สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน
ภายใต้โครงการ แผนงานโซนใต้อันดามัน
ภายใต้องค์กร สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2562 - 31 มีนาคม 2562
งบประมาณ 150,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ อาจารย์มาฆฤกษ์ ชูช่วย
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ภาคใต้ฝั่งอันดามัน (จังหวัดระนอง, จังหวัดพังงา, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดกระบี่, จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล)
ละติจูด-ลองจิจูด 7.683347,99.271876place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ม.ค. 2562 31 ม.ค. 2562 1 ม.ค. 2562 31 ก.ค. 2562 50,000.00
2 1 ก.พ. 2562 28 ก.พ. 2562 90,000.00
3 1 มี.ค. 2562 31 มี.ค. 2562 10,000.00
รวมงบประมาณ 150,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน

เชิงปริมาณ
ชุมชนการท่องเที่ยวในภูมิภาค ทั้งรูปแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เน้นอัติลักษณ์เชิงนิเวศ เชิงวัฒนธรรม และเชิงอาหาร ชุมชนการท่องเที่ยวฝั่งอันดามัน เชิงคุณภาพ เกิดข้อเสนอแนะความต้องการของการจำทำหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน และเกิดประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะได้อย่างมีประสิทธิผลจริง

2 ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน

เชิงปริมาณ
ชุมชนการท่องเที่ยวในภูมิภาค ทั้งรูปแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เน้นอัติลักษณ์เชิงนิเวศ เชิงวัฒนธรรม และเชิงอาหาร ชุมชนการท่องเที่ยวฝั่งอันดามัน เชิงคุณภาพ เกิดข้อเสนอแนะความต้องการของการจำทำหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน และเกิดประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะได้อย่างมีประสิทธิผลจริง

3 ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนชุมชน สังคมและภูมิภาค

เชิงปริมาณ
ชุมชนการท่องเที่ยวในภูมิภาค ทั้งรูปแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เน้นอัติลักษณ์เชิงนิเวศ เชิงวัฒนธรรม และเชิงอาหาร ชุมชนการท่องเที่ยวฝั่งอันดามัน เชิงคุณภาพ เกิดข้อเสนอแนะความต้องการของการจำทำหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน และเกิดประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะได้อย่างมีประสิทธิผลจริง

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 เม.ย. 2562 09:53 น.