สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

tweet เมื่อ 19 พ.ค. 2567
วันที่ 24 เมษายน
08.00-08.30 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
08.30-10.00 ติดตามความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการ /และการอนุมัติงบประมาณ
10.30-12.00 ทบทวนแผนรายประเด็น และกระบวนการจัดท าแผนรายประเด็นโดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย เพื่อให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ /เป้าหมาย/โครงการที่ควรท า และงบประมาณ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่กองทุนและผู้แทนกรรมการกองทุน เพื่อการเขียนโครงการผ่านเว็บ โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย
14.45-16.00 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่กองทุนและผู้แทนกรรมการกองทุน เพื่อการเขียนโครงการผ่านเว็บ โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย

วันที่ 25 เมษายน
09.00-12.00 กระบวนการปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ ภาคีสุขภาพ ผู้ขอรับทุน(อสม./ครู รร. /ผู้น าชุมชน /ครู สพด./สพค./กพส./รพสต./ ฯลฯ) เพื่อการเขียนโครงการผ่านเว็บกองทุน โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.30 กระบวนการปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีสุขภาพ ผู้ขอรับทุน(อสม./ครู รร. /ผู้น าชุมชน /ครู สพด./สพค./กพส./รพสต./ ฯลฯ) เพื่อการเขียนโครงการผ่านเว็บกองทุน โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย
15.30-16.30 AAR โดยคณะทำงาน
ผลลัพท์: 1. เจ้าหน้าที่กองทุนมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาแผนงาน และโครงการ
2. เจ้าหน้าที่กองทุน 2 คน(นางสาวเพ็ญนภา หนูฤทธิ์ กองทุน ทม.เมือง และนายมนตรี จันทร์น้อย กองทุน อบต.ควนมะพร้าว) สามารถสอนการพัฒนาแผนงาน และโครงการได้
3. ผู้แทนกรรมการกองทุน 1 คน (นางสาววัชรกร โพธิ์พฤกษ์ กองทุน ทม.เมือง) สามารถสอนการพัฒนาแผนงาน และโครงการได้
4. ทุกกองทุนมีแผนงาน และโครงการในเว็บไซต์
5. ทุกกองทุนมีโครงการที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ พชอ.
tweet เมื่อ 19 พ.ค. 2567
วันที่ 19 เมษายน 2566
08.00-08.30 ลงทะเบียน
08.30-10.30 ชี้แจงวัตถุประสงค์การยกระดับการพัฒนาในประเด็นต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนี้
1. บูรณาการการทำงานร่วมกันในระดับพื้นที่ตำบลและระดับอำเภอ เนื่องจาก พชอ. และ พชต. จะเป็นกลไกสำคัญในเครือข่ายและในระบบสุขภาพชุมชน เพื่อการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง
2. พัฒนาและขยายประเด็นให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์สุขภาพที่สำคัญในปัจจุบันตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของ สสส. 9 ประเด็น ได้แก่ ยาสูบ สุรา สิ่งเสพติด อาหาร กิจกรรมทางกาย ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต มลพิษจากสิ่งแวดล้อม และปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่
3. พัฒนากองทุนที่มีศักยภาพ ควรยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับกองทุนในพื้นที่ใกล้เคียงการพัฒนาศักยภาพกองทุน ด้วยกระบวนการพัฒนาความรู้เรื่องการจัดการปัญหาสุขภาพ การพัฒนาแผนงาน/โครงการ โดย สมนึก
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 กระบวนการตรวจสอบข้อมูลและจัดทำแผนรายประเด็นทุกกองทุนโดยมีการนำเสนอทบทวนรายตัวชี้วัดทั้ง 9 ประเด็น และมีพี่เลี้ยงระดับจังหวัดที่มอบหมายเป็นผู้ช่วยเหลือการทำแผน สมนึก/สุภาพร คณะวิทยากรกระบวนการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 กระบวนการตรวจสอบข้อมูลและจัดทำแผนรายประเด็นทุกกองทุนโดยมีการนำเสนอทบทวนรายตัวชี้วัดทั้ง 9 ประเด็น และมีพี่เลี้ยงระดับจังหวัดที่มอบหมายเป็นผู้ช่วยเหลือการทำแผน สมนึก/สุภาพร คณะวิทยากรกระบวนการ
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 กระบวนการตรวจสอบข้อมูลและจัดทำแผนรายประเด็นทุกกองทุนโดยมีการนำเสนอทบทวนรายตัวชี้วัดทั้ง 9 ประเด็น และมีพี่เลี้ยงระดับจังหวัดที่มอบหมายเป็นผู้ช่วยเหลือการทำแผน สมนึก/สุภาพร คณะวิทยากรกระบวนการ

วันที่ 20 เมษายน 2566
09.00-10.30 กระบวนการตรวจสอบข้อมูลและจัดทำแผนรายประเด็นทุกกองทุนโดยมีการนำเสนอทบทวนรายตัวชี้วัดทั้ง 9 ประเด็น และมีพี่เลี้ยงระดับจังหวัดที่มอบหมายเป็นผู้ช่วยเหลือการทำแผน สมนึก/สุภาพร คณะวิทยากรกระบวนการ
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานระดับกองทุน ให้สามารถเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ผ่านเว็บกองทุน และถ่ายทอดการเขียนโครงการแก่ผู้ระบทุนได้ สมนึก/เสงี่ยม คณะวิทยากรกระบวนการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 แบ่งกลุ่มเพื่อเรียนรู้และนำเสนอการออกแบบกิจกรรมโครงการเน้นผลลัพธ์ สมนึก/เสงี่ยม คณะวิทยากรกระบวนการ
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 บันทึกกิจกรรมโครงการ งบประมาณ ผลผลิตผลลัพธ์
ผลลัพท์: 1. ได้ข้อมูลสถาการณ์สุขภาพชุมชนที่ผ่านการตรวจสอบ/ปรับปรุงทั้ง 9 ประเด็นครอบคลุมทั้ง 14 กองทุน คุณภาพข้อมูลพร้อมใช้ทำแผนกองทุน
2. ได้แผนกองทุนครบถ้วนทั้ง 9 แผนงาน
3. คณะทำงาน(พี่เลี้ยง)ระดับกองทุนสามารถเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ ตามสภาพปัญหารายประเด็น กองทุนละ 1 โครงการ (ต้นแบบเพื่อการเรียนรู้และนำไปดำเนินการได้จริง)
4. คณะทำงาน(พี่เลี้ยง)ระดับกองทุนรู้จัก และเข้าถึงแหล่งข้อมูลจาก HDC ON Cloud สสจ.พัทลุง และสามารถค้นหาข้อมูลได้
5. คณะทำงานระดับกองทุน(นางสาวสุภาพร คงพันธ์ / เจ้าหน้าที่กองุทนชะรัด) สามารถยกระดับขึ้นเป็นวิทยากร นำกระบวนการทบทวนข้อมูลและแผนงานได้
6. คณะทำงาน(พี่เลี้ยง)ระดับกองทุนสามารถเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ ตามสภาพปัญหารายประเด็น
tweet เมื่อ 19 พ.ค. 2567
วันที่ 10 เมษายน 2566
08.00-08.30 ลงทะเบียน โดยคณะทำงาน
08.30-10.30 สร้างความเข้าใจการเข้าถึงข้อมูล 3 ระดับ โดยคณะวิทยากร
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง โดยคณะทำงาน
10.45-12.00 ตรวจปรับปรุงข้อมูลทั้ง 3 ระดับ โดยมีคณะทำงาน/วิทยากรผู้ช่วยประจำกลุ่ม โดยคณะวิทยากร
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน โดยคณะทำงาน
13.00-14.30 ตรวจปรับปรุงข้อมูลทั้ง 3 ระดับ โดยมีคณะทำงาน/วิทยากรผู้ช่วยประจำกลุ่ม โดยคณะวิทยากร
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง โดยคณะทำงาน
14.45-16.00 ตรวจปรับปรุงข้อมูลทั้ง 3 ระดับ โดยมีคณะทำงาน/วิทยากรผู้ช่วยประจำกลุ่ม โดยคณะวิทยากร
วันที่ 11 เมษายน 2566
08.00-08.30 ลงทะเบียน คณะทำงาน
08.30-10.30 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผนรายประเด็น โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรประจำกลุ่ม คณะวิทยากร
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผนรายประเด็น โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรประจำกลุ่ม คณะวิทยากร
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผนรายประเด็น โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรประจำกลุ่ม คณะวิทยากร
14.30-14.15 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผนรายประเด็น โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรประจำกลุ่มถาม-ตอบ ของผู้เข้าร่วมประชุม และ AAR ของคณะทำงาน คณะวิทยากร
ผลลัพท์: 1. ได้ข้อมูลสถาการณ์สุขภาพชุมชนที่ผ่านการตรวจสอบ/ปรับปรุงทั้ง 9 ประเด็นครอบคลุมทั้ง 5 กองทุน คุณภาพข้อมูลพร้อมใช้ทำแผนกองทุน
2. ได้แผนกองทุนครบถ้วนทั้ง 9 ประเด็น 4 กองทุน (ชะอวด/วังอ่าง/เขาพระทอง/ขอนหาด) (อบต.เกาะขันไม่ได้เข้าร่วมในวันที่ 11)
tweet เมื่อ 19 พ.ค. 2567
ผู้เข้าประชุมลงทะเบียนเข้าประชุมจำนวน 16 คน นายสมนึก นุ่นด้วง ผู้ประสานงานหลัก ได้ดำเนินการประชุมตามวาระดังต่อไปนี้

วาระที่ 1 รายการแจ้งเพื่อทราบ
การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่กองทุนทั้ง 14 กองทุนตามโครงการฯ โดยที่สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะได้มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานระดับตำบล(พี่เลี้ยงกองทุน) ให้ครอบคลุม และจะได้มีการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง ให้เป็นกลไกระดับตำบลในการส่งเสริมการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพโดยใช้แผนงาน /โครงการ และเว็บกองทุนตำบลภาคใต้เป้นเครื่องมือ
การจัดเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพเพื่อการทำแผนกองทุน จังหวัดพัทลุงเป็นจังหวัดที่จัดเก็บข้อมูลได้เสร็จตามเกณฑ์เป็นจังหวัดแรกของทุกเขต ซึ่งบริหารจัดการการเก็บข้อมูลโดยเจ้าหน้าที่กองทุน(พี่เลี้ยงระดับตำบล)ได้ข้อมูลครัวเรือนไม่น้อยกว่า 200 ข้อมูลบุคคลไม่น้อยกว่า200 และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
การลงนามข้อตกลงความร่วมมือของ พอช.กงหรา และ พชอ. ศรีนครินทร์ ได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว จึงได้มอบแบบบันทึกการลงนามให้กับเจ้าหน้าที่ทุกกองทุน สสอ.ท้องถิ่นอำเภอ และนายอำเภอ มอบหมายเจ้าหน้าที่กองทุนกงหราเป็นผู้นำส่ง ส่วนของอำเภอศรีนครินทร์ มอบผู้ประสานงานระดับอำเภอ จิราพร บุญมาก เป็นผู้นำส่ง

วาระที่ 2 รายงานความก้าวหน้าโครงการ
2.1 ความก้าวหน้าตามบันไดผลลัพธ์โครงการ ขณะนี้ยังอยู่ที่บันไดขันที่ 1 กล่าวคือ มีกลไกร่วม พชอ.+กองทุนตำบล ตาม MoU พชอ. ศรีนครินทร์มีการกำหนดประเด็นกิจกรรมทางกายเป็นประเด็นร่วม ในขณะที่ พชอ. กงหรายังไม่ได้มีการประชุม พอช. จึงยังไม่มีประเด็นร่วมขับเคลื่อน
แต่ทั้ง 14 กองทุนได้มีการเก็บข้อมูลเพื่อการทำแผนเสร็จครบตามจำนวน ซึงวันนี้จะได้มีการแนะนำสร้างความเข้าใจการตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล
2.2 ความก้าวหน้าของการบริหารกองทุน

วาระที่ 3 ตรวจสอบข้อมูล 9 ประเด็น 3 ระดับ รายกองทุน และการนำใช้ข้อมูลเพื่อจัดทำแผน
ปลัดธมล มงคลศิลป์ พี่เลี้ยงระดับจังหวัด ชี้แจงสร้างความเข้าใจการเข้าถึงข้อมูลแบบสอบถามของทุกกองทุนซึ่งสามารถเช็คได้จาก 2 ที่ดังนี้ค่ะ (รายละเอียดข้อมูลที่เข้าถึงได้ตามใบแนบ)
1. https://localfund.happynetwork.org/qt/issue/area?debug=yes (เช็คได้เฉพาะข้อมูลชุมชน)
2. https://localfund.happynetwork.org/fund/345/eval (ค้นหากองทุนตนเอง ไปที่หน้ารายงานเช็คได้ทุกตัวชี้วัด
การเข้าถึงข้อมูลตัวชี้วัด (เลือกกองทุนของฉัน >ตาราง 9 ช่อง >เลือกชุดโครงการ>เลือกโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน (13 เขต) ปี 2565> เลือกตรวจสอบข้อมูลสุขภาพ> เลือกตามลำดับ

วาระที่ 4 อื่นๆ
พี่เลี้ยงกองทุนทบทวนเรียนรู้การใช้เว็บกองทุนตำบลภาคใต้ทุกเมนุโดยปลัดธมล มงคลศิลป์

หมายเหตุ รายละเอียดตามสรุปรายงานการประชุม แนบไฟล์
ผลลัพท์: คณะทำงานเข้าประชุม 16 คน ขาดประชุม 6 คน
ผู้เข้าประชุมได้รับรุ้ความก้าวหน้าโครงการ
และกำหนดวันจัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏฺบัติการทำแผนกองทุน ในวันที่ 19 เมษายน 2566 ณ รร.ชัยคณาธานี
tweet เมื่อ 19 พ.ค. 2567
09.00-10.30 น ทบทวนความก้าวหน้าการดำเนินงานตามโครงการ และพัฒนาโครงการเน้นผลัพธ์ 1 (หลักการ/วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรม/งบประมาณและการประเมินผล) โดยวิทยากรกระบวนการ
10.30-10.45 น พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 น พัฒนาโครงการเน้นผลัพธ์ 2 (แบ่งกลุ่ม ออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์) วิทยากรกระบวนการ/วิทยากรกลุ่ม
12.00-13.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 น นำเสนอกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ วิทยากรกระบวนการ
14.30-14.45 น พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 น บันทึกกิจกรรม/ ผลผลิต ผลลัพธ์/ งบประมาณ วิทยากรกระบวนการ
ผลลัพท์: ผู้เข้าร่วมประชุม 30 คน(เจ้าหน้าที่กองทุน 7 คน /ผู้รับทุน 16 คน/ผู้แทนกองทุน 1 คน/ทีมวิชาการ 2 คน)
ได้โครงการตามยุทธศาสตร์อำเภอ(ลดอ้วน ลดหวาน) 8 โครงการ/กองทุน
tweet เมื่อ 19 พ.ค. 2567
การเก็บข้อมูลสถานการณ์ชุมชน 9 ประเด็น 3 ระดับ ตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม -15 กุมภาพันธุ์ 2566 เริ่มเก็บวันที่ 15/01/66 ดังนี้
1. ข้อมูลชุมชน 1 ชุดให้คณะทำงานกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน)รับผิดชอบ.
2. ข้อมูลครัวเรือน 200 ชุดให้กระจายทุกหมู่บ้านในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน
3. ข้อมูลบุคคลบ้านละ 1-2 คน จะได้ข้อมูลบุคคล 200-400 คน ทำต่อเนื่องจากข้อมูลครัวเรือน
4. ใน 1 ชุดข้อมูล จะประกอบด้วยข้อมูลครัวเรือน 5 คำถาม และข้อมูลบุคคล 24 คำถาม
5. จ่ายเป็นค่าตอบแทนคณะทำงาน กองทุนละ 2400 บาท
ผลลัพท์: ลำดับ กองทุน ชุมชน ครัวเรือน บุคคล
1 วังอ่าง 1 200 205
2 เกาะขันธ์ 1 200 319
3 ขอนหาด 1 208 207
4 เขาพระทอง 1 400 402
5 ชะอวด 1 202 223
tweet เมื่อ 19 พ.ค. 2567
คณะทำงานกองทุนตำบล ดำเนินการจัดเก็บข้อมุลสถานการณ์สุขภาพ
การเก็บข้อมูลสถานการณ์ชุมชน 9 ประเด็น 3 ระดับ (ตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม -15 กุมภาพันธุ์ 2566) เริ่มเก็บวันที่ 15/01/66 ดังนี้
1. ข้อมูลชุมชน 1 ชุดให้คณะทำงานกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน)รับผิดชอบ.
2. ข้อมูลครัวเรือน 200 ชุดให้กระจายทุกหมู่บ้านในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน
3. ข้อมูลบุคคลบ้านละ 1-2 คน จะได้ข้อมูลบุคคล 200-400 คน ทำต่อเนื่องจากข้อมูลครัวเรือน
4. ใน 1 ชุดข้อมูล จะประกอบด้วยข้อมูลครัวเรือน 5 คำถาม และข้อมูลบุคคล 24 คำถาม
พัทลุงและ จ่ายเป็นค่าตอบแทนคณะทำงาน กองทุนละ 2400 บาท
ผลลัพท์: ลำดับ กองทุนหลักประกันสุขภาพ ชุมชน ครอบครัว บุคคล
1 เทศบาลตำบลชุมพล 1 214 217
2 เทศบาลตำบลอ่างทอง 1 200 225
3 เทศบาลตำบลลำสินธุ์ 1 204 208
4 เทศบาลตำบลบ้านนา 1 208 259
5 เทศบาลตำบลกงกรา 1 214 302
6 เทศบาลตำบลสมหวัง 1 215 429
7 เทศบาลตำบลชะรัด 1 240 460
8 เทศบาลตำบลคลองทรายขาว 1 212 201
9 อบต.คลองเฉลิม 1 203 225
10 เทศบาลตำบลแพรกหา 1 221 316
11 เทศบาลตำบลบ้านสวน 1 210 352
12 เทศบาลตำบลนาขยาด 1 201 202
13 อบต.ชะมวง 1 211 401
14 อบต.พนมวังก์ 1 218 240
tweet เมื่อ 19 พ.ค. 2567
0830-09.00 น -ลงทะเบียน
09.00-09.30 น. - ที่ประชุมพร้อม
-นำเสนอสื่อการสร้างเสริมสุขภาพประเด็นกิจกรรมทางกาย กองทุนต้นแบบ
-ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร ชี้แจงระละเอียดโครงการ
-พิธีลงนาม(เฉพาะของอำเภอศรีนครินทร์)
9.30 -10.30 น. -ชี้แจงรายละเอียดโครงการ ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร (ผอ.สนส.ม.อ.)
10.30-10.45 น. -รับประทานอาหารว่างในห้องประชุม จท.โรงแรม
10.45 -11.00 น -คณะทำงานประเทือง อมรวิริยะชัย รายงานความเป็นมาของโครงการ
11.00-11.30 น. -ทิศทางและความเชื่อมโยงการสร้างเสริมสุขภาพ ระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล โดยนายแพทย์อภิญญา เพชรศรี แพทยเชี่ยวชาญ(เวชกรรมป้องกัน) ผู้แทนนายแพทย์
สาธารณสุขจังหวัด
11.30-12.00 น. -พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ กองทุน+พชอ+สนส+ปสชส โดยมีประธานผู้แทนนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เป็นประธาน
-นายสุวรรณี ยาชะรัด นายกเทษมนตรีเทศบาลตำบลชะรัด เป็นผู้แทนผู้บริหารท้องถิ่นอ่านบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
12.00-13.00 น. -รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-13.30 น. -นำเสนอสื่อการสร้างเสริมสุขภาพประเด็นการจัดการขยะ กองทุนต้นแบบ (กองทุนตำบลชะรัด)
13.30-14.30 น. -ชวนคิดชวนคุย มุมมองการพัฒนากลไกระดับตำบล ระดับอำเภอ กับการสร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วม โดยนายสมนึก นุ่นด้วงและนายสุวรรณลี ยาชะรัด
14.30-14.45 น. -รับประทานอาหารว่างในห้องประชุม
14.15-15.00 น -สรุปอภิปราย/ขอบคุณ/และปิดการประชุม/
ผลลัพท์: 1. พชอ.และผู้บริหารท้องถิ่นได้รู้ เข้าใจและร่วมขับเคลื่อนโครงการตามแผน
2. พชอ.และผู้บริหารท้องถิ่น ได้ร่วมลงนามพร้อมกับภาคีสนับสนุน(สปสช เขตและ สนส มอ.) เพื่อร่วมขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกระดับตำบล และ ระดับอำเภอ
3. ได้บันทึกข้อตกลงความร่วมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
4. ภาคีสุขภาพอื่นที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ร่วมรับรู้การขับเคลื่อนโครงการในพื้นที่ อำเภอศูนย์เรียนรู้การพัฒนากลไก
tweet เมื่อ 19 พ.ค. 2567
เวลา 13.00 น มีผู้ลงทะเบียนเข้าประชุม 22 คน ที่ประชุมมีมติให้นายเอิบ ชูสง เป็นประธานการประชุม ดำเนินการประชุมตามวาระต่อไปนี้
วาระที่ 1 รายงานความก้าวหน้าของ พชอ. (ไม่มี)
วาระที่ 2 รายงานความก้าวหน้าโครงการฯโดยคณะทำงาน
ทีมปฏิบัติการ
จากการประชุมคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองพัทลุง
1 ได้กลไกร่วมขับเคลื่อน 3 ฝ่าย (กลไกด้านปฏิบัติการ 4 คน /กลไกด้านสื่อ 3 คน /กลไกด้านวิชาการ 3 คน)
2. ได้สร้างความเข้าใจโครงการกับ คณะทำงาน พชอ.11 คน พชต. 17 คน สื่อ 3 คน วิชการ 3 คน และกลุ่มอื่นๆ 4 คน รวม 38 คน
3. ได้พื้นที่กองทุนเป้าหมายจำนวน 10 กองทุน
4. ได้บันไดผลลัพธ์โครงการ (กิจกรรมสู่ผลลัพธ์ /ผลลัพธ์ /ตัวชี้วัดผลลัพธ์) ที่ประชุมรับรอง ตามภาพ
5. ได้กลไก ที่ร่วมขับเคลื่อน/ติดตาม ประเมิน จากคณะทำงาน พชอ. จำนวน 10 คน (1).สาธารณสุขอำเภอ 2).ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบงานยุทธศาสตร์ 3). พัฒนาการอำเภอ 4). เกษตรอำเภอ 5). นายเอิบ ชูสงค์ ผู้แทนชมรมผู้สูงอายุ 6). นายเริ่ม เพชรศรี ผู้แทนภาคประชาชน(คลังสมองจังหวัดพัทลุง) 7). นางอารสา เหล่าเจริญสุข นักวิชาสาธารณสุข สสจ.พัทลุง 8). นางศจีรัตน์ หลีวิจิตร เภสัชกร จาก รพ พัทลุง 9).ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดโพธาวาส 10). ผู้อำนวยการโรงเรียนท่าสำเภาเหนือ)
6. ได้ประเด็นขับเคลื่อนเป็นนโยบาย พชอ. 1).ประเด็นอาหารปลอดภัย 2).ปัญหาสุขภาพจากขยะและสิ่งแวดล้อม 3).ประเด็นประชากรกลุ่มเปราะบาง

ทีมสื่อสาร
ทีมสื่อได้เสนอแนวทางการดำเนินงานสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อน ด้วยการผลิตงานสื่อสารเชิงลึก ด้วยการติดตามการขับเคลื่อนงานพื้นที่รูปธรรมของกองทุนแบบก้าวหน้ากองทุนตำบลนาท่อม เปรียบเทียบกับกองทุนช่วงเรีบยรู้ (กองทุนตำบลนาโหนด) และหาแนวทางก่รสานพลังโดยกลไก พชอ และจะอบรมสื่อท้องถิ่นให้มากกว่าที่เขาทำได้ และที่ทำเป็นอยู่แล้วเพื่อช่วยสานพลังอีกช่องทางหนึ่ง

ทีมวิชาการ
ให้ความเห็นถึงความล่าช้าของโครงการ อันจะมีผลต่องบประมาณกองทุนที่จะถูกจ่ายออกไปให้กับโครงการที่ขอมาก่อนแล้ว เสนอให้เร่งดำเนินการทำแผนและพัฒนาโครงการ เพื่อจะได้มโครงการสนองยุทธศาสตร์ร่วมระดับ พชอ. ซึ่งอาจทำเป้นโครงการต้นแบบในประเด็นร่วม แล้วนำไปปรับใช้กับทุกพื้นที่
วาระที่ 3 การสร้างและพัฒนาแผนอำเภอผ่านเว็บ
เว็บกองทุนยังไม่พร้อมใช้งานในการสร้างแผนอำเภอ (ได้ประสานงานกับ สนส. แล้วแต่ไม่สำเร็จ) ผลการวิเคราะห์ด้วยตาราง xls. (รายละเอียดตามภาพแนบแล้ว) จากสถานการ/เป้าหมาย และประกอบกับโครงการที่มีความถี่สูงสุด 8/10 กองทุน ที่ประชุมจึงเห็นชอบให้ทำโครงการลดหวาน /ลดอ้วน ในทุกพื้นที่
วาระที่ 4. พิจารณากำหนด/โครงการ/ประเด็นนำด้านอาหารปลอดภัย
ที่ประชุมจึงเห็นชอบให้ทำโครงการลดหวาน /ลดอ้วน ในทุกพื้นที่
วาระที่ 5 เสนอแผนการดำเนินงานในระยะต่อไป
เดือนกุมภาพันธ์ 2566
ต้นเดือนพัฒนาแผน(ต่ออีก 2 แผนงาน)
กลางเดือนลงนามความร่วมมือ พชอ.กับกองทุน MoU
ปลายเดือน พัฒนาโครงการ
วาระอื่นๆ .. AAR
ปัญหาผู้แทน พชอ. เข้าร่วมในอัตราที่ต่ำ 40% ทั้งที่ส่งหนังสือเชิญครบ ทั้งยังมีการติดตามแจ้งเตือนในกลุ่มไลน์ แนวทางแก้ไขให้ขอหนังสือเชิญจากนายอำเภอ

ปิดประชุม เวลา 15.00 น
ผลลัพท์: 1. ได้โครงการลดหวาน/ลดอ้วน ที่ต้องขับเคลื่อนทุกพื้นที่
2. ได้พื้นที่ปฏิิบัติการเข้มข้นเปรียบเทียบกับพื้นที่กองทุนต้นแบบ(นาโหนด กับนาท่อม)
3. ได้แนวทางแก้ปัญหาความล่าช้าโดยการทำโครงการต้นแบบ ใช้กับทุกพื้นที่
4. ได้การขับเคลื่อนกิจกรรมอาหารปลอดภัยจาก Function ของหน่วยงานใน พชอ.(พช. และ สสจ)
tweet เมื่อ 19 พ.ค. 2567
เวลา 09.00 น กลุ่มเป้าหมายที่เป็นคณะทำงานระดับจังหวัด ร่วมประชุมออนไลน์
กลุ่มเป้าหมาที่เป็นคณะทำงานระดับกองทุน และผู้เก็บข้อมูล ให้รวมกันที่กองทุนภายใต้การอำนวยความสะดวกของคณะทำงานระดับกองทุน จากภาพออนไล์จะเป้นการเรียนรู้ผ่านจอโปรเจคเตอร์ โดยมีการลงทะเบียนการประชุมไว้เป้นหลักฐานอีกส่วนหนึ่ง
เวลา 12.00-13.00 น พักกลางวัน 1 ชั่วโมง
เวลา 13.00- 15.00 น เรียนรู้การเก็บข้อมูลเช่นเดียวกับช่วงเช้า
ผลลัพท์: 1. คณะทำงาน เข้าประชุม 5คน (ชะอวด 0คน/เกาะขันธ์ 1คน /ขอนหาด 1คน เเขาพระทอง 1 คน /วังอ่าง 2 คน
2. ผู้เก็บข้อมูล 5ตำบล เข้าร่วมประชุม 20 คน(ชะอวด 5คน/เกาะขันธ์ 5คน /ขอนหาด 5คน เเขาพระทอง 4 คน /วังอ่าง 1 คน)
3. กำหนดการเก็บข้อมูล( ตามภาพ)