โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า)
ชื่อโครงการ | โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า) |
ภายใต้โครงการ | แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านบ่อหว้า |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางมัณฑนา อ่อนทอง (0864903966) |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | วรรณา สุวรรณชาตรี |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงเรียนบ้านบ่อหว้า ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.2615935975183,100.40801663948place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2561 | 30 ก.ย. 2562 | 20,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย เตี้ย ร้อยละ 20 | 20.00 | ||
2 | เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย ผอม ร้อยละ 10 | 10.00 | ||
3 | 3. เด็กนักเรียน ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า ร้อยละ 70 | 70.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ภาวะโภชนาการที่ดีเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิตโดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโต เนื่องจากการเจริญเติบโคมีทั้งด้านสมองและร่างกายหากขาดอาหารสิ่งที่พบเห็นคือ เด็กตัวเล็ก ผอม เตี้ย จึงเป็นการแสดงออกทางร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่เพียงด้านร่างกายเท่านั้นยังมีผลต่อการพัฒนาสมองด้วยทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้าไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เมื่อเป็นผู้ใหญ่ประสิทธิภาพการทำงานต่ำ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ สถานก่ารณ์ปัญหา ที่พบคือ เด็กนักเรียนมีลักษณะร่างกายเตี้ยร้อยละ20 ผอม ร้อยละ10 และนักเรียนที่ไม่ได้ทานอาหารเช้า ร้อย 70
การบริการอาหารกลางวันเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญยิงสำหรับนักเรียน เพราะการรับประทานอาหาร กลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีการจัดทำอาหารกลางวันอย่างเพียงพอ จะทำให้นักเรียนมีสุขภาพดี และแข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค เมื่อนักเรียนมี่สุขภาพและพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงยอมส่งผลให้นักเรียน เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างเต็มที่
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย สูงขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 20 เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย น้ำหนักเพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 10 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร |
20.00 | 10.00 |
2 | เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านผลิตอาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ |
100.00 | |
3 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเศรฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชากับการเรียนการสอน ผู้เรียนร้อยละ 70 ได้รับการเรียนรู้เรื่อง เศษฐกิจพอเพียง ตามศาสตร์พระราชา |
70.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 82 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
ครู | 6 | - | |
เด็กนักเรียนศูนย์เด็กเล็ก ก่อนประถมวัย | 22 | - | |
เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อหว้า | 54 | - |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 6,250.00 | 4 | 13,750.00 | |
19 พ.ย. 61 | ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน | 0 | 0.00 | ✔ | 4,800.00 | |
19 พ.ย. 61 | ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ | 0 | 0.00 | ✔ | 2,700.00 | |
19 พ.ย. 61 | เลี้ยงไก่ไข่ | 0 | 0.00 | ✔ | 6,250.00 | |
20 พ.ย. 61 | ประชุมคณะครู กรรมการโรงเรียน และผู้ปกครอง | 0 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
15 ม.ค. 62 | เตรียมบ่อปลาดุก(บ่อพลาสติก) /และเลี้ยงปลาดุก | 0 | 6,250.00 | - |
ขั้นดำเนินการ
แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คณะทำงาน ผู้รับผิดชอบ
ประชุมปรึกษาหารือผู้ปกครองเกี่ยวกับการประกอบอาหารกลางวัน
จัดกลุ่มนักเรียนปฏิบัติรับผิดชอบตามกิจกรรมที่กำหนด
จัดเวรนักเรียนช่วยงานอาหารกลางวันในแต่ละวัน
ปฏิบัติกิจกรรมอาหารกลางวัน
นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันทุกคนในระดับก่อนปฐมวัย ถึง ชันประถมศึกษาปีที่ 6 และเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดสารพิษ ส่งผลการพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา แก่เด็กนักเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 พ.ย. 2561 13:40 น.