึ่งความแตกต่างที่เกิดขึ้นอาจเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย เช่น โครงสร้างอายุของประชากรในพื้นที่ ลักษณะอาชีพ โครงสร้างพื้นฐานของจังหวัดที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย และลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมในเรื่องการมีกิจกรรมทางกาย เมื่อพิจารณาในพื้นที่ภาคใต้ พบว่า จังหวัดที่ประชาชนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอสูงสุด 3 จังหวัดแรก คือ สงขลา (91.6%) กระบี่ (83.5%) และชุมพร (80.4%) ขณะที่ จังหวัดที่ประชาชนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่ำสุด 3 จังหวัด คือ ปัตตานี (31.9%) นราธิวาส (36.8%) และพัทลุง (36.8%)

เมื่อพิจารณาเป็นช่วงอายุและเพศ ซึ่งเป็นปัจจัยกำหนดสำคัญในการมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ พบว่ากลุ่มประชากรที่เสี่ยงต่อการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ คือ กลุ่มเด็กและเยาวชน และผูู้หญิง (ภาพที่ 3 และ 4) โดยทุกกลุ่มอายุมีสัดส่วนการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอต่ำกว่าเป้าหมายแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561–2573 ที่ตั้งตัวชี้วัดประชาชนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอที่ร้อยละ 75 กลุ่มเด็กและเยาวชน อายุ 6–17 ปี เป็นกลุ่มที่ต้องส่งเสริมเป็นพิเศษ เพราะมีสัดส่วนกิจกรรมทางกายเพียงพอต่ำที่สุดในทุกกลุ่มอายุ ในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นปีที่เริ่มมีมาตรการของโควิด-19 และมาตรการล็อกดาวน์ พบว่ากิจกรรมทางกายเพียงพอลดลงในทุกกลุ่มอายุ เมื่อพิจารณาเกี่ยวกับเพศ พบว่า ผู้หญิงมีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่ำกว่าผู้ชายในทุกกลุ่มอายุ

พบว่า ในปี พ.ศ. 2565 กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอเพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 60.6 (จากเดิมร้อยละ 58.6) ขณะที่กลุ่มวัยทำงาน อายุ 18-59 ปี และกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุ 5-17 ปี มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอลดลง เหลือร้อยละ 65.8 (จากเดิมร้อยละ 66.8 ) และร้อยละ 16.1 (จากเดิมร้อยละ 24.2) ตามลำดับ

สถานการณ์การมีกิจกรรมทางกาย จำแนกตามสภาพแวดล้อม
การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชากรไทย จำแนกตามสภาพแวดล้อม ครอบครัว โรงเรียน ที่ทำงาน และชุมชน สรุปได้ดังนี้ 1. กิจกรรมทางกายในสภาพแวดล้อมครอบครัว ลักษณะครอบครัวมีส่วนสำคัญกับการมีกิจกรรมทางกาย ซึ่งพบว่าการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในแต่ละลักษณะครอบครัวมีสัดส่วนการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอต่ำกว่าค่าเป้าหมายของประเทศ จากการสำรวจพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชากร ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2564 พบว่า ลักษณะครอบครัวที่อยู่พร้อมหน้าพ่อแม่ลูก มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอสูงสุด ร้อยละ 62.4 ซึ่งสูงกว่าครอบครัวในลักษณะอื่น ในขณะที่ ผู้ที่อยู่คนเดียวมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอที่ร้อยละ 53.7
2. กิจกรรมทางกายในสภาพแวดล้อมโรงเรียน โรงเรียนที่ให้ความสำคัญกับการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน เช่น โครงการโรงเรียนฉลาดเล่น ที่ส่งเสริมให้เด็ก ๆ ได้มีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายตลอดทั้งวัน สามารถเพิ่มสัดส่วนนักเรียนที่มีกิจกรรมทางกายได้เพียงพอ จากการศึกษานักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ในโครงการโรงเรียนฉลาดเล่น ปี พ.ศ. 2562 พบว่านักเรียนในโรงเรียนที่ร่วมโครงการ มีสัดส่วนนักเรียนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอที่ร้อยละ 15.9 ขณะที่ โรงเรียนทั่วไปที่ไม่ร่วมโครงการ มีสัดส่วนนักเรียนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอที่ร้อยละ 0.6
3. กิจกรรมทางกายในสภาพแวดล้อมที่ทำงาน การมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน พบว่า กลุ่มลูกจ้าง ทั้งในภาคเอกชน ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ เป็นกลุ่มคนทำงานที่มีสัดส่วนของผู้ที่มีกิจกรรมทางกายโดยเฉลี่ยในแต่ละวันที่ไม่เพียงพอสูงกว่ากลุ่มอื่น คิดเป็นร้อยละ 41.7 39.4 และ 39.5 ตามลำดับ ดังนั้น องค์กรที่ทำงานจึงควรมีบทบาทในการสนับสนุนและส่งเสริมสภาพแวดล้อมด้านอาหารในที่ทำงานหรือบริเวณโดยรอบที่ทำงานที่เอื้อต่อการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพของคนทำงาน รวมถึงมีนโยบายหรือมาตรการเพื่อสนับสนุนให้ลูกจ้างหรือคนทำงานได้มีการเคลื่อนไหว มีกิจกรรมทางกายในระหว่างการทำงานและการออกกำลังกายอย่างเพียงพอเพิ่มขึ้น 4. กิจกรรมทางกายในสภาพแวดล้อมชุมชน ปัจจัยหนึ่งที่สำคัญต่อการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนในชุมชน คือ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย ชุมชนที่มีโครงสร้างพื้นฐานให้เดินหรือปั่นจักรยาน มีการบริหารจัดการพื้นที่และกิจกรรมของชุมชน ทั้งการส่งเสริมให้มีการเล่นกีฬา กิจกรรมนันทนาการ การจัดแข่งกีฬาหรือกิจกรรมทางกาย จะส่งผลให้ประชาชนในชุมชนมีระดับกิจกรรมทางกายที่เพียงพอสูงกว่าชุมชนที่ไม่ได้มีการสร้างเสริมสภาพแวดล้อมให้เหมาะกับการมีกิจกรรมทางกาย

กิจกรรมทางกายและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประชากรที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ สามารถลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable Diseases: NCD) ได้ จากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพของประชากรปี พ.ศ. 2564 พบว่า กลุ่มประชากรที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอตรวจพบโรคไม่ติดต่อเรื้อรังน้อยกว่ากลุ่มประชากรที่มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ผู้มีกิจกรรมทางกายเพียงพอตรวจพบการเป็นความดันโลหิตสูงที่ร้อยละ 18.4 โรคเบาหวานที่ร้อยละ 8.9 ขณะที่ผู้มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอพบการเป็นความดันโลหิตสูงที่ร้อยละ 23.4 โรคเบาหวานที่ร้อยละ 11.8 ดังนั้น การส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้เพียงพอในทุกเพศและทุกวัย จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในระยะยาว

เงินเดือนผู้ช่วยวิจัยและการเงินโครงการ เดือน พฤษภาคม-กรกฎาคม 2566 (3 เดือน)1 พฤษภาคม 2566
1
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย thitichaya6139
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

จัดทำสื่อนโยบายสาธารณะขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย26 เมษายน 2566
26
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำสื่อนโยบายสาธารณะ "ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการผลักดันนโยบายรัฐ ให้สร้างเสริมสุขภาพประชาชน คนไทย มีคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้น กับคำถามสัมภาษณ์ พรรคการเมือง  “ACTIVE PEOPLE; ACTIVE ENVIRONMENT ในการสร้าง คนไทยให้กระฉับกระเฉง มีชีวิตชีวา”

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดทำคลิป คำถาม-ข้อมูลนโยบาย 1) 1 ตำบล 1 สวนสุขภาพเพื่อสุขภาวะที่ดีของคนไทย 2) เห็นด้วยหรือไม่ที่ การเดินเท้า และ ปั่นจักรยาน จะเป็นวิถีชีวิตปกติประจำวัน 3) ทำให้เด็กติดกีฬาดีกว่าบ้าเกมหรือมือถือ 4) สถานประกอบควรจัดพื้นที่สันทนาการหรือกีฬาให้กับคนทำงาน 5) ออกมาตรการหรือให้สิทธิประโยชน์จูงใจคนไทยหันมาออกกำลังกาย


  • ได้คลิปสื่อแนวคิดนโยบาย จำนวน 4 คลิป ดังนี้
    1.https://www.tiktok.com/@publicpolicyinstitute/video/7232126694646238465?isfromwebapp=1&senderdevice=pc&webid=7231768213134198273 2.https://www.tiktok.com/@publicpolicyinstitute/video/7232127489470958849?isfromwebapp=1&senderdevice=pc&webid=7231768213134198273 3.https://www.tiktok.com/@publicpolicyinstitute/video/7232127756279057666?isfromwebapp=1&senderdevice=pc&webid=7231768213134198273 4.https://www.tiktok.com/@publicpolicyinstitute/video/7232236986231311617?isfromwebapp=1&senderdevice=pc&webid=7231768213134198273
หารือทีมสื่อ เรื่องนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย24 เมษายน 2566
24
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สื่อเพื่อการขับเคลืื่อนนโยบายสาธารณะ PA ปี 66.pdf
  • 240466 คำถามสื่อและ ข้อเสนอเชิงนโยบายกิจกรรมทางกายต่อpolitician.pdf
  • 240466 คำถามสื่อและ ข้อเสนอเชิงนโยบายกิจกรรมทางกายต่อpolitician.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

หารือทีมสื่อ เรื่องนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แลกเปลี่ยนหารือข้อมูลนโยบาย ดังนี้
1. นโยบาย “1 ตำบล 1 สวนสุขภาพ” เพื่อให้ชุมชนมีพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะ กระจายในทุกพื้นที่ ทุกกลุ่มวัย ทุกกลุ่มเศรษฐานะเข้าถึงได้
2. นโยบาย “เดิน ปั่น เป็นวิถีชีวิตประจำวัน” เพื่อแก้ปัญหาเมือง/ประกาศนโยบายสนับสนุนการเดินและการใช้จักรยาน ให้เป็นการสัญจรทางเลือกสำหรับทุกเมืองใหญ่ของประเทศ
3. นโยบายและสนับสนุนงบประมาณให้สถานพัฒนาเด็ก สถานศึกษาทุกระดับ ทั้งของรัฐและเอกชน เพื่อจัดให้มีหลักสูตร กิจกรรม และการสร้างสภาพแวดล้อมและการดูแลความปลอดภัยที่เอื้อให้เกิดการมีกิจกรรมทางกายของบุคลากร เด็กเล็ก นักเรียน นักศึกษาและชุมชน 4. นโยบายส่งเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบการ จัดกิจกรรมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย พร้อมทั้งส่งเสริมบุคลากรในองค์กร ให้มีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 5. การใช้มาตรการทางภาษี มาตรการทางการเงิน รวมถึงองค์ความรู้อื่น ๆ ในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

แนวทางดำเนินการต่อ
1. จัดทำคลิปนโยบายส่งเสริมสุขภาพ นโยบายส่งเสริมกิจกรรมกิจกรรม โดยสัมภาษณ์กลุ่มนักการเมืองพรรคต่างๆ จำนวน 5 ชิ้น 2. เผยแพร่ในสื่อโซเชียลต่างๆ เช่น tiktok facebook Youtube ฯลฯ

นำเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเวทีฟังเสียงประชาชน Scenario Thailand จังหวัดปัตตานี1 เมษายน 2566
1
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • อัพเดตกำหนดการเวที Post Election ปัตตานี.docx.pdf
  • หนังสือเชิญ SCENARIO ใต้ จชต อ.กุลทัต.pdf
  • 090366 ข้อเสนอเชิงนโยบายกิจกรรมทางกายต่อpolitician.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เสียงประชาชน “ชายแดนใต้” เลือกอนาคตประเทศไทย ณ วันเสาร์ ที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๖ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. ณ ร้านมิตรไมตรี Dinning Café เทศบาลเมืองปัตตานี อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดร.กุลทัต ดร.เพ็ญ และคณะทำงาน ได้เข้าร่วมเวที เสียงประชาชน “ชายแดนใต้” เลือกอนาคตประเทศไทย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นสุขภาพ ได้แก่ ประเด็นการพัมนาเด็กปฐมวัย การพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อกิจกรรมทางกาย อาหารปลอดภัย
และได้แลกเปลี่ยนแนวทางในประเด็นอื่นๆ

นำเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเวทีฟังเสียงประชาชน Scenario Thailand จ.สงขลา10 มีนาคม 2566
10
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมเวที Workshop  Scenario Thailand จ.สงขลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดร.กุลทัต ผู้รับผิดชอบโครงการได้เข้าร่วมเวที Scenario Thailand จ.สงขลา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นสุขภาพ

ประชุมพัฒนาข้อเสนอนโยบายกับ สช.และเครือข่าย 4 มติ หารือการจัดทำข้อมูลมติกิจกรรมทางกาย, มติพื้นที่สาธารณะ, มติการเดินและการใช้จักรยาน, มติพื้นที่เล่นเด็ก24 กุมภาพันธ์ 2566
24
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • ข้อเสนอเชิงนโยบายกิจกรรมทางกายในเด็กและเยาวชน (ปรับใหม่).pdf
  • ข้อเสนอเชิงนโยบาย_มติ5.1การเดินและการใช้จักยาน.pdf
  • ข้อเสนอการพัฒนาพื้นที่สาธารณะเพื่อสุขภาวะอย่างยั่งยืน.pdf
  • ข้อเสนอ ประเด็น พื้นที่เล่นสร้างเสริมสุขภาวะของเด็กปฐมวัยและวัยประถมศึกษา.pdf
  • 090366 ข้อเสนอเชิงนโยบายกิจกรรมทางกายต่อpolitician.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมพัฒนาข้อเสนอนโยบายกับ สช.และเครือข่าย 4 มติ หารือการจัดทำข้อมูลมติกิจกรรมทางกาย+พื้นที่สาธารณะ+การเดินและการใช้จักรยาน+พื้นที่เล่นเด็ก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ข้อเสนอนโยบาย ดังนี้

  1. “ACTIVE PEOPLE; ACTIVE ENVIRONMENT สร้างคนไทยให้กระฉับกระเฉง มีชีวิตชีวา”
  2. “พื้นที่เล่นสร้างเสริมสุขภาวะของเด็กปฐมวัยและวัยประถมศึกษา”
  3. “สนับสนุนการเดินและการใช้จักรยาน ให้เป็นการสัญจรทางเลือกสำคัญของเมือง”
  4. “แนวทางการพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาพื้นที่สาธารณะ 1 เขต 1 สวน”
  5. “ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กและเยาวชน เป็น Active people”
    “Active children, Active people”
ประชุมหารือติดตามมติ PA และแผนเวทีสาธารณะ22 กุมภาพันธ์ 2566
22
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • ความก้าวหน้ามติ PA 22 ก.พ.66 sim.docx
  • ความก้าวหน้ามติ PA 22 ก.พ.66 sim.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

หารือกับ สช.ติดตามมติ PA และแผนเวทีสาธารณะ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย PA

  1. การขับเคลื่อนนโยบาย PA ร่วมกับเวทีฟังเสียงประชาชน
  2. รวมมติที่เกี่ยวข้องกับ PA มาร่วมกันจัดข้อเสนอ ได้แก่ มติพื้นที่เล่นฯ มติการเดินและจักรยานฯ มติพื้นที่สาธารณะฯ
  3. จัดทำ policy brief หัวข้อได้แก่ 1) สถานการณ์/ความสำคัญ (สถานการณ์เชิงตัวเลขสถิติ,ทำไมต้องทำเรื่องนี้) 2) แนวทาง (หลักการแก้ไขปัญหา) 3) ข้อเสนอเชิงนโยบาย (ใครควรทำอะไรเพื่อแก้ไขปัญหา/พัฒนาให้ดีขึ้น)
ประชุมวางแผนงานและทบทวนreview PAวัยเด็กและพื้นที่สุขภาวะ8 กุมภาพันธ์ 2566
8
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมวางแผนงานและทบทวนreview PAวัยเด็กและพื้นที่สุขภาวะ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้แผนทบทวนเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

- ข้อมูล PA ในเด็กและเยาวชน (รวมปฐมวัย)
- พื้นที่สุขภาวะ 3. ภาพรวม PA ทั้งหมด
-  ทบทวนมติสมัชชชา PA
- ข้อมูลจากงานประชุมวิชาการ PA
2. คณะทำงานได้แบ่งกันทบทวนข้อมูล ซึ่งข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลนำเข้าในการขับเคลื่อนนโยบายต่อไป โดยผ่านขั้นตอน ดังนี้ - ขั้นที่ 1 ทบทวนเอกสารทุติยภูมิ - ขั้นที่ 2 Focus group จากองค์กรหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ขั้นที่ 3 พัฒนาร่างข้อเสนอ / ประชุมกลุ่มหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ขั้นที่ 4 จัดเวทีสาธารณะ
3. ผลลัพธ์ - ได้องค์ความรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ได้แก่ การพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในวัยเด็กและเยาวชน
- ได้ข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและส่งต่อหน่วยงานกำหนดนโยบาย