สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม รพ.รือเสาะ จ.นราธิวาส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม รพ.รือเสาะ จ.นราธิวาส ”

ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ ,เครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ,โรงพยาบาลรือเสาะอำเภอรือเสาะ

หัวหน้าโครงการ
นางนูรฮายาตี นิมะซา,นางฮานานี เจ๊ะอุบง,นายมะสะแรดี เจ๊ะและ

ชื่อโครงการ ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม รพ.รือเสาะ จ.นราธิวาส

ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ ,เครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ,โรงพยาบาลรือเสาะอำเภอรือเสาะ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ - เลขที่ข้อตกลง -

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม รพ.รือเสาะ จ.นราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ ,เครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ,โรงพยาบาลรือเสาะอำเภอรือเสาะ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม รพ.รือเสาะ จ.นราธิวาส



บทคัดย่อ

โครงการ " ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม รพ.รือเสาะ จ.นราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ ,เครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ,โรงพยาบาลรือเสาะอำเภอรือเสาะ รหัสโครงการ - ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 179,920.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1421 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทยระดับชาติ ระบุไว้ว่า สถานการณ์ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีระดับความรุนแรงในประเทศยากจน รวมถึงประเทศที่มีรายได้ต่ำถึงปานกลางสูงถึงร้อยละ 80 ของการตายทั้งหมด สะท้อนภาพกลับมาที่ประเทศไทย ก็พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยและเสียชีวิตในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอาทิ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง มะเร็ง ปอดอุดกั้น เป็นต้น เพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน ซึ่งรายงานอัตราผู้ป่วยในต่อแสนประชากร ช่วงปี 2550-2555 ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงจาก 158.00 เป็น 708.74 โรคเบาหวานจาก 148.70 เป็น 654.44 โรคหลอดเลือดสมองจาก 75.00 เป็น206.34 และโรคหัวใจขาดเลือดจาก 49.00 เป็น262.32 และแนวโน้มอัตราการตายต่อแสนประชากรเพิ่มขึ้น โรคเบาหวาน เพิ่มขึ้น 1.5 เท่าโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น 2.9 เท่า โรคหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้น 5.8 เท่า นับว่าเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขเป็นอย่างมาก สำหรับสถานการณ์โรคเรื้อรังของอำเภอรือเสาะ มีอัตราป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี ช่วงปี 2558-2559 ป่วยด้วยโรคเบาหมานรายใหม่ต่อแสนประชากรจาก 142.64 เป็น 151.40 โรคหลอดเลือดสมองรายใหม่จำนวน 64 คนเพิ่มขึ้นเป็น 79 คน คิดเป็น109.30ต่อแสนประชากร และนอกจากนี้ยังมีกลุ่มประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่ยังไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสม การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อสุขภาพ เป็นภาระต่อครอบครัว ชุมชน ประเทศ ซึ่งโรคเหล่านี้ป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรมในด้านต่างๆ และสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี ดังนั้น โรงพยาบาลรือเสาะ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำและสร้างพื้นที่สุขภาวะวิถีธรรม ตอบสนองตามมิติบริบทพหุวัฒนธรรมเพื่อให้บุคลากร แกนนำสุขภาพ ให้มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม การปรับเปลี่ยนพฤติกรมในด้านต่างๆ อาทิ เช่น การรู้จักตนเองและรู้จักผู้อื่น การปรับเปลี่ยนมุมมองในการดำเนินชีวิต การสร้างคุณค่าในตนเอง การจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต การเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต การวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน และการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ (มิติสุขภาพดี,มิติผ่อนคลาย,มิติมีน้ำใจ,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัว,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี และ มิติการงานดี)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้แกนนำสุขภาวะวิถีธรรม ในบุคลากรสุขภาพอำเภอรือเสาะ และแกนนำศาสนสถาน มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
  2. 2. เพื่อให้สถานบริการ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญานตามบริบทพหุวัฒนธรรม
  3. 3. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายเกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาวะวิถีธรรมในมิติบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมแกนนำจากตัวแทนศาสนสถาน(มัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ)

    วันที่ 7 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมชี้แจง 2.จัดอบรมแกนนำสุขภาพ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต การจัดอบรมแกนนำจากตัวแทนศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม
    เป้าหมายที่ตั้งไว้จำนวน 200 คน (แกนนำสุขภาพจากศาสนสถานร่วมกิจกรรมอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ร้อยละ 80)
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนตัวแทนแกนนำศาสนสถานจากวัด และ มัสยิด ตำบลลาโละ เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 176 คน คิดเป็นร้อยละ 88
    (ตัวแทนแกนนำจาก วัดชนาราม บ้านไทสุข ต.ลาโละ เข้ารับการอบรม จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 68 ) (ตัวแทนแกนนำจาก มัสยิด ต.ลาโละ อ.รือเสาะเข้ารับการอบรม  จำนวน 142คน คิดเป็นร้อยละ 94.6)


    ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
    2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

     

    142 142

    2. อบรมแกนนำจากตัวแทนศาสนสถาน(วัดชนาราม บ้านไทสุข)

    วันที่ 9 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต การจัดอบรมแกนนำจากตัวแทนศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม
    เป้าหมายที่ตั้งไว้จำนวน 200 คน (แกนนำสุขภาพจากศาสนสถานร่วมกิจกรรมอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ร้อยละ 80)
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนตัวแทนแกนนำศาสนสถานจากวัด และ มัสยิด ตำบลลาโละ เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 176 คน คิดเป็นร้อยละ 88
    (ตัวแทนแกนนำจาก วัดชนาราม บ้านไทสุข ต.ลาโละ เข้ารับการอบรม จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 68 ) (ตัวแทนแกนนำจาก มัสยิด ต.ลาโละ อ.รือเสาะเข้ารับการอบรม  จำนวน 142คน คิดเป็นร้อยละ 94.6)

    ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
    2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

     

    34 34

    3. อบรมบุคลากรสาธารณสุข อำเภอรือเสาะ รุ่นที่1

    วันที่ 19 มีนาคม 2561 เวลา 08:30-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต การจัดอบรมบุคลากรสุขภาวะวิถีธรรม เป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 350 คน ( บุคลากรได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การอบรมแบ่งเป็น 5 รุ่น
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนบุคลากรจากรพ.รือเสาะ สสอ.และ รพสต. เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด 297 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85

    ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
    2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

     

    67 67

    4. อบรมบุคลากรสาธารณสุข อำเภอรือเสาะ รุ่นที่2

    วันที่ 20 มีนาคม 2561 เวลา 08:30-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต การจัดอบรมบุคลากรสุขภาวะวิถีธรรม เป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 350 คน ( บุคลากรได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การอบรมแบ่งเป็น 5 รุ่น
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนบุคลากรจากรพ.รือเสาะ สสอ.และ รพสต. เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด 297 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85

    ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
    2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

     

    62 62

    5. อบรมบุคลากรสาธารณสุข อำเภอรือเสาะ รุ่นที่3

    วันที่ 21 มีนาคม 2561 เวลา 08:30-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต การจัดอบรมบุคลากรสุขภาวะวิถีธรรม เป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 350 คน ( บุคลากรได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การอบรมแบ่งเป็น 5 รุ่น
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนบุคลากรจากรพ.รือเสาะ สสอ.และ รพสต. เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด 297 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85

    ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
    2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

     

    63 63

    6. อบรมบุคลากรสาธารณสุข อำเภอรือเสาะ รุ่นที่ 4

    วันที่ 22 มีนาคม 2561 เวลา 08:30-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ผลผลิต การจัดอบรมบุคลากรสุขภาวะวิถีธรรม เป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 350 คน ( บุคลากรได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การอบรมแบ่งเป็น 5 รุ่น
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนบุคลากรจากรพ.รือเสาะ สสอ.และ รพสต. เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด 297 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85

    ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
    2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

     

    58 58

    7. อบรมบุคลากรสาธารณสุข อำเภอรือเสาะ รุ่นที่ 5

    วันที่ 23 มีนาคม 2561 เวลา 08:30-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมชี้แจง
    2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    4.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต การจัดอบรมบุคลากรสุขภาวะวิถีธรรม เป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 350 คน ( บุคลากรได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การอบรมแบ่งเป็น 5 รุ่น
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนบุคลากรจากรพ.รือเสาะ สสอ.และ รพสต. เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด 297 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85

    ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
    2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

     

    47 47

    8.

    วันที่ 18 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในวัดและมัสยิด อำเภอรือเสาะกลุ่มเป้าหมาย ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส 1.วัดชนาราม ม.8 บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลประเมินตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯจากหน่วยบริการสุขภาพอำเภอรือเสาะและกลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100 2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯจากแกนนำศาสนสถานอำเภอรือเสาะเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100

    ผลที่เกิดขึ้น 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรสุขภาพ การจัดการนวัตกรรม มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรม 3. ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

     

    33 33

    9. ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรโรงพยาบาลรือเสาะ เพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรมรอบที่ 1

    วันที่ 19 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรการโครงการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 1 3.สรุปผลการลงเยี่ยหน้างาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 1
    เป้าหมาย บุคลากรเข้าร่วม 67 คน (หน่วยบริการสุขภาพ ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80)( กลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 ) ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนหน่วยบริการสุขภาพในคปสอ.รือเสาะ 16 แห่งร่วมกิจกรรม คิดเป็น ร้อยละ 100 , กลุ่มงานจากโรงพยาบาลรือเสาะ จำนวน 12 กลุ่มงาน คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 1.1ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความคาดหวังในการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ พหุวัฒนธรรม ดังนี้
        -บุคลากรสามารถทำงานอย่างมีความสุข
      -เข้ากับเพื่อนร่วมงานได้ เอาใจเขามาใส่ใจเรา - บุคลากรตรงต่อเวลา - บุคลากรกินอิ่ม นอนหลับ -บุคลากรสุขภาพดี สามารถดูแลตนเองได้ ตามวิถีชุมชน -เสริมสร้างสมรรถนะแก่บุคลากรด้านการให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน - สร้างรอยยิ้มในระหว่างการทำงาน ให้ตัวเองมีความสุขกับทุกวันทำงาน - ผู้รับบริการพึงพอใจ การรับบริการให้มากที่สุด - มีเครื่องมือ อุปกรณ์พร้อมในการทำงาน -ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการพื้นฐานได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เช่น การได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรัง มาเร็ว การฉีดวัคซีน การรับบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เป็นต้น -ประชาชนสามารถเป็นต้นแบบในการดูแลตนเอง ในแต่ละกลุ่มโรค (Model) -มีระบบการทำงานและการจัดการอย่างชัดเจนตามแนวทางที่กำหนด -บุคลากรสามารถทำงานเป็นทีม -บุคลากรหวังว่าจะเข้าใจ พหุวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น -บุคลากรนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วย -สถานที่ทำงานมีระบบความปลอดภัย -การให้บริการที่สอดคล้องกับความเชื่อ วัฒนธรรมของผู้รับบริการ -ให้บริการผู้ป่วยแบบพหุวัฒนธรรมโดยผู้ป่วยไม่ร้องเรียน -อยู่ด้วยกันอย่างสมานฉันท์ 2.ด้านองค์กรสุขภาพ การจัดการนวัตกรรม มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรม 2.1ประสบการณ์ One day Experiences
    -มุมมองของจุด หน่วยงาน
    -มุมมองของผู้รับบริการ *อารมณ์ประสบการณ์ด้านบวก ดีใจที่เจอเจ้าหน้าที่
    ดีใจที่ได้มากินข้าวที่รพ. ปลอดภัย อยากนอนรพ.กับข้าวอร่อย สบายใจเมื่อเจอพยาบาลยิ้มหวาน สบายใจเมื่อเจอเจ้าหน้าที่ดี มีความสุขที่ได้มาเจอหมอรักษาหาย
    รู้สึกโล่งได้มาทำฟันสักที
    ดีใจบุคลากรสวย
    ได้ข้อมูลครบถ้วน *อารมณ์ประสบการณ์ด้านลบ เสียใจ
    เศร้าใจ หงุดหงิด หงุดหงิดเมื่อเจอเจ้าหน้าที่หงุดหงิด เบื่อเข้าคิวหลายรอบซับซ้อน เร่งรีบอยากเข้าห้องฉุกเฉิน
    ไม่สบายตัว เวียนศรีษะแสงเข้าตา
    ไม่สบายใจ
    กังวล ถูกปฏิเสธ กังวลต้องเสียตังค์ไหม
    รพ.รือเสาะคนไข้เยอะจังรอคิวนาน
    งงสับสนไม่รู้จะไปที่ไหน รู้สึกบอกไม่ถูกหาไม่เจอ รู้สึกโมโห หมอไม่อยู่ต้องเดินไปเดินมา

     

    67 48

    10. ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรโรงพยาบาลรือเสาะ เพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรมรอบที่ 1

    วันที่ 20 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรการโครงการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 1 3.สรุปผลการลงเยี่ยหน้างาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 1
    เป้าหมาย บุคลากรเข้าร่วม 67 คน (หน่วยบริการสุขภาพ ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80)( กลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 ) ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนหน่วยบริการสุขภาพในคปสอ.รือเสาะ 16 แห่งร่วมกิจกรรม คิดเป็น ร้อยละ 100 , กลุ่มงานจากโรงพยาบาลรือเสาะ จำนวน 12 กลุ่มงาน คิดเป็นร้อยละ 100


    ผลลัพธ์ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรสุขภาพ การจัดการนวัตกรรม มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรม

     

    67 20

    11. ลงเยียมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1

    วันที่ 21 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลที่ได้รับ 1.ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

     

    40 40

    12. ลงเยียมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1

    วันที่ 24 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลที่ได้รับ 1.ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

     

    40 60

    13. ลงเยียมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1

    วันที่ 25 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลที่ได้รับ 1.ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

     

    40 40

    14. ลงเยียมหน้างานแกนนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1

    วันที่ 26 กันยายน 2561 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรการ
    2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 1
    3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลที่ได้รับ 1.ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

     

    200 30

    15. ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

    วันที่ 5 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
    ผลการดำเนินงาน  พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200  คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2 เกิดนวัตกรรม     1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ       2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด)         3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน                         4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)                         6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3 เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

     

    40 38

    16. ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

    วันที่ 22 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
    ผลการดำเนินงาน  พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200  คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2 เกิดนวัตกรรม     1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ       2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด)         3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน                         4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)                         6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3 เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

     

    40 38

    17. ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

    วันที่ 24 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
    ผลการดำเนินงาน  พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200  คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2 เกิดนวัตกรรม     1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ       2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด)         3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน                         4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)                         6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3 เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

     

    40 33

    18. ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

    วันที่ 26 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
    ผลการดำเนินงาน  พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200  คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2 เกิดนวัตกรรม     1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ       2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด)         3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน                         4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)                         6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3 เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

     

    40 40

    19. ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรสาธารณสุขอำเภอรือเสาะเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2

    วันที่ 29 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยมหน้างาน รอบที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรมรอบที่  2
    เป้าหมาย บุคลากรเข้าร่วม 67 คน (หน่วยบริการสุขภาพ ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80)( กลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 )
                ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนหน่วยบริการสุขภาพในคปสอ.รือเสาะ 16 แห่งร่วมกิจกรรม คิดเป็น ร้อยละ 100 , กลุ่มงานจากโรงพยาบาลรือเสาะ จำนวน 12 กลุ่มงาน คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 1.1ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความคาดหวังในการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ พหุวัฒนธรรม ดังนี้
            -บุคลากรสามารถทำงานอย่างมีความสุข
          -เข้ากับเพื่อนร่วมงานได้ เอาใจเขามาใส่ใจเรา - บุคลากรตรงต่อเวลา - บุคลากรกินอิ่ม นอนหลับ -บุคลากรสุขภาพดี สามารถดูแลตนเองได้ ตามวิถีชุมชน -เสริมสร้างสมรรถนะแก่บุคลากรด้านการให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน - สร้างรอยยิ้มในระหว่างการทำงาน ให้ตัวเองมีความสุขกับทุกวันทำงาน - ผู้รับบริการพึงพอใจ การรับบริการให้มากที่สุด - มีเครื่องมือ อุปกรณ์พร้อมในการทำงาน -ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการพื้นฐานได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เช่น การได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรัง มาเร็ว การฉีดวัคซีน การรับบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เป็นต้น -ประชาชนสามารถเป็นต้นแบบในการดูแลตนเอง ในแต่ละกลุ่มโรค (Model) -มีระบบการทำงานและการจัดการอย่างชัดเจนตามแนวทางที่กำหนด -บุคลากรสามารถทำงานเป็นทีม -บุคลากรหวังว่าจะเข้าใจ พหุวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น -บุคลากรนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วย -สถานที่ทำงานมีระบบความปลอดภัย -การให้บริการที่สอดคล้องกับความเชื่อ วัฒนธรรมของผู้รับบริการ -ให้บริการผู้ป่วยแบบพหุวัฒนธรรมโดยผู้ป่วยไม่ร้องเรียน -อยู่ด้วยกันอย่างสมานฉันท์ 2.ด้านองค์กรสุขภาพ การจัดการนวัตกรรม มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรม 2.1ประสบการณ์ One day Experiences
    -มุมมองของจุด หน่วยงาน
    -มุมมองของผู้รับบริการ *อารมณ์ประสบการณ์ด้านบวก ดีใจที่เจอเจ้าหน้าที่
    ดีใจที่ได้มากินข้าวที่รพ. ปลอดภัย อยากนอนรพ.กับข้าวอร่อย สบายใจเมื่อเจอพยาบาลยิ้มหวาน สบายใจเมื่อเจอเจ้าหน้าที่ดี มีความสุขที่ได้มาเจอหมอรักษาหาย
    รู้สึกโล่งได้มาทำฟันสักที
    ดีใจบุคลากรสวย
    ได้ข้อมูลครบถ้วน *อารมณ์ประสบการณ์ด้านลบ เสียใจ
    เศร้าใจ หงุดหงิด หงุดหงิดเมื่อเจอเจ้าหน้าที่หงุดหงิด เบื่อเข้าคิวหลายรอบซับซ้อน เร่งรีบอยากเข้าห้องฉุกเฉิน
    ไม่สบายตัว เวียนศรีษะแสงเข้าตา
    ไม่สบายใจ
    กังวล ถูกปฏิเสธ  กังวลต้องเสียตังค์ไหม
    รพ.รือเสาะคนไข้เยอะจังรอคิวนาน
    งงสับสนไม่รู้จะไปที่ไหน รู้สึกบอกไม่ถูกหาไม่เจอ รู้สึกโมโห  หมอไม่อยู่ต้องเดินไปเดินมา -เกิดนวัตกรรม Ruso  8  hrs  Happinometer

     

    67 40

    20. ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรสาธารณสุขอำเภอรือเสาะเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2

    วันที่ 30 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยมหน้างาน รอบที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรมรอบที่  2
    เป้าหมาย บุคลากรเข้าร่วม 67 คน (หน่วยบริการสุขภาพ ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80)( กลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 )
                ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนหน่วยบริการสุขภาพในคปสอ.รือเสาะ 16 แห่งร่วมกิจกรรม คิดเป็น ร้อยละ 100 , กลุ่มงานจากโรงพยาบาลรือเสาะ จำนวน 12 กลุ่มงาน คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลลัพธ์ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรสุขภาพ การจัดการนวัตกรรม มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรม 3. ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

     

    67 30

    21. ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

    วันที่ 18 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนงาน 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม วัดและมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส รอบที่ 2 3.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
    ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย ได้แก่ 3ส. 3อ. 1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/3อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2 เกิดนวัตกรรม 1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ 2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด) 3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน             4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม) มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)             6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

     

    23 23

    22. ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

    วันที่ 19 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนงาน 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม วัดและมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส รอบที่ 2 3.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
    ผลการดำเนินงาน  พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200  คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/3อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2เกิดนวัตกรรม 1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ 2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด) 3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน                         4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)                         6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

     

    29 29

    23. จัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในศาสนสถานอำเภอรือเสาะ

    วันที่ 23 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมคณะกรรมการและคณะทำงาน
    2. จัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในศาสนสถานอำเภอรือเสาะ
    3. สรุปผลการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    4. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้นแบบ แกนนำจากตัวแทนศาสนสถานตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เป้าหมาย  แกนนำศาสนสถานต้นแบบเข้าร่วม 200 คน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม    อย่างน้อย 10 แห่ง ผลการดำเนินงาน  พบว่า  จำนวนแกนนำศาสนสถานต้นแบบวัด มัสยิดตำบลลาโละร่วมกิจกรรม  311 คน คิดเป็นร้อยละ 155 ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม  12 แห่ง
    (มัสยิด 11 แห่ง  วัด 1 แห่ง)

    ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 1.การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/3อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
    กิจกรรมที่ 3  สุขภาวะดีวิธีธรรม พื้นที่ดำเนินการ หมู่1 บ้านบือแรงหมู่ 8 บ้านไทยสุข ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
    กลุ่มเป้าหมาย  ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน สถานการณ์ (ปัญหา)  จากการพัฒนาศาสนาสถาน (มัสยิด ,วัด) ในพื้นที่เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพต้นแบบ และเป็นศูนย์เรียนรู้ต่างๆสำหรับประชาชนในพื้นที่และได้มีการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของประชาชนเป็นคู่ขนานซึ่งได้พบปัญหาสุขภาพมานานซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนในพื้นที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและมีอัตราเพิ่มขึ้นและมีภาวะแทรกซ้อน จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ พบว่า ผู้ป่วยในพื้นที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ส่วนใหญ่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ จึงได้เกิดนวัตกรรมขึ้นมา

    กระบวนการนวัตกรรม 1.มีการประชุมกลุ่มเป้าหมายเพื่อชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินงาน 2.มีการให้ความรู้สู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมวิถีพุทธ วิถีอิสลาม 3.ใช้ศาสนสถานเป็นฐานร่วมดูแลสุขภาพ 4.ใช้หลักการ  3 ส.3 อ. 1 น. โดยใช้มิติ 3 ด้าน ด้านจิตวิญญาณ , ด้านสุขภาพกายใจ และด้านแบบแผนชีวิตและสังคม หมายเหตุ:  มิติด้านจิตวิญญาณ (สวดมนต์/ขอดุอาร์)  (สมาธิ/อิหม่าน)(สนทนาธรรม/นาซีฮัต)     มิติด้านสุขภาพกายใจ (อาหาร/อาหารบารอกัต) (อารมณ์/นัฟซู) (ออกกำลังกาย/อามานะห์)     มิติด้านแบบแผนชีวิต (นาฬิกาชีวิต/วิถีสุนนะ) 5.  นวัตกรรม 5.1เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ 5.2เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด) 5.3พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน 5.4พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.5ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด) 6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 7.แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้ป่วย ,ญาติ 8.มีการติดตามการปฎิบัติกิจกรรม  โดยอสม. ที่รับผิดชอบทุกเดือน 9.มีการประเมินสุขภาพของผู้ป่วยโดยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทุก๒ เดือน ผลที่เกิดขึ้น 1. เกิดแกนนำจัดการสุขภาพโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานวิถีธรรม 2 ชมรม
    1.1ชมรมสุขภาวะดีวิถีธรรมวัดชนาราม จำนวนสมาชิก 28 คน 1.2ชมรมสุขภาวะดีวิถีธรรมมัสยิดบ้านบือแรง จำนวน 30 คน 2.เกิดศาสนสถานต้นแบบจัดการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตามสุขภาวะดีวิถีธรรม

    การมีส่วนร่วมของนวัตกรรม 1.โรงพยาบาลรือเสาะ
    2.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ 3.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ 4.องค์การบริหารส่วนตำบลลาโละ 5.ผู้นำศาสนา 6.ผู้นำชุมชม 7.อาสาสมัครสาธารณสุข

     

    311 311

    24. จัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนจัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในสถานบริการในอำเภอรือเสาะ

    วันที่ 25 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงการดำเนินงาน
    2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในสถานบริการในอำเภอรือเสาะ
    3. สรุปผลการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    4. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จ้ดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในสถานบริการสุขภาพในอำเภอรือเสาะ เป้าหมาย บุคลากรเข้าร่วม 100 คน หน่วยงานที่เข้าร่วมมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรมร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน พบว่า

    • จำนวนหน่วยบริการสุขภาพในคปสอ.รือเสาะ 16 แห่ง
    • มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เกิดนวัตกรรม Ruso 8 hrs Happinometer
    2. การนำสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย ได้แก่ 3ส. 3อ. 1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/3อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ กิจกรรมที่ 1 ปรับพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3ส 3อ 1น ด้วยวิถีมุสลิม (กลุ่มงานแพทย์แผนไทย) วัตถุประสงค์
      • เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพทั้ง 4 มิติ โดยนำหลักศาสนา และศาสตร์ด้านแพทย์แผนไทย มาดูแลสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย   - ผู้ป่วย DM,HT/ญาติผู้ดูแล ขั้นตอนการดำเนิน
      • คัดกรองกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านสุขภาพ
      • ให้ความรู้เกี่ยวกับ 3ส 3อ 1น ด้วยวิถีมุสลิม
      • ประเมิน และติดตามสุขภาพ 3 เดือน/ครั้ง สุขภาพวิถีธรรม

    กิจกรรมที่ 2 สวดมนต์ นั่งสมาธิ สนธนาธรรม (ชมรมพุทธ)
    วัตถุประสงค์
    - เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพทั้ง 4 มิติ โดยนำหลักศาสนาพุทธ มาดูแลสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย   - เจ้าหน้าที่/ผู้ป่วย ที่นับถือศาสนาพุทธ ขั้นตอนการดำเนินงาน   - คัดกรองกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านสุขภาพ และกลุ่มเสี่ยง   - ให้ความรู้เกี่ยวกับ 3ส 3อ 1น ด้วยวิถีพุทธ
      - สวดมนต์นั่งสมาธิ สนธนาธรรม ทุกวันพุทธ   - ประเมิน และติดตามสุขภาพ ปีละ 1 ครั้ง 3. เกิดนวัตกรรมฟันดีวิถีกำปง,ธนาคารดิน เป็นต้น 4. เกิดแนวปฏิบัติในการจัดระบบบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 4.1 การตรวจ/การปฏิบัติพยาบาล ที่ต้องสัมผัสร่างกาย หรือถูกเนื้อต้องตัวจากเพศตรงข้าม คู่มือฉบับใหม่จากการลงมือปฏิบัติของโรงพยาบาล -แนวทางการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยที่สอดคล้องกับมิติพหุวัฒนธรรม และบริบทชุมชนโดยทีมคร่อมสายงานคุณภาพ ETH -แนวทางการจัดที่นั่งสำหรับ พระภิกษุ สามเณร แม่ชี แผนกผู้ป่วยนอก และ อาคารเวชปฏิบัติครอบครัว - แนวทางการจัดการห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า แผนกรังสี -แนวทางการจัดการเปลี่ยนชุดรับบริการ แผนกแพทย์แผนไทย -การจัดชุดกางเกงสำหรับการตรวจภายใน แผนกเวชปฏิบัติ -นวัตกรรมเสื้อพิทักษ์สิทธิ์ แผนกกายภาพบำบัด
    4.2 การจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อ การปฏิบัติกิจทางศาสนา คู่มือฉบับใหม่จากการลงมือปฏิบัติของโรงพยาบาล
    - มีเอกสารแนวทางการดูแลผู้ป่วยประกอบศาสนกิจละหมาดขณะพักรักษาตัวในโรงพยาบาลโดย ทีมนำทางคลินิก PCT โรงพยาบาลรือเสาะ -คู่มือแนวทางการดูแลผู้ป่วยสูติกรรมวิถีอิสลามแผนกสูติกรรม -แนวทางการเยี่ยมผู้ป่วยวิถีอิสลาม -ระเบียบปฏิบัติเรื่อง พฤติกรรมบริการ ที่สอดคล้องกับวิถีอิสลามโรงพยาบาลรือเสาะ โดยทีมนำทางทางคลินิก - คู่มือการดำเนินงานสมาธิบำบัด โดย แผนกแพทย์แผนไทย - คู่มือการการดูแลด้านจิตวิญญาณ การรักษาสมาธิละหมาด โดยผ่านการละหมาด โดย แผนกแพทย์แผนไทย
    4.3 การจัดการด้านอาหาร คู่มือฉบับใหม่จากการลงมือปฏิบัติของโรงพยาบาล -คู่มือมาตรฐานอาหารฮาลาลในโรงพยาบาล -เมนูอาหาร ตามบริบทชุมชน และเมนูอาหารงานบุญตามสุขภาพดีวิถีธรรม 3ส 3 อ1 น. สำหรับครอบครัว วัด มัสยิด
    4.4 การช่วยเหลือ/ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
    คู่มือฉบับใหม่จากการลงมือปฏิบัติของโรงพยาบาล -แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามวิถีอิสลาม และพุทธ โดย ทีม paliative care
    - แนวทางการชันสูตรศพ และการจัดการศพตามวิถีอิสลาม โดย ทีมอุบัติเหตุฉุกเฉิน
    4.5 การบริการสุขภาพในเทศกาล หรือ วาระพิเศษทางศาสนา
    คู่มือฉบับใหม่จากการลงมือปฏิบัติของโรงพยาบาล -โปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ -แนวทางการดูแลผู้ป่วยถือศีลอดสำหรับผู้ป่วยทั่วไป และกลุ่มพิเศษ -แนวทางการดูแลสุขภาพดีวิถีธรรม 3ส. 3อ. 1น.โดยเฉพาะในงานบุญต่างๆ

     

    100 100

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้แกนนำสุขภาวะวิถีธรรม ในบุคลากรสุขภาพอำเภอรือเสาะ และแกนนำศาสนสถาน มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : 1.บุคลากรสุขภาพได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.แกนนำสุขภาพจากศาสนสถานร่วมกิจกรรมอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ร้อยละ 80

     

    2 2. เพื่อให้สถานบริการ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญานตามบริบทพหุวัฒนธรรม
    ตัวชี้วัด : 1.หน่วยบริการสุขภาพร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 2. กลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะร่วมกิจกรรมร้อยละ 80

     

    3 3. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายเกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาวะวิถีธรรมในมิติบริบทพหุวัฒนธรรม
    ตัวชี้วัด : 1.หน่วยงานที่เข้าร่วมมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรมร้อยละ 80 2.ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม อย่างน้อย 10 แห่ง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้แกนนำสุขภาวะวิถีธรรม ในบุคลากรสุขภาพอำเภอรือเสาะ และแกนนำศาสนสถาน มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม (2) 2. เพื่อให้สถานบริการ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญานตามบริบทพหุวัฒนธรรม (3) 3. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายเกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาวะวิถีธรรมในมิติบริบทพหุวัฒนธรรม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม รพ.รือเสาะ จ.นราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ -

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนูรฮายาตี นิมะซา,นางฮานานี เจ๊ะอุบง,นายมะสะแรดี เจ๊ะและ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด