
- ประชุมเครือข่ายสร้างสุขสรุปผลการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ทครั้งที่ 13
- ได้สรุป SWOT ของกระบวนการงานสร้างสุข และแนวทางการขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบาย

- ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมา และรายงานสรุปการเงิน
- ได้สรุปการใช้จ่ายเงิน และวางแผนภายใน 2 เดือน

- ประชุมกับกองสาธารณสุข อบจ.ปัตตานี ยกระดับการขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายประเด็นความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดปัตตานี
- มีเครือข่าย รพ.สต.ถ่ายโอนมายัง อบจ.จำนวน 8 แห่ง ใน อ.หนองจิก ยะหริ่ง และไม้แก่น เป็นพื้นที่ทำเรื่องโภชนาการในวัยเด็ก

-
-

- ประชุมประเมินการจัดการสร้างสุขภาคใต้
- มีเครือข่ายเข้าร่วม 30 คน ได้กรอบการประเมิน คือ ประเมินตามตัวขี้วัด และประเมินตามกระบวนการนโยบายสาธารณะ

- ร่วมกับข้อเสนอเชิงนโยบายสวัสดิการอ่านในเด็ก 3 จชต.
- มีข้อเสนอ ดังนี้ เพิ่มการเข้างถึง หนังสือของเด็กปฐมวัย เพิ่มครัวเรือนที่อ่านหนังสือให้เด็กปฐมวัยอ่านให้เด็กฟัง เพิ่มแกนนำ ส่งเสริมการอ่านในระดับต่าง ๆ พัฒนากลไกการจัดสวัสดิการหนังสือและส่งเสริมการอ่านในเด็กประถมวัย พัฒนาช่องทางการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้และปรับพฤติกรรมด้านการจัดสวัสดิการหนังสือและส่งเสริมการอ่าน พัฒนานโยบายสาธารณะ ด้านการจัดสวัสดิการหนังสือและส่งเสริมการอ่าน
-
-

- ประชุมสรุปผลการดำเนินงานสมัชชาสร้างสุขจังหวัดสตูล
- ได้แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายรักษ์จังสตูล
- เข้าร่วมกิจกรรมเวทีแรกพบ สสส.
- ได้เรียนรู้การงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส.ในแต่ละฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบัญชีการเงิน ฝ่ายไอที ฝ่ายการเรียนรู้thaihealth

-
-
- เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- เครือข่ายจังหวัดตรังเข้าร่วม 20 คน
- เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- เครือข่ายภูเก็ตเข้าร่วม 20 คน
- เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- เครือข่ายเข้าร่วม 20 คน
- เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- เครือข่ายเข้าร่วม 20 คน
- เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- มีเครือข่ายเข้าร่วม 20 คน
- เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- เครือข่าย 20 คน จากแกนนำจังหวัดนครศรีธรรมราช
- เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- เครือข่าย 20 คน

- จัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- ได้ข้อเสนอเชิงนโยบาย 5 ประเด็น คือ ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางสุขภาพ ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางทรัพยากร และประเด็นกลุ่มชาติพันธ์

- จัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- ได้ข้อเสนอเชิงนโยบาย 5 ประเด็น คือ ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางสุขภาพ ความั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางทรัพยากร และประเด็นกลุ่มชาติพันธ์

- ทีมวิชาการประมวลข้อเสนอเชิงนโยบายทั้งหมดของภาคใต้ เพื่อนำเสนอในงานสร้างสุขภาคใต้
- ได้เอกสารประมวลข้อเสนอเชิงนโยบาย 1 ชิ้น ตามไฟล์แนบ
- ประชุมทีมวิชาการวิเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายตรัง
- วิเคราะห์ประเด็นการทำนาในจังหวัดตรัง
- ประชุมร่วมกับ อบจ.เตรียมงานสร้างสุขภาคใต้
- ได้เตรียมงานสร้างสุขร่วมกับ อบจ.ปัตตานี
-
-

- ประชุมจัดทำเอกสารนำเข้าห้องย่อย 4 ประเด็น
- ได้เอกสารห้องย่อย 4 ประเด็น คือ
- ความมั่นคงทางสุขภาพ
- ความมั่นคงทางมนุษย์
- ความมั่นคงทางทรัพยากร
- ความมั่นคงทางอาหาร

- จัดงานสมัชชาสร้างสุขจังหวัดนราธิวาส
- เกิดข้อเสนอเชิงนโยบาย 4 ประเด็นคือ ยุทธศาสตร์ระบบอาหาร การท่องเที่ยวโดยชุมชน ผู้สูงอายุ และระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรม
- ชมย้อนหลัง Islamnara อิสลามนรา ได้แพร่ภาพสด
27 กรกฎาคม ·
????[LIVE] กิจกรรมสร้างสุขจังหวัดนราธิวาส ปี พ.ศ.2566 " นราธิวาสสร้างสุข มือนารอ บาฮากียอ Narathiwat city of happiness " 27 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงเรียนร่มเกล้านราธิวาส อ.ยี่งอ จ.นราธิวาส สมัชชาสุขภาพ สมัชชาสุขภาพจังหวัดนราธิวาส #สสส #สปสช #สมัชชาสุขภาพ #พลเมืองสร้างสุขนราธิวาส
จัดงานสร้างสุขจังหวัดตรัง
ได้ข้อเสนอเชิงนโยบาย 2 ประเด็น คือ ข้าว และการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
-
-

- จัดงานสร้างสุขระนอง
- มีข้อเสนอเชิงนโยบาย 2 ประเด็น คือ ผู้สูงอายุ และเด็กเยาวชน
- รับชมได้ผ่านลิงก์ งานสร้างสุขจังหวัดระนอง ประจำปี 2566 “เชื่อมร้อยเครือข่ายสุขภาพ สู่สุขภาวะแห่งอนาคตคนระนอง” วันพุธที่ 26 กรกฎาคม 2566 เวลา 11.00 – 16.30 น. ห้องประชุมโรงแรมบ้านหญ้าหมู ต.บางนอน อ.เมือง จ.ระนอง และทาง Zoom ออนไลน์ https://zoom.us/j/9019029101
Facebook live https://fb.watch/m0tvjih49q/?mibextid=j8LeHn
- ประชุมจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายงานสร้างสุขจังหวัดระนอง
- ได้ข้อเสนอเชิงนโยบาย 3 ประเด็น คือ ผู้สูงอายุ เด็กเยาวชน และการท่องเที่ยวชุมชน

- ประชุมวิเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายงานสร้างสุขตรัง
- ได้เลือกประเด็นขับเคลื่อน ประเด็นข้าว

- ประชุมร่วมกับทีมเฟอร์แฟคเด้นซ์ปัตตานี ออกแบบการแสดงในพิธีเปิด
- ได้ข้อสรุปการแสดงบุหงาชายแดนใต้
-
-

- ประชุมจัดทำร่างกำหนดการห้องย่อยความมั่นคงทางสุขภาพ
- ได้ออกแบบห้องย่อย โดยเชิญ อบจ.ที่ทำกองทุน 5 จังหวัด (ภูเก็ต สุราษฏร์ธานี ปัตตานี พัทลุง สตูล) ร่วมขึ้นเวทีเสวนา และให้ Policy ให้ข้อเสนอแนะ ได้แก่ นายก อบจ.ผู้อำนวยการ สสส.สำนัก6 และ สภส. และ ผอ.สปสช.เขต 11-12
- จัดงานสร้างสุขจังหวัดปัตตานี
- ได้ข้อเสนอเชิงนโยบาย 4 ประเด็น คือ ทรัพยากรอ่าวปัตตานี การจัดการปัจจัยเสี่ยงบุหรี่ โภชนาเด็ก และสุขภาพ
- เข้าร่วมงานสร้างสุขปัตตานี
- ได้ข้อเสนอเชิงนโยบาย 3 ประเด็น คือ ประเด็นการจัดการทรัพยากรอ่าวปัตตานี ประเด็นบุหรี่ไฟฟ้า และประเด็นสุขภาวะโภชนาการ
- ร่วมงานสร้างสุขจังหวัดชุมพรทาง Zoom ออนไลน์
- มีข้อเสนอเชิงนโยบาย 3 ประเด็น คือ เศรษฐกิจชุมชน เกษตรปลอดภัย และชุมชนน่าอยู่ (ผู้สูงอายุ)
- รับชมได้ทาง ชมสดจากชุมพร https://www.facebook.com/100082828977969/videos/3469335010004622

- ประชุมทีมวิชาการทบทวนเอกสารนำเข้าห้องย่อยประเด็นความมั่นคงทางอาหาร
- ได้เอกสารนำเข้า 1 ชิ้น

- เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ในวันที่ 9-10 ส.ค.66
- มีเครือข่ายเข้าร่วม 20 คน

- รบวบรวมข้อมูลพื้นที่เพื่อเขียนเป็นเอกสารนำเข้า
- ได้ข้อมูลจากพื้นที่ในเรื่องนาข้าว สวนยาง ประมง และปศุสัตว์
- ประชุมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13 ร่วมกับ อบจ.ปัตตานี และเครือข่าย 14 จังหวัดภาคใต้
- ได้จัดงานแถลงข่าวการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ โดย สสส. สช. สปสช. อบจ. และ มอ.
- ได้รูปแบบพิธีเปิดและปิด พิธีการ แขกผู้ใหญ่ ระบบลงทะเบียน และเรื่องต่าง ๆ ในงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- รับชมข่าวได้ที่ รายการ ร่วมแรงร่วมใจชายแดนใต้ โดย คุณพัชรา ยิ่งดำนุ่น เวลา 16.00-17.00 น. สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี FM 107.25 MHz แถลงข่าวการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13 https://m.facebook.com/story.php?storyfbid=pfbid035ShSd9Ee6fbXeujhryNZ1uhAv2JWVTpzTr7UGDKpH8UvELUCm8cBaSXchfEDCQoAl&id=100064537338281 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย สถาบันนโยบายสาธารณะ ร่วมกับ เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ แถลงข่าวการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13 “ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต “สุข สู่ สุขภาวะ” และ การประชุมวิชาการเรื่อง “การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน : โอกาส และความท้าทาย” ระหว่างวันที่ 9-10 สิงหาคม 2566 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี . https://www.psu.ac.th/?page=news&newscode=1303

- ประชุมทีมวิชาการทบทวนเอกสารนำเข้าห้องย่อย
- เพิ่มเติมข้อมูลพื้นที่ถอดบทเรียน คือ คลองรัดโนด มะรุ่ย และให้ขึ้นเสวนาในวันงาน

- ประชุมเตรียมการจัดงานสร้างสุขจังหวัดปัตตานี
- ได้ออกแบบกระบวนการในเวที เป็นรูปแบบการเสวนาและแบ่งกลุ่มย่อยทำข้อเสนอ

- เตรียมข้อมูล press ข่าว และประสานนักข่าวในชายแดนใต้
- ได้ press ข่าว 1 ชิ้น

- เครือข่าย 5 พื้นที่เข้าร่วมทบทวนเอกสารนำเข้าในห้องย่อยประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์
- ได้ให้ข้อเสนอต่อการเข้าร่วมงานสร้างสุขในห้องย่อยประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์

- ประชุมจัดทำร่างกำหนดการห้องย่อยประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์ และเตรียมประสานเครือข่ายเข้าร่วมงาน
- กำหนดเครือข่ายเข้าร่วมในงาน 50 คน และเข้าร่วมทางออนไลน์ 100 คน
-
-
- ประชุมแกนนำและทีมวิชาการห้องย่อยประเด็นความมั่นคงทางอาหาร
- จัดทำเอกสารนำเข้าในห้องย่อยความมั่นคงทางอาหาร

- ประชุมทีมวิชาการดูข้อมูลเอกสารนำเข้าห้องย่อยความมั่นคงทางมนุษย์
- มีข้อมูลเพิ่มเติมในสถานการณ์ผู้สูงวัยในเขต 11-12 และการหาคนช่วยประมวลภาพรวม รวมทั้งกำหนดช่วงวันนัดพื้นที่ถอดบทเรียน
- ร่วมงานสร้างสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช
- ได้ข้อเสนอเชิงนโยบาย 4 ประเด็น คือ เกษตรปลอดภัย ทรัพยากรอ่าวทองคำ เด็กเยาวชน และ พชอ.

- ทำสื่อวิดีทัศน์ประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรจังหวัดปัตตานี
- ได้สื่อวิดีทัศน์ จำนวน 1 ชิ้น สำหรับใช้ในงานสร้างสุขจังหวัดปัตตานี รับชมได้ https://m.youtube.com/watch?v=6HYb2cfG6bo&feature=youtu.be

- ประชุมทีมวิชาการสังเคราะห์เอกสารนำเข้าในงานสร้างสุขจังหวัดนครศร๊ธรรมราช
- เอกสารข้อเสนอเชิงนโยบาย 1 ชุด นำเข้าในงานสร้างสุขนครศรีธรรมราช ตามไฟล์แนบ

- ประชุมทีมพัฒนาระบบลงทะเบียนออนไลน์ ของเครือข่ายในงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- ได้พัฒนาระบบลงทะเบียนออนไลน์ และทดลองใช้โดยเจ้าหน้าที่เพื่อทดลองระบบ

- ทีมวิชาการสังเคราะห์ข้อมูลนำเข้าในเวทีสร้างสุขจังหวัดนครศร๊ธรรมราช
- ได้ประเด็น 3 ประเด็น คือ อ่าวท่าศาลา ประเด็น พชอ.เป็นมิตรที่นาบอน กินเปลี่ยนเมือง
- ประชุม 5 พื้นทีนำร่องในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ถอดบทเรียนการดำเนินงาน และพัฒนาเป็นเอกสารนำเข้า
- ได้ข้อมูลถอดบทเรียน และนำไปประมวลเป็นเอกสารนำเข้าโดยทีมวิชาการ
- ถอดบทเรียนพื้นที่ดำเนินงานการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในภาคใต้ โดยเครือข่ายจากเทศบาลและโครงการโหนดเฟสซิบ
- ได้พื้นที่ต้นแบบ 5 พื้นที่ คือ
- เทศบาลเมืองปากพูน
- อบต.บ่อหิน
- เทศบาลตำบลบางหมาก
- เทศบาลนครยะลา
- เทศบาลตำบลบางด้วน

- นำเสนอกรอบพื้นที่การเตรียมนำเข้าในงานสร้างสุขภาคใต้
- ได้ประเด็นกองทุนจังหวัด 5 พื้นที่เข้าร่วมในห้องย่อยประเด็นความมั่นคงทางสุขภาพ

- ช่วงเช้า ประชุมเตรียมการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- ช่วงบ่าย ประชุมจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายงานสร้างสุขภาคใต้ เข้าสู่แผนกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้
- นำเข้าสู่แผนกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้
โครงการอาหารปลอดภัย โภชนาการสมวัย เพื่อให้เกิด - มาตรฐานการรับรองความปลอดภัย ประเภท พืช GAP ประมง GMP และปศุสัตว์ GFM
- การทำเกษตรกรอินทรีย์ ปศุสัตว์ และเกษตรผสมผสาน
- ทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียน และขยายผลชุมชนรอบโรงเรียน
- โครงการตำบลมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนในพื้นที่ จชต.
- เกษตรแปลงใหญ่ ประมง ปศุสัตว์
- พัฒนาศักยภาพเกษตรกร เน้นในกลุ่มเกษตรกรรายใหม่ อกม. เกษตรกรรายย่อย ผู้ด้อยโอกาสตาม TPMap แนวทางการพัฒนา
- วนเกษตรในสวนยางและสวนปาล์ม
- เกษตรผสมผสานในสวนยาง, ปาล์มน้ำมัน ส่งเสริมให้ความรู้ แบะและส่งเสริมการทำเกษตรแบบผสมผสาน
- กลุ่มเป้าหมาย ลูกจ้างในสวนยาง และเกษตรกรรายจ่ายพื้นที่ยางน้อยกว่า 10 ไร่ 3.โปรโหมตสินค่า 61 พื้นที่ 4. จัดตั้งกลุ่ม ศูนย์เรียนรู้ AIC BC6 5. สนับสนุนภาคประชาสังคมและความพร้อมของกลุ่มในพื้นที่ 6. Mapping ต้นแบบในพื้นที่ สู่การยกระดับและขยายผล 7.สร้างศักยภาพ “โดบาล” ในพื้นที่
- ประชุมแกนนำจังหวัดเตรียมการจัดงานสร้างสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช
- ร่างกำหนดการงานสร้างสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช

- 24 06 2566 ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร.docx
- 24 06 2566 ประเด็นความมั่นคงทางสุขภาพโภชนาการ.docx
- 24 06 2566 ประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติ.docx
- 24 06 2566 ข้อเสนอเชิงนโยบายประเด็นบุหรี่.doc
- ทีมวิชาการประมวล ถอดบทเรียน และเรียบเรียงเอกสารข้อเสนอเชิงนโยบายงานสร้างสุขปัตตานี
- ได้เอกสารนำเข้า 1 ชุด 4 ประเด็น ตามไฟล์แนบ

- ประชุมติดตามความก้าวหน้าการทำข้อมูลนำเข้าประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากร
- ได้การวางแผนเก็บข้อมูลเพิ่ม และการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย
- ประชุมร่วมกับ สสส.ออกแบบการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- ได้ร่างกำหนดการตามเอกสารแนบ

- ประชุมขับเคลื่อนแผนและจัดทำธรรมนูญสุขภาพว่าด้วยสังคมสูงวัยจังหวัดตรัง
-

ประเด็นหารือ
- ก่อนงาน การเตรียมจัดเวทีประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
- การจัดทำเอกสารนำเข้า ผู้เกี่ยวข้องมีใครบ้างในประเด็นที่เลือก
วันงาน
- งานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13 วันที่ 9 – 10 สิงหาคม 2566
- ห้องย่อยความมั่นคงทางทรัพยากร รูปแบบห้องย่อย การร่างกำหนดการ
- ผู้เข้าร่วม จำนวน 100 คน แบ่งเป็น onsite 30 คน และ Online 70 คน
- กำหนดการ และวิทยาที่เชิญเข้าร่วมในวันงาน
- จัดบูธนิทรรศการ 1 บูธ
พื้นที่รูปธรรมต้นแบบ และผู้รับผิดชอบสังเคราะห์งาน
- ศาลาด่านโมเดล อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ : การทำปฏิญญาเกาะลันตา /การจัดทำโซนต้นแบบศาลาด่านโมเดล การทำผังทรัพยากรเพื่อการสร้างความมั่นคงทางทรัพยากร : น.ส.ฐิติชญา บุญโสม
- คลองรัดโนด ต.ม่วงกลวง อ.กะเปอร์ จ.ระนอง : จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจท่องเที่ยวชุมชน จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกทำลายให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ และเป็นแหล่งอาหารของคนในชุมชน : อ.จตุรงค์ คงแก้ว และ อ.วิโรจน์ ภู่ต้อง
- การท่องเที่ยวฝั่งอ่าวไทย : เชื่อมเครือข่ายกลุ่มจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน “จากภูผาสู่มหานที” มีชุมชนจัดการท่องเที่ยวที่จังหวัดชุมพร เน้นการสร้างความมั่นคงทางอาหาร เช่น ธนาคารปูม้า บ้านปูบ้านปลา การเพาะพันธุ์ม้าน้ำ และใช้การท่องเที่ยวโดยชุมชนเข้ามาจัดการ : นายเกียรติคุณ รอดตัว
- การจัดทำผังทรัพยากรสู่การท่องเที่ยวและการจัดการภัยพิบัติ ต.มะรุ่ย อ.ทัปปุด จ.พังงา : อ.จินดา สวัสทวี
- การจัดการท่องเที่ยวชุมชนบ้านเกาะยาว : นายไมตรี จงไกรจักร์
-
-
-
-
- ประชุมทีมสื่อสร้างสุขภาคใต้ ออกแบบเวทีและงานพิธีการ
- ได้กรอบการทำงาน ฝ่ายพิธีการ พิธีเปิด-ปิด งานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- การตกแต่งสถานที่
- จุดเช็คอิน
- ผังงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- พิธีเปิด-ปิด

-
-

- ประชุมทีมวิชาการจัดทำกรอบเอกสารนำเข้าห้องย่อยความมั่นคงทางมนุษย์
- ได้ร่างกรอบเอกสารนำเข้า ประกอบด้วย สถานการณ์กลุ่มวัย ปัจจัยกำหนดสุขภาพ และนโยบายหนุนเสริมในแต่ละช่วงวัย
- ประชุมคณะทำงานทำแผนขับเคลื่อนงานสร้างสุขระนอง
- ได้คณะทำงานจากวิทยาลัยชุมชนนราธิวาส และรูปแบบการจัดงานและการเตรียมงานสร้างสขระนอง
-
-

- การจัดประชุมเพื่อเตรียมกระบวนการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13 และหารือแนวทางการยกระดับข้อเสนอเชิงนโยบาย ขยับเป็นแผนงานและโครงการสำหรับนำเข้าสู่แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดหรือแผนท้องถิ่น
- มีข้อสรุป ดังนี้
- กระบวนการเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ มีรายละเอียดและข้อเสนอ
- การยกระดับข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัดและภาคใต้ เป็นแผนงาน/โครงการ นำเข้าสู่แผนพัฒนาภาคใต้
- ข้อสรุปจากที่ประชุม มีมติร่วมกันว่า จะนำร่องทำใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนำข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัด มารวบรวมและแปลงเป็นแผนงาน/โครงการ นำเข้าสู่แผนของท้องถิ่น แผนกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้ และแผนของ อบจ.ในปีงบประมาณ 2567 กำหนดช่วงเวลาที่จะต้องนำเข้าแผนภายในเดือน กรกฎาคม 2566 โดยทางองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานียินดีรับเป็นเจ้าภาพในการนำข้อมูลจากงานสร้างสุขภาคใต้ เข้าสู่แผนของ อบจ. แผนของสมาพันธ์ อบจ. เทศบาล และ อบต.

- ประชุมเตรียมการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ร่วมกับ อบจ.ปัตตานี
- ข้อสรุปการประชุมคณะทำงานโครงการยกระดับนโยบายสาธารณะสู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข ครั้งที่ 1/2566วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.00 – 12.00 น.ณ ห้องประชุมสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และทาง Zoom ออนไลน์
- ความก้าวหน้าการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- งบประมาณในการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- ช่องทางการสื่อสารการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13

- เวทีถอดบทเรียนตำบลท่าศาลา ประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากร และความมั่นคงทางมนุษย์
- การประชุมวิเคราะห์ข้อมูลบทเรียนจากพื้นที่เพื่อพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายและเตรียมจัดงานสมัชชาสร้างสุขนครศรีฯ
- ได้ข้อมูลสถานการณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช และรูปแบบการจัดงานสร้างสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช

- ประชุมทีมสร้างสุขนครศรีธรรมราช และจังหวัดระนอง ร่วมออกแบบการจัดงานสร้างสุขในระดับจังหวัด
- ได้ร่างกำหนดการงานสร้างสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดระนอง

- ประชุมถอดบทเรียนการขับเคลื่อนและจัดทำเอกสารข้อเสนอเชิงนโยบายงานสร้างสุขปัตตานี
- เวทีประชุมจัดทำประเด็นขับเคลื่อนและการจัดทำข้อมูลเอกสารข้อเสนอเชิงนโยบาย ประเด็นบุหรี่
- ได้เอกสารข้อเสนอเชิงนโยบายประเด็นบุหรี่

- ประชุมเครือข่ายประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากร ทบทวนข้อเสนอเชิงนโยบายที่ผ่านมา และเลือกประเด็นขับเคลื่อนในงานสร้างสุขภาคใต้
- ได้เลือกประเด็นการท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นประเด็นขับเคลื่อนและจัดทำเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายนำเข้าสู่งานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13

- ประชุมทีมวิชาการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายนำเข้างานสร้างสุขภาคใต้
- มีข้อเสนอเชิงนโยบาย 2 ประเด็น คือ ผู้สูงอายุ และเด็กเยาวชน

- ประชุมทีมวิชาการ เตรียมแนวคำถามเพื่อลงถอดบทเรียน
- กำหนดลงพื้นที่มะม่วงสองต้น พชอ.นาบอน ข้าวหัวไทร และอ่าวทองคำท่าศาลา
- ประชุมจัดทำข้อมูลสถานการณ์สุขภาพคนใต้ เพื่อประมวลเป็นข้อมูลสถานการณ์ประกอบการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายประเด็นความมั่นคงทางสุขภาพในงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- ข้อมูลสถานการณ์ประกอบด้วย
- สถานการณ์สุขภาพคนใต้ การเกิดโรค ระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรม การแพทย์พหุวัฒนธรรม ลดการแบ่งชนชั้น อายุ เพศ ศาสนา
- ปัจจัยทางสุขภาพในตอนนี้ คือ ยาสูบและระบาดมาก คือ บุหรี่ไฟฟ้าที่พบในเด็ก 9 ปีในโรงเรียนตาดีกา การใช้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในเยาวชนมุสลิม และกัญชา น้ำกระท่อมที่ทำให้มีผู้ป่วยจิตเวชเพิ่มขึ้น
- การจัดบริการสุขภาพทุติยภูมิ
- ประชุมกับสำนักงานการท่องเที่ยวกีฬาจังหวัดระนอง
- ได้ข้อมูลสถานการณ์ท่องเที่ยวจังหวัดระนอง

- เข้าร่วมงานสร้างสุขจังหวัดสตูล
- มีข้อเสนอเชิงนโยบาย 10 ประเด็น ตามเอกสารแนบ
09.00 - 09.30 น. เวทีรับรองประเด็นสมัชชาสุขภาพคนสตูล 09.30 - 11.00 น. เสวนา เรื่อง อะไรคือความสุขของคนสตูล และร่วมกันขับเคลื่อนอย่างไร 11.00 - 12.00 น. สรุปข้อเสนอและรับรองข้อเสนอสมัชชาคนสตูล 13.00 - 13.30 น.รับขมการแสดงวัฒนธรรมคนสนตูล 13.30 - 14.30 น. ต้อนรับนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล 14.30 น. ผู้สมัครพรรการเมืองขึ้นรับข้อเสนอคนสตูล 14.30-14.45 น.ยื่นข้อเสนอให้ผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล 14.45-16.00 น. ส่งธง รักจังสตูบให้เจ้าภาพปีถัดไป
สตูลสุข 10 ประการ คือ
1. สิ่งแวดล้อมทรัพยากร
2.แหล่งท่องเที่ยว สถานบริการ
3.แหลางผลิตอาหาร
4.ระบบเศรษฐกิจเพื่อสังคม
5.ระบบการศึกษาทางเลือก
6.แผนพัฒนาทุกมิติ
7.ชาติพันธุ์ เยาวชน กลุ่มเปราะบาง
8.ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
9.ระบบการจัดทำแผนเชื่อมโยงขับเคลื่อนพัฒนาในทุกระดับ
10.ผู้ว่าบริหารท้องถิ่น บ้านเมือง เสริมสร้างศักยภาพคนสตูล

- ประชุมคณะทำงานสร้างสุข 14 จังหวัดภาคใต้
- ข้อสรุปการประชุมคณะทำงานโครงการยกระดับนโยบายสาธารณะสู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข ครั้งที่ 1/2566วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.00 – 12.00 น.ณ ห้องประชุมสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และทาง Zoom ออนไลน์
- ความก้าวหน้าการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- งบประมาณในการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- ช่องทางการสื่อสารการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13

- ประชุมคณะทำงานสร้างสุขภาคใต้ ออกแบบการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13
- มีการแต่งตั้งคณะทำงานสร้างสุขภาคใต้ ตามเอกสารแนบ
-
-

-
-
ประชุมแกนนำ 3 ประเด็น คือ ความมั่นคงทางอาหาร ทรัพยากร และมนุษย์ เลือกประเด็นขับเคลื่อน
ประเด็นอาหาร - ขอทำทุกประเด็น คือ ข้าว ประมง ปศุสัตว์ และเพิ่มผลไม้ ประเด็นทรัพยากร - เพิ่มเติมข้อมูลสถานการณ์ ประเด็นมนุษย์ - เพิ่มเติมข้อมูลสถานการณ์

- ประชุมคณะทำงานและทีมวิชาการจังหวัดนครศรีธรรมราช ออกแบบการจัดเวทีงานสร้างสุขจังหวัด
- ได้ร่างกำหนดการงาน เวทีสมัชชาสร้างสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช “นครศรี อยู่ดี มีสุข สุขภาวะคนคอน”
วันที่ 26 มิถุนายน 2566 เวลา 08.00 – 16.00 น.
ณ ห้องประชุมหัวตะพาน ชั้น 3 อาคาร A โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
และในระบบ online ผ่าน Zoom ID : 9019029101 ณ พื้นที่ต้นแบบ 4 พื้นที่
ประชุมนำเสนอร่างRoad Map ข้อเสนอเชิงนโยบายงานสร้างสุขภาคใต้ เตรียมการจัดเวทีแกนนำขับเคลื่อนเลือกประเด็นและเติมข้อมูล
มีการปรับร่าง ร่างRoad Map ข้อเสนอเชิงนโยบายงานสร้างสุขภาคใต้ 4 ประเด็นเพื่อเตรียมนำเข้าเวทีในวันที่ 29 เม.ย.66
-
-
เข้าร่วมประชุมกับนายก อบจ.ปัตตานี และ ผอ.กองสาธารณสุข ร่วมกับแกนนำจังหวัดปัตตานี เรียนเชิญเป็นเจ้าภาพในการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13 และนำเสนอการจัดงานสร้างสุขภภาคใต้ที่ผ่านมา
- นายก อบจ.ปัตตานี ตอบรับการเป็นเจ้าภาพาในการจัดงาน และมีข้อเสนอแนะต่อกระบวนการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13 และมติที่ประชุม ดังนี้
- 1) รูปแบบการจัดงานสมัชชาสร้างสุขในครั้งที่ 13 อยากให้มีความแตกต่างกว่า 12 ครั้งที่ผ่านมา และต้องทำให้ดีกว่าปีที่แล้ว โดยเฉพาะปีนี้ที่จังหวัดปัตตานีและกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้เป็นเจ้าภาพ
- 2) จัดทำ Roadmap ระยะยาว กำหนดยุทธศาสตร์ และมีตัวชี้วัดของการจัดงานสมัชชาสร้างสุขภาคใต้ โดยตั้งเป้าหมายไว้ 3 - 5 ปี ที่จะทำให้เกิดภาคใต้แห่งความสุข ตัวชี้วัดของการเกิดภาคใต้แห่งความสุขมีอะไรบ้าง
- 3) ควรจัดทำข้อมูลให้เห็นชัดว่าการจัดงานมา 12 ครั้ง มีพัฒนาที่ดีขึ้นหรือมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างไรบ้าง
- 4) ธีมหลักของการจัดงานเน้นความเป็นพหุวัฒนธรรม ตามบริบทชายแดนใต้
- 5) การจัดงานในระดับจังหวัด ไม่จำเป็นต้องเลือกประเด็นทั้ง 4 ความมั่นคงมาขับเคลื่อน จังหวัดเลือกมา 1 ประเด็น เพื่อทำให้คมชัด และสามารถเชื่อมโยงไปยังประเด็นอื่นได้ เพราะทุกเรื่องที่ขับเคลื่อนจะเชื่อมโยงกัน
- 6) ข้อเสนอที่ได้จากการจัดงานสมัชชาสร้างสุขใน 14 จังหวัด ก่อนประมวลนำมารวมกับภาคใต้ อยากให้แบ่งโซนจังหวัดตามแผนกลุ่มจังหวัด เพื่อให้ข้อเสนอที่เกิดขึ้นมีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ภาคใต้ และสามารถเห็นได้ว่าแต่ละกลุ่มจังหวัดจะมีประเด็นไหนร่วมกัน
- 7) ทบทวนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับการขับเคลื่อนงานและทำข้อเสนอในระดับจังหวัด และเป็นข้อมูลเบื้องต้นให้จังหวัดได้เน้นว่าแต่ละจังหวัดควรมียุทธศาสตร์อะไรบ้าง
ทุกจังหวัดควรดึง อบจ.เข้ามาร่วมทำงานสมัชชาสร้างสุข และทาง อบจ.สามารถพิจารณาตั้งงบประมาณสนับสนุนการจัดงานสมัชชาสร้างสุขได้ ในการจัดงานครั้งต่อไปหรือปีถัดไปควรประสานเข้าพบ อบจ.เพื่อหารือให้ได้รับทราบ ทาง อบจ.จะได้ตั้งบสนับสนุน ซึ่งการจัดงานสมัชชาสร้างสุขภาคใต้ ได้ตอบตัวชี้วัดของ อบจ.ในด้านการได้เครือข่ายใหม่และข้อเสนอเชิงนโยบายสามารถเสนอเป็นแผนยุทธศาสตร์ ทาง อบจ.จึงสามารถจัดตั้งสนับสนุนงบเพิ่มเติมได้
- 9) การขับเคลื่อนประเด็นภาคใต้ 4 ประเด็น คือ ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางสุขภาพ และความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติ เป็นประเด็นหลัก มีข้อเสนอว่าควรจะมีประเด็นรองหรือประเด็นย่อย และวิเคราะห์ประเด็นย่อยขึ้นมา จะทำให้ข้อเสนอที่ได้มีความคมชัด และตรงกับความต้องการของคนใต้
- 10) การจัดตั้งคณะทำงานสมัชชาสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 13 โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ดำเนินการแต่งตั้งเป็นคำสั่งแล้ว มีนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานีเป็นประธานคณะทำงาน คณะทำงานประกอบด้วย ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 11 และ 12 ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และประธานสมัชชาสร้างสุข 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และดร.เพ็ญ สุขมาก เป็นคณะทำงานและเลขานุการ โดยมติที่ประชุมเสนอให้เพิ่มผู้อำนวยการกองสาธารณสุของค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เพิ่มอีก 1 คน
ประชุมเตรียมงานสมัชชาคนสตูล “กลุ่มรักจังสตูล”
วันที่ 7 เมษายน 2566
ณ. ห้องประชุมชมรมประมงพื้นบ้านจังหวัดสตูล ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล
กรอบงานสมัชชาคนสตูลครั้งที่ 10
- งบประมาณในการจัดงานสมัชชาคนสตูลครั้งที่ 10 “สุข 10 ประการบนแผ่นดินอุทยานธรณีโลก” โดยประมาณ 250,000 บาท มีการสนับสนุนงบประมาณจากเครือข่ายสมาชิกกลุ่มรักจังสตูลและหน่วยงานอื่นๆ
- ร่างกำหนดการงานสมัชชาคนสตูลครั้งที่ 10 งานสมัชชาคนสตูล ครั้งที่ 10 “สุขสตูล 10 ประการ บนแผ่นดินอุทยานธรณีโลก” วันที่ 6 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ โรงเรียนบ้านเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
- ความมั่นคงทางมนุษย์.mm
- ความมั่นคงทางทรัพยากร.mm
- Roadmap-ความมั่นคงทางอาหาร.docx
- บันทึกการประชุม-นโยบายสาธารณะ.docx
- Roadmaps 070466.pptx
ประชุมทีมวิชาการ จัดทำข้อมูลแผนขับเคลื่อนนโยบายสร้างสุขภาคใต้ 4 ประเด็น โดยมีท่านรองอธิการ Pongthep Sutheravut ในการให้แนวทางการทำร่าง roadmap การขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายงานสร้างสุขภาคใต้
- ได้สังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบาย 4 ประเด็นของงานสร้างสุขภาคใต้ ตั้งแต่ ปี 2559 - 2564 (รายละเอียดตามไฟล์แนบ)
- จัดทำสื่อนโยบายสาธารณะประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์ "ลดความเหลื่อมล้ำความไม่เป็นธรรมในชุมชนชาวเลเกาะหลีเป๊ะ"
- ได้สื่อ VDO จำนวน 1 ชิ้น
-
-
-
-

- ทีมวิชาการ 4 ประเด็น หารือกรอบการทำข้อมูลนำเข้าในงานสร้างสุขภาคใต้
- กำหนด 4 ประเด็น คือ โภชนาการในวัยเด็ก บุหรี่ไฟฟ้า ภัยพิบัติน้ำท่วม และการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- ประชุมทีมวิชาการทบทวน Roadmap ข้อเสนอเชิงนโยบายงานสร้างสุขภาคใต้ที่ผ่านมา และมีผู้ทรงคุณวุฒิ อ.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ให้ข้อเสนอแนะต่อการทำ Roadmap ดังกล่าว
- มีข้อเสนอต่อการปรับ Roadmap ดังนี้
- ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร ให้เพิ่มประเด็น ข้าว ประมง และปศุสัตว์ (แพะ)
- ประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากร มี 4 เรื่อง คือ อนุรักษ์ ฟื้นฟู ป้องกัน และส่งเสริม
- ความมั่นคงทางมนุษย์ แบ่งเป็น เด็กเยาวชนอายุ 0-18 ปี วันทำงานอายุ 19-54 ปี และผู้สูงอายุ 55 ปี ขึ้นไป
- ความมั่นคงทางสุขภาพ มี 3 ประเด็น คือ คนมีสุขภาพดีตามสถานะสุขภาพ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพดี และมีกลไกที่เอื้อต่อการสนับสนุนให้คนมีสุขภาพดี
ประชุมข้อเสนองานสร้างสุขภาคใต้ที่ผ่านมา และการจัดทำ roadmap การขับเคลื่อนข้อเสนอสู่การปฏิบัติการโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
กำหนดกรอบการทำร่าง roadmap ความมั่นคง 4 ประเด็น คือ ข้อมูลสถานการณ์ ผู้เกี่ยวข้อง กระบวนการ และผลลัพธ์ที่วางไว้
-
-
ประชุมจัดทำข้อมูลกระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสร้างสุขในระดับจังหวัดและภาคใต้
ได้สื่อขับเคลื่อนกระบวนการงานสร้างสุข 1 ชิ้น
-
-

- ประชุมคณะทำงานสร้างสุขจังหวัดชุมพร
- การวิเคราะห์ผลลัพธ์ข้อเสนองานสร้างสุขของจังหวัดชุมพรที่ผ่านมา
-
-
-
-
- ประชุมคณะทำงานสมัชชาสร้างสุขจังหวัดสตูล ดังนี้
- ประชุมทบทวนทำความเข้าใจโครงการร่วมกันและร่วมวางแผนงานวันที่ 5 มีนาคม 2566 ณ. ห้องประชุมชมรมประมงพื้นบ้านจังหวัดสตูล ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล
- ประชุมเวทีพัฒนาศักยภาพของภาคประชาสังคมจังหวัดสตูลเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่รูปธรรมในการจัดการตนเอง วันที่ 21 มี.ค.66 ณ ห้องประชุมชมรมประมงพื้นบ้านละงู 3.ประชุมร่วมกับหน่วยงานภาคีเพื่อพัฒนากลไกเครือข่ายในจังหวัดสตูล วันที่ 30 มี.ค.66 ณ วิทยาลัยชุมชนสตูล
- ได้ข้อสรุปการจัดสมัชชาสร้างสุขคนสตูล กำหนดกลุ่มเป้าหมาย 100 คน จัดเป็นเวทีเสวนาเชิงปฏิบัติการ มีเครือข่ายร่วมจัดดังนี้
- สมัชชาคนสตูล
- สภาองค์กรชุมชนระดับตำบลจังหวัดสตูล
- สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
- มูลนิธิภาคใต้สีเขียว
- สำนักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสตูล
-
-
-
-

- ทำ Mapping ข้อเสนอเชิงนโยบายที่ผ่านมาของจังหวัดและเลือกประเด็นขับเคลื่อน
- กำหนดประเด็นสร้างสุขระนอง คือ ผู้สูงอายุ
-
-
ประชุมคณะทำงาน
ได้แผนการขับเคลื่อนงานสร้างสุขภาคใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช
-
-

-
-

- ประชุมคณะทำงาน ทีมวิชาการ และทีมขับเคลื่อน กำหนดประเด็นขับเคลื่อนนโยบายงานสร้างสุขภาคใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช มีกระบวนการ
- วันที่ 4 ก.พ.66 ประชุมทีมหยวกกล้วยกำหนดประเด็นขับเคลื่อน
- วันที่ 23 ก.พ.66 ประชุมระดมสมองทิศทางการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย ทาง Zoom
- วันที่ 26 มี.ค.66 ประชุมคัดเลือกพื้นที่ดำเนินงาน
- กำหนดหัวเรื่องและทีมขับเคลื่อนดังนี้
- ความมั่นคงทางอาหาร "กินเปลี่ยนเมือง" ผู้รับผิดชอบ นายอานนท์ มีศรี
- ความมั่นคงทางทรัพยากร เรื่องภัยพิบัต นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล
- ความมั่นคงทางมนุษย์ เรื่อง ชุมชนที่เป็นมิตรกับสังคม น.ส.วณิชญา ฉันสำราญ
- ความมั่นคงทางสุขภาพ เรื่องการจัดการสุขภาพในมิติใหม่ในยุคการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น" ดร.กันตพงษ์ คงหอม และ อ.กำไล สมรัก
- การบริหารจัดการงบประมาณจาก สนส.ม.อ.จำนวน 200,000 บาท - กำหนดให้มีทีมวิชาการ 2 ทีม คือ ทีมวิชาการกลาง อ.กำไล สมรักษ์ และทีมคณะทำงาน นายอานนท์ มีศรี - จัดโครงสร้างบริหารจัดการแบ่งเป็น 3 ทีม คือ คณะทำงานเครือข่ายหยวกกล้วย เลขางานกลาง และเลขารายงานประเด็น - ได้ข้อเสนอในการเลือกพื้นที่ 1. บูรณาการได้ทั้ง 4 ประเด็น เพื่อสร้างสุขภาวะ นครศรีอยู่ดีมีสุข 2. มีเจ้าของพื้นที่และภาคีที่เกี่ยวข้องร่วมขับเคลื่อน เกิดประโยชน์ต่อพื้นที่ ช่วยสนับสนุนตามบริบทของพื้นที่ 3. พื้นที่มีนโยบายอยู่บ้างแล้ว ยกระดับให้ขยายผลในจังหวัดให้เห็นถึงการจัดการระดับนโยบาย 4. องค์ประกอบผู้เข้าร่วมมีครบและทีมวิชาการนัดหมายลงถอดบทเรียนได้

-
-
-
-
- ประชุมคณะทำงานสร้างุสุขจังหวัดชุมพร
- ได้กำหนดประเด็นขับเคลื่อน 3 ประเด็นร่วมกับโหนดเฟสชิบชุมพร คือ ความมั่นคงทางอาหาร (สวนยางยั่งยืน) ความมั่นคงทางมนุษย์ (ผู้สูงอายุ) และเศรษฐกิจชุมชน
ประชุมทีมวิชาการกำหนดกรอบการสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายงานสร้างสุขภาคใต้
ทีมวิชาการได้แนงทางการสังเคราะห์ข้อเสนองานสร้างสุขภาคใต้
ประชุมคณะทำงาน 5 จังหวัดภาคใต้
ตามเอกสารสรุปการประชุม
ประชุมคณะทำงานชี้แจงการขับเคลื่อนงานสร้างสุขจังหวัดนราธิวาส
ได้แผนการขับเคลื่อน
ค่าจ้างเดือนละ 15000 บาท
ทำงานโครงการ

รายละเอียดตามกำหนดการ
ได้แผนขับเคลื่อนการจัดงานสร้างสุขภาคใต้
ประชุมคณะทำงานทีมกลาง (สนส.) เพื่อวางแผนการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ครั้งที่ 13
ได้แผนการขับเคลื่อนงานสร้างสุขภาคใต้ และการจัดตั้งคณะทำงาน 14 จังหวัด
จัดจ้างการตรวจสอบบัญชีงวดที่ 1
ได้รับการตรวจรับรองการใช้จ่ายเงินงวดที่ 1 เอกสารถูกต้องตามระเบียบ
จ่ายค่าธรรมเนียมให้มหาวิทยาลัย
จ่ายค่าธรรมเนียมบริการวิชาการ