แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช ”
องค์การบริหารส่วนตำบลนางหลง
หัวหน้าโครงการ
นายนิคม พงศาปาน
ชื่อโครงการ ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช
ที่อยู่ องค์การบริหารส่วนตำบลนางหลง จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 59-ข-047
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลนางหลง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช
บทคัดย่อ
โครงการ " ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลนางหลง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2559 - 28 กุมภาพันธ์ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 6165 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- การจัดทำข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร
- การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่1
วันที่ 8 กันยายน 2559 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจงเพื่อให้กรรมการทราบถึงที่มาโครงการ ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ และแบ่งบทบาทการทำงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกิดการวางแผนการทำงานของโครงการและคณะทำงานต่อไป
15
15
2. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงาน ร่วมกันออกแบบ แบบสอบถามการสำรวจข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร ด้าน การปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ข้าว ยางพารา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้แบบสอบถามสำหรับใช้ในการสำรวจเรื่องความมั่นคงทางอาหาร จะทำให้ทราบถึงปริมาณการผลิต ผลผลิต และที่ตั้งของแต่ชนิด
15
15
3. ประชุมคณะทำงา่น ครั้งที่ 3
วันที่ 27 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 ร่วมกันวางแผนการสำรวจข้อมูล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการในโครงการได้วางแผนแบ่งพื้นที่ในการสำรวจข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร โดยจะเก็บข้อมูลใน ม.1 ม.7 ม.3 ม.2 ม.5 และ ม.6 โดยจะทำการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 59
15
15
4. ประชุมคณะทำงา่น ครั้งที่ 4
วันที่ 29 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการและผู้จัดเก้บข้อมูล ทำความเข้าใจต่อแบบสอบถามและซักซ้อมการถามก่อนลงไปสำรวจข้อมูล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการและผู้จัดเก็บข้อมูล เกิดความรู้และมีความมั่นใจก่อนลงพื้นที่สำรวจข้อมูลจริง
15
15
5. ประชุมคณะทำงาน และผู้จัดเก็บข้อมูล
วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการ และผู้จัดเก็บข้อมูล วางแผนเตรียมลงพื้นที่เก็บข้อมูล จำนวน 5 หมู่บ้าน ในตำบลนางหลง ช่วงเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 60
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อตกลงร่วมกันให้ผู้จัดเก็บรวมรวมและส่งแบบภายในวันที่10พ.ย และให้ถ่ายภาพบ้านที่ลงสำรวจว่าทำกิจกรรมอะไรบ้าง
25
18
6. เก็บข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหาร
วันที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คณะกรรมการโครงการแบ่งทีมและโซนในการจัดเก็บข้อมูล โดยแยกเก็บรายหมู่บ้าน ให้ผู้จัดเก็บคัดเลือกครัวเรือนที่มีการทำเกษตร ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ โดยใช้แบบสอบถามจำนวน 600 ชุด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อมูลความมั่นคงทางอาหารจำนวน 502 ชุด ใน 5 หมู่บ้านของตำบลนางหลง ทำให้สามารถทราบจำนวนการทำการเกษตรแต่ละชนิด และทราบข้อมูลการผลิต ผลผลิต ของแต่ละครัวเรือน
614
614
7. คีย์ข้อมูลแบบสอบถาม
วันที่ 12 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นำแบบสอบถามจำนวน 502 ชุด มาคีย์ข้อมูลลงในโปรแกรม excel เพื่อประมวลผล และส่งข้อมูลให้ สจรส.ม.อ.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ข้อมูลจากแบบสอบถามประมวลผลในเรื่อง การทำเกษตร การทำนาอินทรีย์ นาเคมี ค่าใช้จ่าย และรายได้จากผลผลิตทางการเกษตร และส่งข้อมูลให้ทาง สจรส.ม.อ.นำไปวิเคราะห์จัดทำเป็นแผนที่ความมั่นคงทางอาหาร
614
614
8. บริหารจัดการโครงการ
วันที่ 11 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- บันทึกรายงานกิจกรรมในเว็บไซต์ทุกครั้งที่มีการทำกิจกรรม
- สรุปและจัดทำเอกสารการเงิน
- ประสานงานผู้เข้าร่วมประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีการรายงานกิจกรรมในเว็บไซต์ทุกครั้ง และไม่มีรายงานล่าช้า
- เอกสารการเงินถูกต้อง ผ่านการตรวจสอบจากผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่ สจรส.ม.อ.
- มีผู้เข้าร่วมประชุมร้อยละ 80 ทุกกิจกรรม
2
1
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
การจัดทำข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร
ตัวชี้วัด : เกิดข้อมูลสถานกาณ์ข้าวปศุสัตว์ อาหารทะเลพืชผักผลไม้
2
การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เกิดกลไกราะบบการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายนิคม พงศาปาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช ”
องค์การบริหารส่วนตำบลนางหลงหัวหน้าโครงการ
นายนิคม พงศาปาน
ชื่อโครงการ ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช
ที่อยู่ องค์การบริหารส่วนตำบลนางหลง จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 59-ข-047
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลนางหลง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช
บทคัดย่อ
โครงการ " ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลนางหลง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2559 - 28 กุมภาพันธ์ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 6165 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- การจัดทำข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร
- การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่1 |
||
วันที่ 8 กันยายน 2559 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจงเพื่อให้กรรมการทราบถึงที่มาโครงการ ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ และแบ่งบทบาทการทำงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกิดการวางแผนการทำงานของโครงการและคณะทำงานต่อไป
|
15 | 15 |
2. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงาน ร่วมกันออกแบบ แบบสอบถามการสำรวจข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร ด้าน การปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ข้าว ยางพารา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 15 |
3. ประชุมคณะทำงา่น ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 27 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 ร่วมกันวางแผนการสำรวจข้อมูล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการในโครงการได้วางแผนแบ่งพื้นที่ในการสำรวจข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร โดยจะเก็บข้อมูลใน ม.1 ม.7 ม.3 ม.2 ม.5 และ ม.6 โดยจะทำการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 59
|
15 | 15 |
4. ประชุมคณะทำงา่น ครั้งที่ 4 |
||
วันที่ 29 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการและผู้จัดเก้บข้อมูล ทำความเข้าใจต่อแบบสอบถามและซักซ้อมการถามก่อนลงไปสำรวจข้อมูล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการและผู้จัดเก็บข้อมูล เกิดความรู้และมีความมั่นใจก่อนลงพื้นที่สำรวจข้อมูลจริง
|
15 | 15 |
5. ประชุมคณะทำงาน และผู้จัดเก็บข้อมูล |
||
วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการ และผู้จัดเก็บข้อมูล วางแผนเตรียมลงพื้นที่เก็บข้อมูล จำนวน 5 หมู่บ้าน ในตำบลนางหลง ช่วงเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 60 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อตกลงร่วมกันให้ผู้จัดเก็บรวมรวมและส่งแบบภายในวันที่10พ.ย และให้ถ่ายภาพบ้านที่ลงสำรวจว่าทำกิจกรรมอะไรบ้าง
|
25 | 18 |
6. เก็บข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหาร |
||
วันที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคณะกรรมการโครงการแบ่งทีมและโซนในการจัดเก็บข้อมูล โดยแยกเก็บรายหมู่บ้าน ให้ผู้จัดเก็บคัดเลือกครัวเรือนที่มีการทำเกษตร ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ โดยใช้แบบสอบถามจำนวน 600 ชุด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อมูลความมั่นคงทางอาหารจำนวน 502 ชุด ใน 5 หมู่บ้านของตำบลนางหลง ทำให้สามารถทราบจำนวนการทำการเกษตรแต่ละชนิด และทราบข้อมูลการผลิต ผลผลิต ของแต่ละครัวเรือน
|
614 | 614 |
7. คีย์ข้อมูลแบบสอบถาม |
||
วันที่ 12 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนำแบบสอบถามจำนวน 502 ชุด มาคีย์ข้อมูลลงในโปรแกรม excel เพื่อประมวลผล และส่งข้อมูลให้ สจรส.ม.อ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นข้อมูลจากแบบสอบถามประมวลผลในเรื่อง การทำเกษตร การทำนาอินทรีย์ นาเคมี ค่าใช้จ่าย และรายได้จากผลผลิตทางการเกษตร และส่งข้อมูลให้ทาง สจรส.ม.อ.นำไปวิเคราะห์จัดทำเป็นแผนที่ความมั่นคงทางอาหาร
|
614 | 614 |
8. บริหารจัดการโครงการ |
||
วันที่ 11 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
2 | 1 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | การจัดทำข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร ตัวชี้วัด : เกิดข้อมูลสถานกาณ์ข้าวปศุสัตว์ อาหารทะเลพืชผักผลไม้ |
||||
2 | การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านโภชนาการ ตัวชี้วัด : เกิดกลไกราะบบการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ตำบลบูรณาการอาหารตำบลนางหลง นครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายนิคม พงศาปาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......