ชื่อโครงการ | โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) |
ภายใต้โครงการ | แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 1 ตุลาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 |
แหล่งทุน |
ไม่ระบุ
|
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านนาจะแหน |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวนุสนานิง หะยีสะแม (0870984851) |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | วรรณา สุวรรณชาตรี |
พื้นที่ดำเนินการ | หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.6225978493763,100.86697731947place |
จังหวัด | อำเภอ | ตำบล | ชื่องานในพื้นที่ | ลักษณะพื้นที่ | |
---|---|---|---|---|---|
สงขลา | สะบ้าย้อย | จะแหน | place directions |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2561 | 30 ก.ย. 2562 | 20,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | เด็กมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ | 10.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เด็ก วัยเรียนเป็นวัยที่กําลัง เจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายและ สมอง จึงต้องการสารอาหาร และพลังงานเพื่อใช้ในการ เจริญเติบโต เด็กวัยนี้ควรได้รับ สารอาหารที่เพียงพอต่อความ ต้องการของร่างกายโดยได้รับ อาหารครบทั้ง 5 หมู่ วันละ 3 มื้อ ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ (สารอาหารและความ ปลอดภัย) หากเด็กได้รับ สารอาหารไม่เพียงพอ จะทําให้ การเจริญเติบโตทั้งทางร่างกาย และสมองไม่ได้เต็มศักยภาพ ในทางตรงข้ามการบริโภค อาหารที่มากเกินไปของเด็กจะ นําไปสู่ภาวะโภชนาการเกิน และโรคอ้วน ข้อมูลจาก ปี 2560 ในโรงเรียนบ้านนาจะ แหน พบว่า เด็กที่มีน้ําหนักต่ํากว่าเกณฑ์มีอัตราร้อยละ 7- 10 อัตราโรคอ้วนโรงเรียน ร้อย ละ 1-3 ปัจจัยที่มีอิทธิพล คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหารมื้อ หลักและอาหารจานด่วนที่มี ไขมันสูง ผักผลไม้น้อย อาหาร ว่าง (ขนมหวานและขนมกรุบ กรอบ) เครื่องดื่มรสหวาน น้ําอัดลม รวมทั้งขาดกิจกรรม การออกกําลังกาย ทางโรงเรียน มีนโยบายด้านการสร้างเสริม สุขภาพ แต่ยังไม่มีการ ดําเนินการแก้ไขปัญหา โภชนาการอย่างเป็นรูปธรรม
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีอาหาร กลางวัน ที่มีคุณค่าทาง โภชนาการบริโภคตลอดช่วง การศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้น ภายในโรงเรียนมาประกอบ อาหาร 1.เด็กนักเรียน มี ลักษณะร่างกาย สูงขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 20 เด็ก นักเรียน มีลักษณะ ร่างกาย น้ําหนัก เพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 10 ผู้เรียน ร้อยละ 80 มีสุข นิสัยที่ดีในการ รับประทานอาหาร |
80.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ด้านผลิต อาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพ อนามัย 2.ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับประทาน อาหารที่มีคุณค่า ทางโภชนาการ |
80.00 | |
3 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูร ณาการการเกษตรเศรฐกิจ พอเพียงตามศาสตร์ พระราชากับการเรียนการ สอน 3.ผู้เรียนร้อยละ70 ได้รับการเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราช |
70.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียนใน กิจกรรมชุมนุม | 30 | - |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 9,710.00 | 3 | 20,000.00 | |
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 | การเลี้ยงปลาดุก | 0 | 5.00 | ✔ | 5,000.00 | |
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 | การปลูกผักสวนครัว | 0 | 5.00 | ✔ | 5,000.00 | |
20 ม.ค. 62 - 29 มี.ค. 62 | เพาะเห็ดนางฟ้า | 0 | 9,700.00 | ✔ | 10,000.00 | |
28 มิ.ย. 62 | เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว | 0 | 0.00 | - |
- ปลูกผักสวนครัว
- เลี้ยงปลาดุก
- เพาะเห็ดนางฟ้า
1.โรงเรียนมีผัก เห็ด และปลาดุกร้อยละ60 ถูกจำหน่ายเพื่อนำไปประกอบอาหารให้นักเรียน 2.นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับความรู้การปลูกผัก การเพาะเห็ด และการเลี้ยงปลาดุกโดยลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2561 14:34 น.