ชื่อโครงการ | ประเมินผลภายใน การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน |
ภายใต้โครงการ | งานประเมินผลภายใน |
ภายใต้องค์กร | สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 1 กรกฎาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 |
งบประมาณ | 120,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศวนส. |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | 1) ดร.จินดา สวัสดิ์ทวี 2) อาจารย์นบ ศรีจันทร์ |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | จังหวัดในกลุ่มอันดามัน จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.ค. 2563 | 31 ธ.ค. 2563 | 35,000.00 | |||
2 | 1 ม.ค. 2564 | 31 พ.ค. 2564 | 50,000.00 | |||
3 | 1 พ.ค. 2564 | 30 ก.ย. 2564 | 35,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 120,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สถานการณ์ภัยพิบัติของประเทศไทยมีแนวโน้มเกิดบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงมากขึ้น การบริหารจัดการสาธารณภัยผ่าานกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือและจัดกการสาธารณภัยในเบื้องต้นแก่ชุมชน ถือเป็นแนวทางสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยอย่างยั่งยืน ได้ให้ความสำคัญกับการสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการป้องกันและบนนเทาสาธารณภัย โดยเฉพาะชุมชนในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยให้มีความพร้อมในการจัดการภัยพิบัติอย่างเข้มแข็ง จึงได้มุ่งเสริมสร้างศักยภาพชุมชนให้สามารถรับมือและจัดการสาธารณภัยด้วยตนเอง เพื่อเตรียมพร้อมรับมือและลดความเสี่ยงภัยในระดับชุมชน โดยมุ่งเน้นการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีขีดความสามารถในการเตรียมพร้อมรับมือและจัดการภัยพิบัติอย่างเข้มแข็งครอบคลุมทุกพื้นที่และมีความปลอดภัยจากภัยพิบัติอย่างยั่งยืน
การร่วมมือกันของเรือข่ายการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน ในจังหวัดอันดามันและจังหวัดนราธิวาส เพื่อนำไปการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อศึกษารายละเอียดโครงการภัยพิบัตภาคใต้ และสร้างการรับรู้ร่วมกันของโครงการจัดการภัยพิบัต เกิดคณะทำงานระดับจังหวัดที่มีความหลากหลาย -มีข้อมูลสถานการณ์ภัยพิบัติในพื้นที่ |
0.00 | |
2 | เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดเชิงเนื้อหา/ขอบเขตการประเมิน รวบรวมข้อมูลตามแผนงาน และจัดทำตัวชี้วัดตามเป้าหมายของการประเมินในกรอบของ สสส. เกิดชุดความรู้ในการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน |
0.00 | |
3 | เพื่อประเมินและติดตามการดำเนินโครงการตามกรอบการประเมิน และเป็นแนวทางการพัฒนาโครงการในระยะต่อไป มีระบบเครือข่ายชัดเจน -ระบบการดำเนินงาน และเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อไปในอนาคตได้ |
0.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 165 | 120,000.00 | 0 | 0.00 | |
1 - 2 ส.ค. 63 | ประชุมทบทวนรายละเอียดข้อเสนอโครงการ และกำหนดทิศทางในการจัดทำร่างตัวชี้วัดการประเมิน | 10 | 5,000.00 | - | ||
25 - 26 ก.ย. 63 | ประชุมพิจารณาร่างขอบเขตและตัวชี้วัดการประเมิน พร้อมทั้งปรับแก้ไขรายละเอียด และจัดทำเครืองมือตามตัวชีวัด | 10 | 5,000.00 | - | ||
3 ต.ค. 63 - 29 พ.ย. 63 | ลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินการดำเนินโครงการตามกรอบการประเมินอันดามัน | 45 | 25,000.00 | - | ||
5 - 28 ก.พ. 64 | ลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินการดำเนินโครงการตามกรอบการประเมินจังหวัดนราธิวาส | 15 | 15,000.00 | - | ||
6 - 28 ก.พ. 64 | ประชุมจัดทำร่างรายงานโครงการภัยพิบัตของจังหวัดในพื้นที่อันดามัน | 15 | 10,000.00 | - | ||
1 มี.ค. 64 - 31 พ.ค. 64 | นำเสนอร่างรายงานต่อผู้รับผิดชอบโครงการและผู้ที่เกี่ยวข้อง | 40 | 25,000.00 | - | ||
1 - 29 พ.ค. 64 | ประชุมจัดทำร่างรายงานโครงการภัยพิบัตของจังหวัดนราธิวาส | 10 | 15,000.00 | - | ||
1 มิ.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 | ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ พร้อมทั้งจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ | 20 | 20,000.00 | - |
1 เกิดการทำงานร่วมกันของเครือข่ายการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน ที่ประกอบด้วยภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน และเครือข่ายภาควิชาการ
2 เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาภัยพิบัติในอนาคต
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 มิ.ย. 2563 17:19 น.