สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

tweet เมื่อ 6 พ.ค. 2567
09.00-10.30 น. ติดตามความก้าวหน้าโครงการ แผนงาน โครงการ ปี 2566
แนะนำแหล่งข้อมูลมือ 2
แนวทางการจัดทำแผน ปี 2567
10.30-10.45 น. พัก/อาหารว่าง
10.45-12.00 น. การปฏิบัติการ จัดทำแผนปี 2567
(สถานการณ์ เป้าหมาย งบประมาณ )
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. การปฏิบัติการ จัดทำแผนปี 2567 (ต่อ)
สถานการณ์ เป้าหมาย งบประมาณ )
14.30-14.45 น. พัก/อาหารว่าง
15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน
ผลลัพท์: กองทุนเข้าร่วมกิจกรรม 2 กองุทน จำนวน 6 คน
ได้แผนสุขภาพกองทุน 2 กองทุน เทศบาลชะอวด /อบต.เกาะขันธ์
tweet เมื่อ 6 พ.ค. 2567
เวลา 09.00-10.30 น.ทบทวนการใช้เว็บกองทุน การพัฒนาแผนงาน/การพัฒนาโครงการ/การอนุมัติโครงการ/การติดตามโครงการ/การประเมินโครงการ
เวลา 10.45-12.00 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ
การลงรายงานกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อให้รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน กับใคร และทำอย่างไร การลงรายงานการเงินแยกตามหมวดรายจ่าย
การลงภาพประกอบกิจกรรม พร้อมคำบรรยายใต้ภาพสั้นๆ
การแนบไฟล์เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
เวลา 13.00-14.30 น.กระบวนการปฏิบัติการการประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการใน 6 มิติต่อไปนี้
ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
กระบวนการชุมชน
มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
เวลา 15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน โครงการที่ได้ใช้เรียนรู้ในการติดตามรายงานผล 1 โครงการ ได้แก่โครงการสุขภาพเด็ก 2-5 ปี ด้านภาวะโภชนาการและทันตะสุขภาพ ประจำปี 2566 กองทุนคลองทรายขาว

คณะวิทยากร: โดยคณะทำงานส่งเสริมและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช.เขต 12
นายสมนึก นุ่นด้วง
นางสาวธมล มงคลศิลป์
นายประเทือง อมรวิริยะชัย
นางสาวไพลิน ทิพย์สังข์
ผลลัพท์: เจ้าหน้าที่กองทุน(คณะทำงานระดับตำบล) 4 คน
ผู้รับผิดชอบโครงการกองทุนๆละ 3คน รวม 9 คน
โครงการที่ติดตามและนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน 1 โคงการ
tweet เมื่อ 6 พ.ค. 2567
เวลา 09.00-10.30 น.ทบทวนการใช้เว็บกองทุน การพัฒนาแผนงาน/การพัฒนาโครงการ/การอนุมัติโครงการ/การติดตามโครงการ/การประเมินโครงการ
เวลา 10.45-12.00 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ
การลงรายงานกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อให้รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน กับใคร และทำอย่างไร การลงรายงานการเงินแยกตามหมวดรายจ่าย
การลงภาพประกอบกิจกรรม พร้อมคำบรรยายใต้ภาพสั้นๆ
การแนบไฟล์เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
เวลา 13.00-14.30 น.กระบวนการปฏิบัติการการประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
กระบวนการชุมชน
มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
เวลา 15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน โครงการที่ได้ใช้เรียนรู้ในการติดตามรายงานผลได้แก่
1. โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2566 กองทุนลำสินธุ์
2. ปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กองทุนบ้านนา
3. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนร่มเมือง กองทุนอ่างทอง
4. พัฒนาศูนย์เรียนรู้การเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนอ่างทอง กองทุนอ่างทอง
5. ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยโรงเรียนบ้านโหล้ะหนุน กองทุนอ่างทอง
6. อบรมเชิงปฏิบัติการทีมควบคุมโรคติดต่อ กองทุนชุมพล
7. อบรมเชิงปฎิบัติการทีมเคลื่อนที่เร็วตำบลชุมพล กองทุนชุมพล
8. โครงการชุมชน /หมู่บ้านไอโอดีน ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านลำกะ กองทุนชุมพล

คณะวิทยากร: โดยคณะทำงานส่งเสริมและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช.เขต 12
นายสมนึก นุ่นด้วง
นางกชกานต์ คงชู
นางสาวไพลิน ทิพย์สังข์
นางสาวจิราภรณ์ บุญมาก
ผลลัพท์: เจ้าหน้าที่กองทุน(คณะทำงานระดับตำบล) 4 คน
ผู้รับผิดชอบโครงการ 11 คน
โครงการได้รับการติดตาม 8 โครงการ
tweet เมื่อ 6 พ.ค. 2567
เวลา 09.00-10.30 น.ทบทวนการใช้เว็บกองทุน การพัฒนาแผนงาน/การพัฒนาโครงการ/การอนุมัติโครงการ/การติดตามโครงการ/การประเมินโครงการ
เวลา 10.45-12.00 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ
การลงรายงานกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อให้รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน กับใคร และทำอย่างไร การลงรายงานการเงินแยกตามหมวดรายจ่าย
การลงภาพประกอบกิจกรรม พร้อมคำบรรยายใต้ภาพสั้นๆ
การแนบไฟล์เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
เวลา 13.00-14.30 น.กระบวนการปฏิบัติการการประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการใน 6 มิติต่อไปนี้
ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
กระบวนการชุมชน
มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

เวลา 15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน โครงการที่ได้ใช้เรียนรู้ในการติดตามรายงานผล 4 โครงการ

คณะวิทยากร: โดยคณะทำงานส่งเสริมและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช.เขต 12
นายสมนึก นุ่นด้วง
นายเสงี่ยม ศรีทวี
นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม
นางสาวไพลิน ทิพย์สังข์
ผลลัพท์: เจ้าหน้าที่ เข้าร่วม 4 คน
โครงการที่ได้ใช้เรียนรู้ในการติดตามรายงานผล 4 โครงการ
tweet เมื่อ 6 พ.ค. 2567
09.30-10.30 น ชี้วัตถุประสงค์การประชุมติดตามความก้าวหน้า และการทำแผนอำเภอ
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 น รายงานความก้าวหน้า ผลผลิต ผลลัพธ์การขับเคลื่อนโครงการ เป็นรายกองทุนโดยเจ้าหน้าที่/ผู้แทนกรรมการกองทุน
12.00-13.00 น รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น สรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ
14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-15.30 น วางแผนการดำเนินงานช่วงต่อไป
ผลลัพท์: 1. แผนงานกองทุนมีความสมบุรณ์เพิ่มขึ้น 3 กองทุน (2 กองทุนไม่เข้าร่วม)
2. ได้แผนการดำเนินงานครั้งต่อไป 7 กันยายน 2566 การทำแผนกองทุน ปี 2567
3. บทเรียนจากการทำงาน

ปัจจัยความสำเร็จ
1. เจ้าหน้าที่กองทุนเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนงาน สร้างความเข้าใจการใช้เว้บ การเก็บข้อมูล การทำแผนงานกองทุน
2. พี่เลี้ยงระดับเขตเป็นผู้ประสานงานหลักกับพื้นที่
3. มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน
4. ใช้ข้อมูลที่ได้จากแบบสำรวจ ร่วมกับข้อมูลจาก HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช

ข้อจำกัด
1. คณะทำงานผู้ประสานงานในพื้นที่ยังไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่
2. การเว้นช่วง ให้มีระยะหว่างของการจัดกิจกรรมทำให้เกิดแรงเสียดทาน
3. การนำใช้เว็บกองทุนไปใช้เป็นการทำงานซ้ำซ้อน เกิดแรงต้านจากคนทำงาน
tweet เมื่อ 6 พ.ค. 2567
09.00-09.30 น. รายงานความก้าวหน้าโครงการ และนำเสนอแผนอำเภอเมืองพัทลุง (พชอ.) โดย ผู้ประสานงานโครงการ
09.30-10.00 น. พัก/อาหารว่าง
10.45-12.00 น. แบ่งกลุ่มสรุปผลและถอดบทเรียน คณะวิทยากร
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.00 น. นำเสนอผลลัพธ์ ปัจจัยความสำเร็จ/อุปสรรค คณะวิทยากร
14.00-16.00 น ร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย คณะวิทยากร/วิชาการ
ผลลัพท์: 1. ทั้ง 10 กองทุน มีแผนงาน ประเด็นอาหารและโภชนาการ รองรับนโยบาย พชอ. เมือง 8 กองทุน
2. มีโครงการตามแผนงานอาหารปลอดภัย(แผนอำเภอ) จำนวน .22..โครงการ จากจำนวน..8....กองทุน งบประมาณ.....580,779 ....บาท
3. รพสต. เป้นกลไกสำคัญที่ร่วมขับเคลื่อนสู่เป้าหมาย มีโครงการ 8 โครงการ ตามด้วย อสม. จำนวน 5 โคงการ โรงเรียน 3 โครงการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 โครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2โครงการ และ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน 1 โครงการ
4. มีข้อเสนอเชิงนโยบาย..รายละเอียดตามเอกสาร (แนบไฟล์)
tweet เมื่อ 6 พ.ค. 2567
09.00-10.30 น. ทบทวนการใช้เวบกองทุน (การพัฒนาแผนงาน/การพัฒนาโครงการ/การอนุมัติโครงการ/การติดตามโครงการ/การประเมินโครงการ)โดยสมนึก นุ่นด้วง
10.30-10.45 น. พัก/อาหารว่าง
10.45-12.00 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ (การลงรายงานกิจกรรม/รายงานการเงิน/การลงภาพประกอบ/การแนบไฟล์เอกสาร)โดยไพลิน ทิพย์สังข์ (เสงี่ยม/สมนึก เป้นวิทยุกรกลุ่ม)
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. การประเมินคุณค่าโครงการ โดยเสงี่ยม ศรีทวี
14.30-14.45 น. พัก/อาหารว่าง
15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน วิทยากรทั้ง 3 คนร่วมคอมเม้นท์
ผลลัพท์: กองทุนเข้าร่วม 7 กองทุน
นำเสนอการลงรายงานการติดตาม 8 โครงการ
1.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำลูกประคบโดยเด็กพิเศษ กองทุน ควนมะพร้าว
2.โครงการโภชนการสำหรับเด็ก กองทุน ควนมะพร้าว
3.โครงการเพิ่้มการเรียนแบบ Active Learning กองทุนนาโหนด
4.โครงการการจัดการขยะเปียกด้วยถังรักษ์โลก กองทุนปรางหมุ่
5. โครงการอาหารปลอดภัย กองทุนนาท่อม
6. โครงการลดการใช้สารเคมี กองทุนโคกชะงาน
7. โครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้าง กองทุนท่ามิหรำ
8. โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายนผู้ก่อการดี กองทุนท่าแค
tweet เมื่อ 6 พ.ค. 2567
เวลา 9.30 น. นางจริยา จันทร์ดำ นายอำเภอศรีนครินทร์ (ประธานคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอศรีนครินทร์) เป็นประะานเปิดการประชุม มีผู้เข้าร่วมประชุม 27 คน
วาระที่ 1 รายงานการขับเคลื่อนงาน พชอ.ศรีนครินทร์ โดยเลขา พชอ. นายชลิต เกตุแสง สาธารณสุขอำเภอศรีนครินทร์ (เลขาฯ พชอ.) แจ้งบทบาทหน้าที่ และองค์ประกอบของ พชอ. ทั้งรายงานการประชุมครั้งที่แล้วที่ได้กำหนดยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาวะไว้ 2 ประเด็นได้แก่ ประเด็นอาหารและโภชนาการสมวัย และประเด็นกิจกรรมทางกาย
วาระที่ 3 รับรองรายงานการประชุมครั้งก่อน โดยเลขา พชอ.
วาระที่ 4 ติดตามมติที่ประชุมครั้งก่อน โดยเลขา พชอ.
วาระที่ 5 รายงานความก้าวหน้า ผลผลิต ผลลัพธ์การขับเคลื่อนโครงการ โดยคณะทำงานโครงการ
-คณะทำงานโครงการ รายงานภาพรวม 3 อำเภอ และผลงานตามยุทธศาสตร์ พชอ .ศรีนครินทร์
-คณะทำงานระดับตำบล รายงานความก้าวหน้าแผนงาน โครงการ 9 ประเด็น รายตำบล
- แผนอำเภอ วิธีการสร้างแผนอำเภอ การยืนยันข้อมูลสถานการณ์ และการกำหนดเป้าหมาย และสร้งาความเข้าใจแก่เลขา พชอ.เพื่อนำเสนอคณะกรรมการ พชอ. เพื่อยืนยันสถานการณื กำหนดเป้าหมาย กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ
- รายงานแผนงานโครงการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้ยุทธศาสตร์ พชอ.
1. พัฒนาชุมชนมีแผนงานการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ตามโครงการทางนี้มีผลผู้คนรักกัน ดำเนินการแล้ว 5 หมู่บ้าน และโครงการซอยนี้มีรักปลูกผักแบ่งปัน ดำเนินการแล้ว 5 หมู่บ้าน
2. อสม.ในเขตรับผิดชอบของ รพสต.บ้านลำกะ ตำบลชุมชน ดำเนินแผนงานอาหารปลอดภัย ตามโครงการอาหารปลอดภัย กิจกรรมตรวจสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสด 6 ชนิด ในร้านขายอาหารสด
3. แผนงานร่วมทุน สสส.และ อบจ.พัทลุง ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลลำสินธุ์ ตามกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินสำหรับผู้สูงวัย เพิ่มการกินผัก เน้นผักพื้นบ้าน ลดการกินเกลือและโซเดียม ผ่านโรงเรียนผู้สูงอายุ
4. แผนงานร่วมทุน สสส.และ อบจ.พัทลุง ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลตำบลบ้านนาตามกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินสำหรับผู้สูงวัย เพิ่มการกินผัก เน้นผักพื้นบ้าน ลดการกินเกลือและโซเดียม
5. แผนงานร่วมทุน สสส.และ อบจ.พัทลุง ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลตามกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายหลากหลายรูปแบบ

วาระที่ 6 นโยบายและบทเรียนจากโครงการ
6.1 นโยบาย
ข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1. ทุกกองทุนต้องสนับสนุนให้มีการพัฒนาแผนงานกองทุนในระบบเว็บกองทุนตำบล
2. ต้องสนับสนุนให้ผู้รับทุนพัฒนาโครงการที่เชื่อมโยงกับแผนงาน
ข้อเสนอเชิงนโยบายในการบูรณาการการดำเนินงานระหว่างกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (กองทุนศูนย์เรียนรู้)
1. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด นายอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ และท้องถิ่นอำเภอ ต้องสนับสนุน ผลักดันให้มีการบูรณาการการแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น กับนโยบายหรือยุทธศาสตร์ของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
6.2 บทเรียนจากโครงการ
จุดแข็ง/ ปัจจัยความสำเร็จของพื้นที่ในการดำเนินงาน
1. พี่เลี้ยงระดับจังหวัดได้รับการแบ่งงาน คนละ 1-2กองทุนให้รับผิดชอบตามความเหมาะสม การแบ่งงานวิทยากร การให้ร่วมเรียรู้ในทุกกิจกรรม
2. พี่เลี้ยงจังหวัด และพี่เลี้ยงตำบล ความรู้ความสามารถในการใช้และสอนงานการใช้เว็บเพื่อพัฒนางานกองทุน

ปัญหา/ อุปสรรคจากการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะ
1. ผู้ขอรับทุนยังไม่ได้รับการเรียนรู้ในการเขียนโครงการผ่านเว็บครอบคลุมทั้งชุมชน แก้ไขด้วยการเขียนโครงการในกระดาษส่งให้เจ้าหน้าที่กองทุนบันทึกเข้าเว็บ
2. ยังคงมีโครงการที่ไม่เชื่อมโยงกับแผน และไม่ใช้เป้าหมาย ตัวชี้วัดของแผน แต่รได้รับอนุมัติไปแล้ว แก้ไขโดยชี้ให้พี่เลี้ยงกองทุนเห็นความไม่สอดคล้อง /การกำหนดวัตถุประสงค์เอง ซึ่งถ้ามีความจำเป็นก็ต้องซ่อมแผนงานใหม่

วาระที่ 7 ผลผลิต/ผลลัพธ์ (ตามเอกสารแนบท้าย)

วารที่ 8 รายงานแผนการทำงานช่วงต่อไป และการพิจารณาสร้างการมีส่วนร่วมภายใต้ MOU
- 7 กรกฎาคม 2566 การติดตามโครงการประเมินผลผ่านเว็บกองทุกองทุนอำเภอกงหรา กองทุนอำเภอศรีนครินทร์ และ 5 กองทุนทั่วไปอำเภอควนขนุน เพื่อให้ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถบันทึกรายงาน และประเมินคุณค่าโครงการได้ เจ้าหน้าที่กองทุนสามารถเป็นพี่เลี้ยงสอนงานแก่ผู้รับทุนได้
- 8/09/2566 ประชุมติดตามประเมิน ให้คำปรึกษาปรับปรุงและผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ และรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 4 เพื่อการติดตามประเมินผล ให้คำปรึกษา ปรับปรุงและ ผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ รายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ.(กองทุนศูนย์เรียนรู้) คณะทำงานระดับจังหวัด
-10/10/2567 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ในระดับกองทุน ครั้งที่ 2 เพื่อกองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้มีมีโครงการ ที่ผ่านการพิจารณาและได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ รวม อย่างน้อย กองทุนละ 3 โครงการ
- 8/12/2566 ประชุมติดตามประเมิน ให้คำปรึกษาปรับปรุงและผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ และรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 5 เพื่อการติดตามประเมินผล ให้คำปรึกษา ปรับปรุงและผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ รายงานความก้าวหน้าคณะทำงานระดับจังหวัด
- มค.-กพ.2567 การเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ 9 ประเด็น (ครั้งที่2 ) เพื่อเก็บข้อมูลสถานการสุขภาพทั้ง 9 ประเด็น 3 ระดับ(ระดับบุคคล ระดับครัวเรือน และระดับชุมชน)
- 8/03/2567 ประชุมติดตามประเมิน ให้คำปรึกษา ปรับปรุงและผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ และรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 6 เพื่อการติดตามประเมินผล ให้คำปรึกษา ปรับปรุงและ ผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ รายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ. (กองทุนศูนย์เรียนรู้) คณะทำงานระดับจังหวัด
- 8/06/2567 ประชุมติดตามประเมิน ให้คำปรึกษา และรายงานความก้าวหน้า + ถอดบทเรียน ครั้งที่ 7 เพื่อการติดตามประเมินผล ให้คำปรึกษา ปรับปรุงและผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ รายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ. (กองทุนศูนย์เรียนรู้) และได้บทเรียนความสำเร็จคณะทำงานระดับจังหวัด

ปิดประชุมเวลา 15.30 น
ผลลัพท์: 1. เกิดแผนงาน 9 ประเด็น 13 กองทุน ร้อยละ 92.85 (1 กองทุน ขาดประเด็นขยะ/ได้ประสานงานให้ดำเนินการแล้ว)
2. เกิดโครงการผ่านเว็บ เน้นผลลัพธ์ 108 โครงการ งบประมาณ 2,091,567 บาท มีโครงการที่ตอบประเด็นยุทธศาสตร์ พอช. ประเด็น PA 42 โครงการ งบประมาณ 982,223 บาท ประเด็นอาหารและโภชนาการสมวัย 39 โครงการ งบประมาณ 629,250 บาท
3. เกิดกลไกพี่เลี้ยงที่มีความรู้ ความสามารถในการใช้และถ่ายทอดการบริหารจัดการกองทุนผ่านเว็บกองทุนตำบล (พัฒนาแผนงาน พัฒนาโครงการ) จำนวน 22 คน (ระดับจังหวัด 8 คน ระดับกองทุน 14 คน)

(รายละเอียดตามไฟล์ที่แนบ)
tweet เมื่อ 6 พ.ค. 2567
วาระที่ 1 สรรหาประธานในที่ประชุม นายเริ่ม เพชรศรี เป็นประะานการประชุม
วาระที่ 2 รายงานการขับเคลื่อนงาน พชอ.เมืองพัทลุง โดยเลขา พชอ.เมือง (ไม่มี)
วาระที่ 3 รับรองรายงานการประชุมครั้งก่อน โดยนายสมนึก นุ่นด้ว ที่ประชุมปรับแก้ชื่อผู้เข้าประชุม 2 ราย
วาระที่ 4 ติดตามมติที่ประชุมครั้งก่อน ที่ประชุมติดตามแผนอำเภอ ซึ่งคณะทำงานได้สร้างแผนอำเภอผ่านเว็บกองทุนประเด็นอาหารและโภชนาการสมวัย ส่วนการกำหนดเป้าหมายจะได้เสนอที่ประชุม พชอ. เป้นผู้กำหนดต่อไป
วาระที่ 5 รายงานความก้าวหน้าการขับเคลื่อนโครงการ โดยคณะทำงานโครงการ
-คณะทำงานปฏิบัติการ รายงานผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ 5 ขั้น ดังนี้
1. คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่กแองทุนมีศักยภาพในการบริหารงานกองทุน
2. ผู้รับทุน คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุน มีความรู้ เข้าใจ ตระหนักในเรื่องสุขภาพและแนวทางในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะ
3. ขับเคลื่อนงานด้วยแผนสุขภาพกองทุน
4. มีโครงการที่เชื่อมโยงกับแผนงาน และเป็นโครงการที่มีคุณภาพ
5. มีนโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาวะ
จากการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานโครงการ ขณะนี้เกิดความสำเร็จที่บันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 4
-คณะทำงานสื่อ งานการพัฒนานักสื่อวสารชุมชนตามโครงการ จะเร่งดำเนินการในเร็วๆนี้
-คณะทำงานวิชาการ การดำเนินงานเป็นไปตามแผน
-การสอบถามจากที่ประชุม
วารที่ 6 รายงานแผนการทำงานช่วงต่อไป และการพิจารณาสร้างการมีส่วนร่วม โดยคณะทำงานโครงการ
- การพัฒนาการติดตามและประเมินคุณค่าโครงการ จัดในกลางเดือนกรกฎาคม 2566
- การยกร่างนโยบายสาธารณะ จัดในปลายเดือนกรกฎาคม 2566
วาระที่ 7 เรื่องอื่นๆ จากผู้เข้าประชุม
- ค่าตอบแทนการเข้าประชุมของคณะทำงานสื่อให้เบิกจากผู้จัด
ผลลัพท์: 1. ผู้เข้าประชุมครบองค์ประชุม
2. การดำเนินงานเป้นไปตามแผน
3. ปัจจัยความสำเร้จ
3.1 บทบาทการนำของเลขากองทุน (การได้มาซึ่งข้อมุลทำแผนโดยใช้แหล่งข้อมูล HDC. / การจับมือทำโครงการ /การสอนการเขียนโครงการรายคน/ สร้างคนรุ่นใหม่เข้ามาขับเคลื่อนงานกองทุน)
3.2 การคืนข้อมูลของภาคีสุขภาพเพื่อเป็นข้อมุลต้นทุนการทำแผนสุขภาพกองทุน
3.3 การสร้างกลไกช่วยขับเคลื่อนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาวะ เช่นคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคตำบล..
tweet เมื่อ 6 พ.ค. 2567
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ครั้งที่ 1 ปี 2566


16 พฤษภาคม 2566
ณ ห้องประชุมองการบริหารส่วนตำบลชะมวง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม
คณะทำงานระดับจังหวัด 5 คน
คณะทำงานระดับกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน ) 5 คน
ผู้แทนกรรมการกองทุน/ภาคีผู้รับทุน 28 คน
รายละเอียดการจัดกิจกรรม
08.00-08.30 กลุ่มเป้าหมาย/คณะทำงานประชุมลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
08.30-10.30 ทำความเข้าใจการเชื่อมโยงโครงการกับแผนงานกองทุน โดยนายสมนึก นุ่นด้วง คณะททาน/วิทยากร
- สถานการณ์
- เป้าหมาย
- แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- โครงการที่ควรดำเนินการ
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ
- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา การกระจาย User ให้ผู้รับทุนและ การแบ่งปันโครงการให้ผู้รับทุนโดย Admin กองทุน
- การเขียนโครงการที่มาจากแผน ผู้รับทุนที่ได้รับแบ่งปันโครงการให้แล้ว เข้าสุ่ระบบเพื่อการพัฒนาโครงการตามแบบที่กำหนดในเมนูการพัฒนาโครงการ
- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ การอ้างอิงสถานการณ์และวัตถุปรงสงค์ จากแผน และหัวข้ออื่นๆ ตามรูปแบบการเขียนโครงการ โดยนางสาวธมล มงคลศิลป์ /นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม และนายเสงี่ยม ศรีทวี ร่วมเป็นคณะวิทยากรกระบวนการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- การออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ /การแจงรายละเอียดการเงิน/ผลผลิต ผลลัพธ์ โดยนายสมนึก นุ่นด้วงและคณะวิทยากร
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 สุ่มนำเสนอโครงการของกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน 2 โครงการ โดยคณะวิทยากร
ผลผลิต ผลลัพธ์
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 84.44
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 33 คน


18 พฤษภาคม 2566
ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชะรัด อ.กงหรา จ.พัทลุง
ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม
คณะทำงานระดับจังหวัด 4 คน
คณะทำงานระดับกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน ) 5 คน
ผู้แทนกรรมการกองทุน/ภาคีผู้รับทุน 22 คน( ร้อยละ 62.85)
รายละเอียดการจัดกิจกรรม
08.00-08.30 กลุ่มเป้าหมาย/คณะทำงานประชุมลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
08.30-10.30 ทำความเข้าใจการเชื่อมโยงโครงการกับแผนงานกองทุน โดยนายสมนึก นุ่นด้วง คณะทำงาน/วิทยากร
- สถานการณ์
- เป้าหมาย
- แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- โครงการที่ควรดำเนินการ
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ โดยนายประเทือง อมรวิริยะชัย/นางกชกานต์ คงชู และนายสมนึก นุ่นด้วง ร่วมเป็นคณะวิทยากรกระบวนการ
- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา การกระจาย User ให้ผู้รับทุนและ การแบ่งปันโครงการให้ผู้รับทุนโดย Admin กองทุน
- การเขียนโครงการที่มาจากแผน ผู้รับทุนที่ได้รับแบ่งปันโครงการให้แล้ว เข้าสู่ระบบเพื่อการพัฒนาโครงการตามแบบที่กำหนดในเมนูการพัฒนาโครงการ
- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ การอ้างอิงสถานการณ์และวัตถุปรงสงค์ จากแผน และหัวข้ออื่นๆ ตามรูปแบบการเขียนโครงการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- การออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ /การแจงรายละเอียดการเงิน/ผลผลิต ผลลัพธ์ โดยนายสมนึก นุ่นด้วงและคณะวิทยากร
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 สุ่มนำเสนอโครงการของกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน 2 โครงการ โดยคณะวิทยากร
ผลผลิต ผลลัพธ์
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 74.45
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 22 คน


19 พฤษภาคม 2566
ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอศรีนครินทร์ อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง
ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม
คณะทำงานระดับจังหวัด 4 คน
คณะทำงานระดับกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน ) 5 คน
ผู้แทนกรรมการกองทุน/ภาคีผู้รับทุน 21 คน
รายละเอียดการจัดกิจกรรม
08.00-08.30 กลุ่มเป้าหมาย/คณะทำงานประชุมลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
08.30-10.30 ทำความเข้าใจการเชื่อมโยงโครงการกับแผนงานกองทุน โดยนายสมนึก นุ่นด้วง คณะททาน/วิทยากร
- สถานการณ์
- เป้าหมาย
- แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- โครงการที่ควรดำเนินการ
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ โดยนายนายเสงี่ยม ศรีทวี /นางสาวจริภรณ์ บุญมาก และนางสาวไพลิน ทิพย์สังข์ ร่วมเป็นคณะวิทยากรกระบวนการ
- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา การกระจาย User ให้ผู้รับทุนและ การแบ่งปันโครงการให้ผู้รับทุนโดย Admin กองทุน
- การเขียนโครงการที่มาจากแผน ผู้รับทุนที่ได้รับแบ่งปันโครงการให้แล้ว เข้าสู่ระบบเพื่อการพัฒนาโครงการตามแบบที่กำหนดในเมนูการพัฒนาโครงการ
- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ การอ้างอิงสถานการณ์และวัตถุปรงสงค์ จากแผน และหัวข้ออื่นๆ ตามรูปแบบการเขียนโครงการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- การออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ /การแจงรายละเอียดการเงิน/ผลผลิต ผลลัพธ์ โดยนายสมนึก นุ่นด้วงและคณะวิทยากร
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 สุ่มนำเสนอโครงการของกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน 2 โครงการ โดยคณะวิทยากร
ผลผลิต ผลลัพธ์
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 84.23
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 21 คน
ผลลัพท์: ผลผลิต ผลลัพธ์ ครั้งที่ 1
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 84.44
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 33 คน

ผลผลิต ผลลัพธ์ ครั้งที่ 2
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 74.45
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 22 คน

ผลผลิต ผลลัพธ์ ครั้งที่ 3
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 84.23
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 31 คน