directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 10

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 10
ภายใต้โครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน (13 เขต)
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 1,345,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวจงกลนี ศิริรัตน์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0864788322
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ csu.ubn@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นายสงกา สามารถ , นายวินัย วงศ์อาสา ,นายรพินทร์ ยืนยาว
พื้นที่ดำเนินการ เขตสุขภาพที่ 10 ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2565 30 ก.ย. 2567 1,345,000.00
รวมงบประมาณ 1,345,000.00
stars
3. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
4. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

ขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ได้แก่ ยาสูบ สุราและสิ่งเสพติด อาหาร กิจกรรมทางกาย ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต มลพิษจากสิ่งแวดล้อม และปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ โดยอาศัยกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่และหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่ ระดับตำบล ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และระดับอำเภอ ได้แก่ โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข สสส. และ สปสช. ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านสุขภาพ

stars
5. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

 

2 เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผล โครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

 

stars
6. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3275
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะกรรมการกองทุนฯ ผู้เสนอโครงการของบจากกองทุนฯ ผู้ 200 -
คณะทำงานระดับอำเภอ 13 -
คณะทำงานระดับเขต 12 -
ทีมกลไกบูรณาการอำเภอ 5 อำเภอ 50 -
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายภายใต้การดำเนินโครงการกองทุนฯ 3,000 -
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 กองทุนศูนย์เรียนรู้(1 ต.ค. 2565-30 ก.ย. 2567) 945,000.00                                                
2 กองทุนสมัครใจเข้าร่วม(1 ต.ค. 2565-30 ก.ย. 2567) 400,000.00                                                
3 กองทุนศูนย์เรียนรู้และกองทุนสมัครใจเข้าร่่วม(1 ก.พ. 2567-29 ก.พ. 2567) 275,200.00                                                
รวม 1,620,200.00
1 กองทุนศูนย์เรียนรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 7024 945,000.00 13 659,171.00
3 - 6 ม.ค. 66 ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 50 26,000.00 32,280.00
16 ม.ค. 66 เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอเขื่องใน จ.อุบลราชธานี 40 22,200.00 21,621.00
17 ม.ค. 66 เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.อุบลราชธานี 35 22,200.00 22,790.00
20 ม.ค. 66 เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 40 22,200.00 21,240.00
20 ม.ค. 66 - 17 ก.พ. 66 สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลและการจัดทำแผน 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ กองทุนฯศูนย์เรียนรู้ 22 กองทุน 6,300 210,000.00 110,000.00
13 ก.พ. 66 เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี 55 31,300.00 35,950.00
14 ก.พ. 66 เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 54 31,300.00 35,370.00
15 ก.พ. 66 เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 50 31,300.00 33,650.00
1 - 30 เม.ย. 66 ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 30 26,000.00 17,473.00
1 มิ.ย. 66 - 1 ก.ค. 66 ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 21 กองทุน 50 126,000.00 123,090.00
1 - 30 ก.ค. 66 ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 3 30 26,000.00 32,460.00
1 - 31 ก.ค. 66 พัฒนาทักษะพี่เลี้ยงกองทุนในการจัดทำแผน พัฒนาโครงการและเสนอโครงการ การติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบเว็บไซต์ 90 165,828.00 147,197.00
1 - 31 ส.ค. 66 ประชุมสรุปบทเรียนการดำเนินงานและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 120 126,672.00 -
1 - 31 ต.ค. 66 ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 4 20 26,000.00 26,050.00
1 - 31 ม.ค. 67 ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 5 30 26,000.00 -
1 - 30 เม.ย. 67 ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 6 30 26,000.00 -
2 กองทุนสมัครใจเข้าร่วม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 3350 400,000.00 6 236,930.00
18 ม.ค. 66 เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี 40 22,200.00 17,660.00
19 ม.ค. 66 เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอโนนคูณ จ.ศรีสะเกษ 40 22,200.00 20,060.00
20 ม.ค. 66 - 17 ก.พ. 66 สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลและการจัดทำแผน 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ กองทุนฯ เข้าร่วม 10 กองทุน 3,000 100,000.00 50,000.00
16 ก.พ. 66 เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี 40 31,300.00 24,600.00
17 ก.พ. 66 เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.โนนคูณ จ.ศรีสะเกษ 40 31,300.00 27,010.00
1 - 30 มิ.ย. 66 ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 10 กองทุนเปิดรับทั่วไป 50 60,000.00 -
1 - 31 ก.ค. 66 พัฒนาทักษะพี่เลี้ยงกองทุนในการจัดทำแผน พัฒนาโครงการและเสนอโครงการ การติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบเว็บไซต์ 60 72,672.00 97,600.00
1 - 31 ส.ค. 66 ประชุมสรุปบทเรียนการดำเนินงานและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 80 60,328.00 -
3 กองทุนศูนย์เรียนรู้และกองทุนสมัครใจเข้าร่่วม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 275,200.00 1 190,375.00
15 - 16 ก.พ. 67 ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 32 กองทุน 120 275,200.00 190,375.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กองทุนเป้าหมายที่เป็นศูนย์เรียนรู้ (จำนวน 21 กองทุน) มีการเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) ทุกกองทุน
  2. กองทุนเป้าหมายที่เป็นศูนย์เรียนรู้ (จำนวน 21 กองทุน) มีโครงการสร้างเสริมสุขภาวะที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) ที่ผ่านการพิจารณาและได้รับทุนสนับสนุนงบประมาณปี 2567 จากกองทุนฯ อย่างน้อยกองทุนละ 2 โครงการ
  3. กองทุนเป้าหมายที่เป็นขยายผล (จำนวน 10 กองทุน) มีการเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) อย่างน้อย 2 แผนงานต่อกองทุน และมีโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ อย่างน้อย 2 โครงการต่อกองทุน
  4. พี่เลี้ยงที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของ กองทุนฯ รวม 40 คน (พี่เลี้ยงอำเภอ 10 คน พี้เลี้ยงจากกองทุน 30 คน)
  5. ได้รูปแบบการบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ อย่างน้อย 1 แผนงานต่ออำเภอ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ธ.ค. 2565 16:37 น.