แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ”
อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง
หัวหน้าโครงการ
ชุติมา รอดเนียม
ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
ที่อยู่ อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ 61-ข-031 เลขที่ข้อตกลง 61-ข-031
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
บทคัดย่อ
โครงการ " การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง รหัสโครงการ 61-ข-031 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 165,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดนครศรีธรรมราชมีความโดดเด่นในกระบวนการป้องกันภัยคุกคามความมั่นคงทางอาหารในภูมินิเวศน์ชายฝั่งทะเล โดยใช้พระราชกำหนดการประมงบังคับใช้ พ.ศ. 2558และ การทำประมงผิดกฎหมาย (Illegal Unreported and Un-regulated Fishing: IUU) แต่โครงสร้างการเจริญเติบโตภาคเกษตรกรรมและแหล่งผลิตอาหารมีแนวโน้มลดลง พื้นที่นาลดลง จำนวนแรงงานภาคเกษตรลดลง พื้นที่สวนยางสวนปาล์มเพิ่ม มีการทำเกษตรเชิงพาณิชย์และเกษตรพันธะสัญญาเป็นส่วนใหญ่ ความหลากหลายทางชีวภาพน้อยลง และได้รับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง เช่น ปัญหาน้ำท่วม ปัญหาภัยแล้ง เป็นต้นข้อมูลการใช้พื้นที่ทำการเกษตรของนครศรีธรรมราช เนื้อที่ทั้งหมด 2,896,204 ไร่ แบ่งเป็นนาข้าว 383,816 ไร่ พื้นที่สวนไม้ผล 2,179,043 ไร่ พื้นที่สวนผัก ไม้ประดับ 27,038 ไร่ และ พื้นที่ใช้ประโยชน์ทางเกษตรอื่น ๆ 306,307 ไร่ และพบว่า สถานการณ์การทำข้าวนาปี ของปี 2558 มีเนื้อที่เพาะปลูก 291,665 ไร่ ลดลงจาก 323,407 ไร่ ในปี 2556 คิดเป็น 9.81 % สถานการณ์การผลิตปาล์มน้ำมัน ปี 2558 เนื้อที่ให้ผล 351,370 ไร่ เพิ่มจาก 326,626 ไร่ในปี 2556 คิดเป็น 7.04 % และ สถานการณ์การผลิตยางพารายืนต้น ปี 2558 เนื้อที่ 1,847,711 ไร่ ลดลงจาก 1,848,296 ไร่ ในปี 2556 คิดเป็น 0.03 % (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2558)
อย่างไรก็ตามหลายพื้นที่ในจังหวัดนครศรีธรรมราชได้ให้ความสนใจด้านความมั่นคงทางอาหาร ทั้งนี้การดำเนินงานขึ้นอยู่กับสภาพบริบทแต่ละพื้นที่ และกิจกรรมที่แตกต่างกัน จึงต้องมีการจัดระบบการวางแผนงานและขับเคลื่อนนโยบายเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับชุมชน ระดับอำเภอ และระดับจังหวัด ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงตระหนักถึงความสำคัญของการขับเคลื่อนแผนงานระบบอาหารอย่างมีส่วนร่วม โดยใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เพื่อวิเคราะห์นโยบายที่ก่อให้เกิดผลกระทบที่มีศักยภาพทั้งเชิงบวก และเชิงลบต่อสุขภาพของประชาชน และนำไปสู่การวางแผนงานเชิงนโยบาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประเมินสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดนครศรีธรรมราช
- เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร
- เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านความมั่นคงทางอาหาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมเพื่อชี้แจงการรายงานผลกิจกรรมของโครงการและการจัดทำรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ
วันที่ 19 มิถุนายน 2561 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
10.00-11.00 น. วิทยากรจากทีม สจรส. ม.อ. แนะนำเวปไซต์ศูนย์วิชาการการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.) http://hsmi2.psu.ac.th/scac/และการใช้คู่มือปฏิบัติการของระบบออนไลน์
11.00-12.00 น. นักวิจัยสมัครสมาชิกและเข้าระบบข้อมูล โดยผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน ทั้ง 3 โครงการ
13.00-14.00 น. นักวิจัยลงบันทึกข้อมูล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เกิดความรู้ ความเข้าใจในการลงบันทึกข้อมูลและหลักการบริหารจัดการโครงการ
- สามารถบันทึกข้อมูลกิจกรรมของโครงการในระบบ
10
10
2. 1. ยื่นเอกสารประกอบการขอพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วันที่ 27 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมเตรียมเอกสารโครงการร่วมกับคณะทำงาน
- ยื่นเอกสารประกอบการขอพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โครงการวิจัยผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
4
5
3. การทบทวนวรรณกรรมและจัดเตรียมโครงร่างการวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพHIA
วันที่ 11 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงาน ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง เรื่อง การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ HIA และ สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้เอกสารและข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช
8
8
4. ค่าธรรมเนียมบริหารจัดการมหาวิทยาลัย
วันที่ 17 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จ่ายค่าธรรมเนียมบริหารจัดการมหาวิทยาลัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มหาวิทยาลัยได้รับเงินเป็นที่เรียบร้อย
4
4
5. การพัฒนาเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาเครื่องมือ ตัวชี้วัดสำหรับเก็บข้อมูลการประเมิน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้เครื่องมือการเก็บข้อมูล สำหรับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และจะส่งให้ผุ้ทรงคุณวุฒิได้ให้ข้อเสนอแนะก่อนเก้บข้อมูล
8
8
6. การประเมินยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช
วันที่ 13 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เวทีการประเมินยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารในระดับองค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช วันจันทร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.2562 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ โรงแรมทวินโลตัส อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช มีกำหนดการ
- 12.30 – 13.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมเวที
- 13.00 – 13.30 น. กล่าวต้อนรับ ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดเวทีประเมินยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารในระดับองค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ อาจารย์ชุติมา รอดเนียม สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- 13.30 – 15.00 น. แบ่งกลุ่มตามพื้นที่ให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะตามแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 ตำบล ได้แก่ อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี
- 15.00 – 16.00 น. นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และข้อเสนอแนะต่อแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร
- 16.00 – 16.30 น. สรุปการผลการประเมินเวที
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ผลการประเมินแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหารทั้ง 4 ตำบล พร้อมข้อเสนอแผนงานโครงการที่จะนำเข้าในเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชนระดับจังหวัดในวันที่ 4 มิถุนายน 62 ณ ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช
39
39
7. ถอดทบเรียนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช
วันที่ 21 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
4
4
8. การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ โดยการจัดการระบบความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน จ.นครศรีธรรมราช
วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมกลุ่มย่อยผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาครัฐ ท้องถิ่น 4 แห่ง และผู้ดำเนินโครงการชุมชนน่าอยู่
- สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับผิดชอบงานความมั่นคงทางอาหาร
- รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดทำร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหารในระดับจังหวัด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เก็บข้อมูลเพิ่มเติมในประเด็นความมันคงทางอาหาร เพื่อนำข้อมูลที่ได้ประมวลเป็นข้อมูลนำเสนอในเวทีระดับจังหวัด ในวันที่ 4 มิ.ย.62
26
26
9. ประชุมคณะทำงานยุทธศาสตร์อาหาร จ.นครศรีธรรมราช
วันที่ 4 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กำหนดการประชุมคณะทำงานยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช วันอังคารที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๒ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการ ชั้น ๔ ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
- ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
- ๐๙.๐๐ - ๐๙.๒๐ น. เปิดการประชุม ทิศทางการทำงานยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช โดย นายวิรัตน์ รักษ์พันธ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
- ๐๙.๒๐ - ๐๙.๕๐ น. นำเสนอภาพรวมผลการจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช โดย นายแพทย์จรัสพงษ์ สุขกรี นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช
- ๐๙.๕๐ - ๑๐.๓๐ น. นำเสนอผลการประเมินยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 4 พื้นที่ คือ อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.ไสหร้า และเทศบาลจันดี อ.ฉวาง โดย สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และ ผู้แทนจาก 4 ตำบล
- ๑๐.๓๐ - ๑๒.๐๐ น. ระดมความเห็นแนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช โดย คณะทำงานยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช และ ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี
- ๑๒.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. สรุปและปิดการประชุม โดย ฝ่ายเลขานุการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อเสนอต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ดังนี้
๑. ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร จัดทำ Mapping ข้อมูลแหล่งอาหารที่เพียงพอในภาวะปกติและช่วงวิกฤต แบ่งออกเป็นพื้นที่ทางทะเล พื้นที่นา พื้นที่สวน ข้าว
๒. ยุทธศาสตร์อาหารปลอดภัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช จะรับทำในยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านอาหารปลอดภัย ในงาน ดังนี้
- เก็บข้อมูลเกี่ยวกับอาหารที่ปนเปื้อนในตลาด
- ทำเรื่องตลาดปลอดภัยร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเริ่มด้วยการใช้งบกองทุนสุขภาพตำบล
- การตรวจสอบสารตกค้างในพืชผักผลไม้แหล่งตลาดหัวอิฐ ต้องบูรณาการทั้งชุมชน รพ.สต. สร้างจุดแข็งด้านการบูรณาการให้ทุกคนมีสุขภาพดี ทางหอการค้ายินดีจะผลักดันโครงการนี้
๓. สปสช.มีงบกองทุนตำบลที่เหลือและสามารถนำมาทำเรื่องระบบอาหารใน ๓ ประเด็นได้
๔. ข้อเสนอแนะต่อภาคประชาสังคมต่อการใช้งบกองทุนตำบล คือ การสื่อสารของคณะกรรมการกองทุนกับภาคประชาชนในพื้นที่ยังไม่เข้าใจตรงกัน โครงการกองทุนตำบลส่วนใหญ่จะเน้นเรื่องสุขภาพเป็นหลัก จึงมีข้อเสนอต่อท้องถิ่นจังหวัดหาวิธีการสร้างการสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน
๕. ใช้กลไกสมัชชาสุขภาพและธรรมนูญสุขภาพขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อาหารทั้ง ๓ ประเด็น โดยคณะกรรมการชุดอำนวยการจะนำร่องขับเคลื่อนทั้ง ๒๖ อำเภอ
๖. การแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ มีกลไก คือ
- ระดับตำบล ใช้งบกองทุนตำบล พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการเพื่อขอใช้งบกองทุนตำบล
- ระดับอำเภอ ดำเนินงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
- สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนำเรื่องยุทธศาสตร์ระบบอาหารเข้าสู่แผนระดับจังหวัด
49
49
10. การนำเสนอข้อมูลถอดบทเรียน การทำHIA Forum
วันที่ 25 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดเวทีทบทวน เวทีคืนข้อมูล โดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และชุมชน เพื่อให้ข้อเสนอแนะต่อร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้สรุปและสังเคราะห์ข้อมูลการจัดเวทีที่ผ่านมา มีการรวบรวมข้อมูล และเตรียมการจัดทำรายงาน
8
8
11. รายงานการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการจัดการระบบความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช
วันที่ 30 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้รายงานผลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช ส่งให้ สจรส.ม.อ.
4
4
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อประเมินสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดนครศรีธรรมราช
ตัวชี้วัด : 1. เกิดการจัดการข้อมูลด้านแผนงาน ยุทธศาสตร์ โครงการ กิจกรรมของหน่วยงานที่ดำเนินงานด้านความมั่นคงทางอาหาร
2. เกิดการจัดการข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทั้ง 4 พื้นที่
3. เกิดเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพต่อความมั่นคงทางอาหาร ใน 3 ระดับ คือ ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และชุมชน
2
เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. เกิดตัวชี้วัดที่ระบุถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารใน 4 ด้าน คือ การมีอาหารพอเพียง การเข้าถืงอาหาร การมีเสถียรภาพ และการนำไปใช้ประโยชน์
3
เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านความมั่นคงทางอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. เกิดการแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการประเด็นความมั่นคงทางอาหาร
2. เกิดการทำงานเชิงประเด็นความมั่นคงทางอาหาร ใน 3 ระดับ คือ ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และชุมชน
3. เกิดรูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารประเด็นความมั่นคงทางอาหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ 61-ข-031
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชุติมา รอดเนียม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ”
อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวางหัวหน้าโครงการ
ชุติมา รอดเนียม
ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
ที่อยู่ อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ 61-ข-031 เลขที่ข้อตกลง 61-ข-031
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
บทคัดย่อ
โครงการ " การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง รหัสโครงการ 61-ข-031 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 165,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดนครศรีธรรมราชมีความโดดเด่นในกระบวนการป้องกันภัยคุกคามความมั่นคงทางอาหารในภูมินิเวศน์ชายฝั่งทะเล โดยใช้พระราชกำหนดการประมงบังคับใช้ พ.ศ. 2558และ การทำประมงผิดกฎหมาย (Illegal Unreported and Un-regulated Fishing: IUU) แต่โครงสร้างการเจริญเติบโตภาคเกษตรกรรมและแหล่งผลิตอาหารมีแนวโน้มลดลง พื้นที่นาลดลง จำนวนแรงงานภาคเกษตรลดลง พื้นที่สวนยางสวนปาล์มเพิ่ม มีการทำเกษตรเชิงพาณิชย์และเกษตรพันธะสัญญาเป็นส่วนใหญ่ ความหลากหลายทางชีวภาพน้อยลง และได้รับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง เช่น ปัญหาน้ำท่วม ปัญหาภัยแล้ง เป็นต้นข้อมูลการใช้พื้นที่ทำการเกษตรของนครศรีธรรมราช เนื้อที่ทั้งหมด 2,896,204 ไร่ แบ่งเป็นนาข้าว 383,816 ไร่ พื้นที่สวนไม้ผล 2,179,043 ไร่ พื้นที่สวนผัก ไม้ประดับ 27,038 ไร่ และ พื้นที่ใช้ประโยชน์ทางเกษตรอื่น ๆ 306,307 ไร่ และพบว่า สถานการณ์การทำข้าวนาปี ของปี 2558 มีเนื้อที่เพาะปลูก 291,665 ไร่ ลดลงจาก 323,407 ไร่ ในปี 2556 คิดเป็น 9.81 % สถานการณ์การผลิตปาล์มน้ำมัน ปี 2558 เนื้อที่ให้ผล 351,370 ไร่ เพิ่มจาก 326,626 ไร่ในปี 2556 คิดเป็น 7.04 % และ สถานการณ์การผลิตยางพารายืนต้น ปี 2558 เนื้อที่ 1,847,711 ไร่ ลดลงจาก 1,848,296 ไร่ ในปี 2556 คิดเป็น 0.03 % (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2558)
อย่างไรก็ตามหลายพื้นที่ในจังหวัดนครศรีธรรมราชได้ให้ความสนใจด้านความมั่นคงทางอาหาร ทั้งนี้การดำเนินงานขึ้นอยู่กับสภาพบริบทแต่ละพื้นที่ และกิจกรรมที่แตกต่างกัน จึงต้องมีการจัดระบบการวางแผนงานและขับเคลื่อนนโยบายเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับชุมชน ระดับอำเภอ และระดับจังหวัด ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงตระหนักถึงความสำคัญของการขับเคลื่อนแผนงานระบบอาหารอย่างมีส่วนร่วม โดยใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เพื่อวิเคราะห์นโยบายที่ก่อให้เกิดผลกระทบที่มีศักยภาพทั้งเชิงบวก และเชิงลบต่อสุขภาพของประชาชน และนำไปสู่การวางแผนงานเชิงนโยบาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประเมินสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดนครศรีธรรมราช
- เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร
- เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านความมั่นคงทางอาหาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมเพื่อชี้แจงการรายงานผลกิจกรรมของโครงการและการจัดทำรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ |
||
วันที่ 19 มิถุนายน 2561 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ10.00-11.00 น. วิทยากรจากทีม สจรส. ม.อ. แนะนำเวปไซต์ศูนย์วิชาการการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.) http://hsmi2.psu.ac.th/scac/และการใช้คู่มือปฏิบัติการของระบบออนไลน์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 10 |
2. 1. ยื่นเอกสารประกอบการขอพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
||
วันที่ 27 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโครงการวิจัยผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
|
4 | 5 |
3. การทบทวนวรรณกรรมและจัดเตรียมโครงร่างการวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพHIA |
||
วันที่ 11 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงาน ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง เรื่อง การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ HIA และ สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
8 | 8 |
4. ค่าธรรมเนียมบริหารจัดการมหาวิทยาลัย |
||
วันที่ 17 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจ่ายค่าธรรมเนียมบริหารจัดการมหาวิทยาลัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมหาวิทยาลัยได้รับเงินเป็นที่เรียบร้อย
|
4 | 4 |
5. การพัฒนาเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
8 | 8 |
6. การประเมินยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช |
||
วันที่ 13 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเวทีการประเมินยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารในระดับองค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช วันจันทร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.2562 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ โรงแรมทวินโลตัส อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช มีกำหนดการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
39 | 39 |
7. ถอดทบเรียนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช |
||
วันที่ 21 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
4 | 4 |
8. การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ โดยการจัดการระบบความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน จ.นครศรีธรรมราช |
||
วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเก็บข้อมูลเพิ่มเติมในประเด็นความมันคงทางอาหาร เพื่อนำข้อมูลที่ได้ประมวลเป็นข้อมูลนำเสนอในเวทีระดับจังหวัด ในวันที่ 4 มิ.ย.62
|
26 | 26 |
9. ประชุมคณะทำงานยุทธศาสตร์อาหาร จ.นครศรีธรรมราช |
||
วันที่ 4 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกำหนดการประชุมคณะทำงานยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช วันอังคารที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๒ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการ ชั้น ๔ ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อเสนอต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ดังนี้ ๑. ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร จัดทำ Mapping ข้อมูลแหล่งอาหารที่เพียงพอในภาวะปกติและช่วงวิกฤต แบ่งออกเป็นพื้นที่ทางทะเล พื้นที่นา พื้นที่สวน ข้าว
๒. ยุทธศาสตร์อาหารปลอดภัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช จะรับทำในยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านอาหารปลอดภัย ในงาน ดังนี้
- เก็บข้อมูลเกี่ยวกับอาหารที่ปนเปื้อนในตลาด
- ทำเรื่องตลาดปลอดภัยร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเริ่มด้วยการใช้งบกองทุนสุขภาพตำบล
|
49 | 49 |
10. การนำเสนอข้อมูลถอดบทเรียน การทำHIA Forum |
||
วันที่ 25 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
8 | 8 |
11. รายงานการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการจัดการระบบความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
4 | 4 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อประเมินสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดนครศรีธรรมราช ตัวชี้วัด : 1. เกิดการจัดการข้อมูลด้านแผนงาน ยุทธศาสตร์ โครงการ กิจกรรมของหน่วยงานที่ดำเนินงานด้านความมั่นคงทางอาหาร 2. เกิดการจัดการข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทั้ง 4 พื้นที่ 3. เกิดเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพต่อความมั่นคงทางอาหาร ใน 3 ระดับ คือ ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และชุมชน |
||||
2 | เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร ตัวชี้วัด : 1. เกิดตัวชี้วัดที่ระบุถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารใน 4 ด้าน คือ การมีอาหารพอเพียง การเข้าถืงอาหาร การมีเสถียรภาพ และการนำไปใช้ประโยชน์ |
||||
3 | เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านความมั่นคงทางอาหาร ตัวชี้วัด : 1. เกิดการแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการประเด็นความมั่นคงทางอาหาร 2. เกิดการทำงานเชิงประเด็นความมั่นคงทางอาหาร ใน 3 ระดับ คือ ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และชุมชน 3. เกิดรูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารประเด็นความมั่นคงทางอาหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ 61-ข-031
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชุติมา รอดเนียม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......