ชื่อโครงการ | โครงการปลูกผักไร้ดินโรงเรียนบ้านมุนี (โรงเรียนบ้านมุนี) |
ภายใต้โครงการ | แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 1 ตุลาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านมุนี ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายกรวิชญ์ คล้ายศรี 0848614764 |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | วรรณา สุวรรณชาตรี |
พื้นที่ดำเนินการ | ม.4 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.5171528446451,100.97764636896place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2561 | 30 ก.ย. 2562 | 20,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | เด็กอ้วน | 20.00 | ||
2 | เด็กผอม | 10.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การบริโภคพืชผักถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีพของมนุษย์ เพราะพืชผักเป็นแหล่งของวิตามิน เกลือแร่ และเยื่อใย นอกจากนี้การบริโภคต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก เพราะพืชผักส่วนใหญ่ที่วางขายในท้องตลาดทั่วไป พบว่ามีสารพิษตกค้างที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ดังนั้น การปลูกพืชแบบไม่ใช้ดินจึงเป็นแนวทางเลือกใหม่ในอนาคต เพื่อลดการใช้สารเคมี อีกทั้งยังจะสามารถเป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหารกลางวันให้กับนักเรียนของโรงเรียน
การดำเนินงานด้านโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนบ้านมุนี พบว่า มีนักเรียนมีภาวะโภชนาการประมาณร้อยละ 5 ซึ่งมีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานซึ่งต้องมีการแก้ไขโดยเร่งด่วน เพื่อให้มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
โรงเรียนบ้านมุนีดำเนินการด้านอาหารกลางวัน เพื่อให้ผู้เรียน มีพัฒนาการด้านโภชนาการที่สมบูรณ์ สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ ทางโรงเรียนจึงได้ดำเนินการ โครงการปลูกผักไร้ดิน เพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถต่อยอดไปใช้ในอนาคตได้ นอกจากนั้น โรงเรียนยังได้รับผลประกอบ ที่สะอาด ปลอดภัย ปราศจากสารเคมี เพื่อนำไปปรุงอาหารให้กับนักเรียน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน ร้อยละ 5 ให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวนลดลงร้อยละ 5 |
95.00 | |
2 | เพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบที่ใช้ประกอบอาหารของโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน มีวัตถุดิบจากการดำเนินกิจกรรมนำส่งโครงการอาหารกลางวัน |
95.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 118 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
ครู และบุคลากรทางการศึกษา | 19 | - | |
นักเรียน ระดับประถมศึกษา | 99 | - |
การปลูกผัก ไฮโดรพอนิกส์ มีรายละเอียดงบประมาณใช้จ่ายดังนี้
- อุปกรณ์ปลูกผักดิน ขนาด 1 เมตร 5 แถว
จำนวน 2 ชุดๆ 7,500 บาท จำนวน 2 ชุด = 15,000 บาท - เครื่องวัดค่า ph 1 เครื่อง 1,000 บาท
- ถ้วยปลูกไฮโดรพอนิกส์แบบไร้ขอบ 800 บาท
- ฟองน้าสำหรับปลูกผัก 200 บาท
- เมล็ดพันธุ์ 1,000 บาท
- ธาตุอาหาร A,B 2,000 บาท
รวม 20,000 บาท
- นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวนลดลงร้อยละ 5
- มีวัตถุดิบจากการดำเนินกิจกรรมนำส่งโครงการอาหารกลางวัน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2561 14:33 น.