สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ แผนงานกลางโซนอันดามัน
ภายใต้โครงการ แผนงานโซนใต้อันดามัน
ภายใต้องค์กร สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
รหัสโครงการ 60-00-18
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
แหล่งทุน
ไม่ระบุ
งบประมาณ 400,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ ซูวารี มอซู
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. พื้นที่เป้าหมาย
จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
ภาคใต้ place directions
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

  1. ผลักดันการนำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดกระบี่และจังหวัดตรัง สู่การปฎิบัติ โดยการบรรจุแผนในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุกระดับทั้งระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่น โดยจะบูรณาการเรื่องการจัดการปัจจัยเสี่ยงและการจัดการปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เข้ากับยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชน
  2. ผลักดันให้เกิดการต่อยอดระดับจังหวัดไปสู่การพัฒนายุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวชุมชน ระดับโซนอันดามัน
  3. การพัฒนากลไกและรูปแบบการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่โซนอันดามัน
  4. ยกระดับกลไกการทำงานระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคสื่อ สถาบันวิชาการ กับ สสส. เช่น การจัดหลักหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ
stars
6. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
7. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ผลักดันการนำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดกระบี่และจังหวัดตรัง สู่การปฎิบัติ โดยการบรรจุแผนในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุกระดับทั้งระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่น โดยจะบูรณาการเรื่องการจัดการปัจจัยเสี่ยงและการจัดการปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เข้ากับยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชน

ข้อมูลสถานการณ์ Mapping และเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชน

2 ผลักดันให้เกิดการต่อยอดระดับจังหวัดไปสู่การพัฒนายุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวชุมชน ระดับโซนอันดามัน
  • ผลการประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการจัดทำนโยบายของโซนอันดามัน

  • เกิดข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศน์

3 การพัฒนากลไกและรูปแบบการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่โซนอันดามัน

ได้ รูปแบบ (Model) การจัดการภัยพิบัติในพื้นที่โซนอันดามัน

4 ยกระดับกลไกการทำงานระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคสื่อ สถาบันวิชาการ กับ สสส. เช่น การจัดหลักหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ

เกิดหลักสูตรการจัดการระยะสั้น ในการจัดการท่องเที่ยวโซนอันดามัน

stars
8. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
9. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
11. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ต.ค. 2560 17:25 น.