ชื่อโครงการ | โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม) |
ภายใต้โครงการ | แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 1 ตุลาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านโคกพยอม ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโ่ข่ง จังหวัดสงขลา |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวปัทมพร สุวรรณจำ |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | วรรณา สุวรรณชาตรี |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.8848238688988,100.4433815697place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2561 | 30 ก.ย. 2562 | 20,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | เด็กที่มีภาวะอ้วนหรือผอม จะเกิดผลกระทบต่อร่างกายและการเจริญเติบโตของเด็ก จากการสำรวจพบว่า - มีเด็กผอม จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 4.26 - มีเด็กอ้วน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5.32 - ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน เพราะม | 5.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวัน
|
2.00 | |
2 | 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
|
95.00 | |
3 | 3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพิ่มผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการ
|
100.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 104 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
ครู | 8 | - | |
นักการ | 1 | - | |
นักเรียน | 94 | - | |
แม่ครัว | 1 | - |
- นักเรียนอ้วนและนักเรียนผอมมีภาวะเสี่ยงลดลงร้อยละ 2
- นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่มีประโยขน์และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
- โรงเรียนจัดกิจกรรมทางการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
- โรงเรียนมีผักที่ปลอดภัยในการนำมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
- โรงเรียนมีพื้นที่ในการเพาะปลูกเพิ่มขึ้นเนื่องมาจากการได้รับงบเพื่อปรับปรุงพื้นที่และจัดบริเวณในการเพาะปลูกได้ดีขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2561 14:33 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ