สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (เทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (เทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ภายใต้โครงการ แผนงานโซนใต้กลาง
ภายใต้องค์กร สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2559 - 28 กุมภาพันธ์ 2560
แหล่งทุน
ไม่ระบุ
งบประมาณ 80,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายคำพร เกตุแก้ว
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ 1.นางสาววรรณา สุวรรณชาตรี 2.นางสาวพีรยา จินดามณี 3.นายวรวิชญ์ กฐินหอม
พื้นที่ดำเนินการ เทศบาลตำบลจันดี
ละติจูด-ลองจิจูด 8.3976583111207,99.573211669922place
stars
2. พื้นที่เป้าหมาย
จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
นครศรีธรรมราช place directions
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2559 30 พ.ย. 2559 1 ก.ย. 2559 31 มี.ค. 2560 36,000.00
2 1 ธ.ค. 2559 30 เม.ย. 2560 1 เม.ย. 2560 30 มิ.ย. 2560 40,000.00
3 1 พ.ค. 2560 30 มิ.ย. 2560 4,000.00
รวมงบประมาณ 80,000.00
stars
4. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
7. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดการข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร โดยการทำข้อมูลพื้นฐานหรือ Mapping แหล่งผลิตอาหารแต่ละประเภทในเทศบาลตำบลจันดี
  1. มีสถานการณ์ของอาหารแต่ละประเภท เช่น พื้นที่การผลิต วัตถุประสงค์การผลิต (เพื่อบริโภคหรือเพื่อจำหน่าย หรือทั้งบริโภคและจำหน่าย รูปแบบการผลิตแบบแินทรีย์ เคมี หรือผสมผสาน)
  2. มีกลุ่มเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต จำหน่าย และบริโภค ระบบตลาดภายใน หรือการตลาดภายนอกชุมชน ของอาหารแต่ละประเภท
  3. มีระบบการกระจายผลผลิตของอาหารแต่ละประเภท
  4. หน่วยงานที่มีหน้าที่ให้การสนับสนุน หรือขับเคลื่อน การดำเนินงานแต่ละประเภทอาหาร
2 เพื่อการจัดทำข้อมูล สถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย และข้อมูลด้านภาวะโภชนาการ
  1. เกิดกลไก ระบบเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร
  2. มีข้อมูลโภชนาการดังต่อไปนี้
    • กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
    • กลุ่มเด็ก 0-3 ปี
    • กลุ่มเด็ก 3-5 ปี
    • กลุ่มเด็ก 6-14 ปี
    • กลุ่มผู้สูงอายุ
3 เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยในเด็กเล็ก

เกิดแผนยุทธศาสตร์ท้องถิ่นใน 3 ประเด็น คือ ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย บรรจุเข้าแผนท้องถิ่น นำไปสู่การปฏิบัติการในระยะต่อไป

stars
8. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
9. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
11. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ส.ค. 2559 09:51 น.