สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ การจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง ”

จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ดร.เพ็ญ สุขมาก

ชื่อโครงการ การจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง

ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ - เลขที่ข้อตกลง -

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2559 ถึง 31 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ - ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2559 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,500,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 250 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนงานการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤติความรุนแรง เป็นแผนงานที่ดำเนินงานในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา ได้แก่ จะนะ เทพา นาทวี และสะบ้าย้อย เป็นความร่วมมือกันระหว่าง สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค 4 สน.) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.เขต 12) องค์การบริหารส่วนตำบล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องชุมชนสุขภาวะ ชุมชนเข้มเข็ง แก่แกนนำชุมชน และจิตอาสา สร้างกระบวนการเรียนรู้การจัดการฐานข้อมูล กระบวนการทำแผนชุมชน และการเขียนโครงการเพื่อแก้ปัญหาชุมชน สร้างระบบติดตามประเมินผล และระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของของแกนนำชุมชน เกิดกลุ่มแกนนำชุมชนและจิตอาสาที่มีศักยภาพในการพัฒนาโครงการ และดำเนินโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาในชุมชน เกิดระบบติดตามและประเมินผลโครงการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของคน และสร้างมุมมองต่อเรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะและสันติสุข
  2. สร้างกระบวนการเรียนรู้การจัดการฐานข้อมูล กระบวนการทำแผนชุมชน และการเขียนโครงการเพื่อแก้ปัญหาชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การประชุมปรึกษาหารือการพัฒนาศักยภาพบัณฑิตอาสา

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การประชุมปรึกษาหารือการพัฒนาศักยภาพบัณฑิตอาสา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบัณฑิตอาสา ศอ.บต

     

    10 7

    2. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ระบบสุขภาพตามวิถีชุมชน ปี 2559

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ระบบสุขภาพตามวิถีชุมชน ปี 2559 เพื่อรับฟังแนวทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจากศูนย์บริหารการพัฒนาสุขภาพจังหวัดชายแดนใต้ (ศบ.สต.)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับฟังแนวทางการดำเนินงานด้านสาธารณสุข

     

    20 40

    3. จัดประชุมปรึกษาหารือวางแผนการดำเนินงานร่วมกับกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ภาค 4 ส่วนหน้า ครั้งที่ 1

    วันที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรึกษาหารือหาเพื่อวางแผนแนวทางการทำงาน ร่วมกันกับ กอ.รมน.ภาค 4 สน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แนวทางการทำงาน โดยจะร่วมกับศูนย์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กอ.รมน.ภาค 4 สน. เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมญาลันนันบารูซึ่งเป็นจิตอาสาที่ฝังตัวอยู่ในชุมชน และเป็นคนในพื้นที่ มีความเข้าใจปัญหาในพื้นที่เป็นอย่างดี

     

    15 11

    4. ในการจัดประชุมปรึกษาหารือวางแผนการดำเนินงานร่วมกับกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ภาค 4 ส่วนหน้า ครั้งที่ 2

    วันที่ 12 สิงหาคม 2559 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมปรึกษาหารือเพื่อวางแผนการดำเนินงาน และเป้าหมายของโครงการ
    • กลุ่มเป้าหมาย
    • ระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ต้องพัฒนาศักยภาพ ได้แก่เครือข่ายจิตอาสาญาลันนันบารู
    • มีภาคีที่เกี่ยวข้องคือ กองทุนสุขภาพตำบล และสปสช เขต 12 เพื่อจะนำโครงการที่ได้รับการพัฒนาจากเครือข่ายจิตอาสาขอทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

     

    10 0

    5. เวทีสร้างการเรียนรู้ ชุมชนเข้มแข็ง ชุมชนสุขภาวะ

    วันที่ 7 กันยายน 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำเสนอยุทธศาสตร์และกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็งการสร้างสังคมสุขภาวะ
    • ให้ความรู้แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาวะ ในประเด็น
    • ความหมาย องค์ประกอบของระบบสุขภาวะ
    • ความเข้าใจพื้นฐานทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาวะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้และได้ลองประยุกต์ใช้กับชุมชนตนเอง พร้อมทั้งนำเสนอตัวอย่าง

     

    250 250

    6. พัฒนาศักยภาพการติดตามและประเมินผลโครงการ

    วันที่ 8 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ให้ความรู้เรื่องการพัฒนาโครงการ
    • ให้ความรู้เรื่องการจัดการข้อมูลสุขภาพชุมชน
    • ฝึกปฏิบัติการ การจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
    • ให้ความรู้เรื่องการเขียนโครงการและการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพชุมชน
    • ฝึกปฏิบัติการ เขียนโครงการในพื้นที่ของตนเอง
    • ให้ความรู้เรื่องการติดตามประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • หน่วยญาลันนันบารู สามารถวิเคราะห์ชุมชนเพื่อเขียนโครงการได้

     

    80 80

    7. จัดประชุมการพัฒนาโครงการเพื่อการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุ่นแรง รุ่นที่ 1

    วันที่ 16 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พัฒนาและเขียน โครงการฯ แก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน รุ่นที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้เรื่องการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
    • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้เรื่องการพัฒนาโครงการสุขภาวะ
    • แบ่งกลุ่มเพื่อฝึกปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดยแบ่งกลุ่มเป็นชุมชน ร่วมกันวิเคราะห์ชุมชน พัฒนาเป็นโครงการตามกรอบการของบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
    • ชุมชนนำเสนอโครงการ และได้รับคำชี้แนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ พี่เลี้ยงกองทุน และตัวแทนจาก สปสช เขต 12
    • ตัวแทนจาก สปสช เขต 12 ให้ความรู้เรื่องแนวทางการขอรับงบประมาณกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาวะชุมชน ซึ่งได้รับความสนใจจากชุมชน และมีการซักถามในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขอทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

     

    120 110

    8. จัดประชุมการพัฒนาโครงการเพื่อการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุ่นแรง รุ่นที่ 2

    วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ให้ความรู้เรื่องการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
    • ให้ความรู้เรื่องการพัฒนาโครงการสุขภาวะ
    • แบ่งกลุ่มปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ
    • นำเสนอโครงการ
    • ให้ความรู้เรื่องแนวทางการขอรับงบประมาณกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาวะชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้เรื่องการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
    • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้เรื่องการพัฒนาโครงการสุขภาวะ
    • แบ่งกลุ่มเพื่อฝึกปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดยแบ่งกลุ่มเป็นชุมชน ร่วมกันวิเคราะห์ชุมชน พัฒนาเป็นโครงการตามกรอบการของบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
    • ชุมชนนำเสนอโครงการ และได้รับคำชี้แนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ พี่เลี้ยงกองทุน และตัวแทนจาก สปสช เขต 12
    • ตัวแทนจาก สปสช เขต 12 ให้ความรู้เรื่องแนวทางการขอรับงบประมาณกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาวะชุมชน ซึ่งได้รับความสนใจจากชุมชน และมีการซักถามในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขอทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

     

    120 116

    9. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการด้านสุขภาวะ

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงรายละเอียดแนวทาง กระบวนการในการจัดกิจกรรมกลุ่ม - ประเด็นปัญหาและการพัฒนาเพื่อการจัดทำโครงการ - หัวข้อสำคัญในการเขียนโครงการ : ที่มา วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรม งบประมาณ และการติดตามประเมินผล - ประเภทโครงการ กิจกรรม ที่สามารถขอการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล - แบ่งกลุ่มปฏิบัติการโครงการ ตามจังหวัด ได้แก่จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสงขลา โดยมีพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลคอยชี้แนะ และช่วยปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนสุขภาพตำบล - การแลกเปลี่ยน อภิปราย ซักถาม ชุมชนมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อกำหนด และเกณฑ์ต่าง ๆ ในการขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน ฯ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • โครงการที่ชุมชนเขียน ได้รับการปรับแก้ตามคำแนะนำของพี่เลี้ยงกองทุน ฯ 

     

    150 144

    10. สร้างระบบติดตามประเมินผล และระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของของแกนนำชุมชน

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สร้างระบบติดตามประเมินผล และระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของของแกนนำชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีระบบติดตามประเมินผล และระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้

     

    1 1

    11. ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาโครงการฯ ร่วมกับกองทุนสุขภาพฯ

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ดร.เพ็ญ สุขมาก ให้ความรู้เรืองการพัฒนาและการติดตามประเมินผลโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาวะ
    • ภก.สมชาย ละอองพันธ์ ให้ความรู้เรื่อง ประเภทโครงการ กิจกรรม ที่สามารถขอการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
    • แบ่งกลุ่มปฏิบัติการโครงการตามรายหมู่บ้าน โดยมีพี่เลี้ยงกองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่จาก อบต.ในพื้นที่ ประกอบเพื่อปรับแก้โครงการให้สมบูรณ์ พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลเข้าระบบทางเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ http://localfund.happynetwork.org/ โดย วันอังคารที่ 16 พฤษภาคม  จังหวัดปัตตานี
      วันพุธที่ 17 พฤษภาคม    จังหวัดยะลา วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม  จังหวัดนราธิวาสและจังหวัดสงขลา
    • แลกเปลี่ยน อภิปราย ซักถาม จากโครงการที่ปรับแก้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนปรับโครงการตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ฯ ตามคำแนะนำของพี่เลี้ยงกองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่จาก อบต.ในพื้นที่
    • บันทึกข้อมูลเข้าระบบทางเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ http://localfund.happynetwork.org/ เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนพิจารณาโครงการต่อไป

     

    120 180

    12. ประชุมพัฒนาศักยภาพ เรื่อง "การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการดำเนินงานและการสรุปผล"

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ให้ความรู้เรือ่งแนวทางการปฏิบัติการโครงการสุขภาวะในพื้นที่
    • ให้ความรู้เรื่องการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงานโครงการ
    • แบ่งกลุ่มปฏิบัติการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลโครงการ
    • นำเสนอ แลกเปลี่ยน ผลการแบ่งกลุ่มปฏิบัติการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลโครงการ


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สถานะโครงการที่ได้รับการพัฒนา
    • ได้รับอนุมัติงบประมาณ6 โครงการ ( ได้รับงบและดำเนินกิจกรรมแล้ว 4 โครงการ รองบประมาณ 2 โครงการ) • รอพิจารณาจากคณะกรรมการ 3 โครงการ • รอปรับแก้โครงการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุน 14 โครงการ • พื้นที่ไม่มีงบประมาณ 6 โครงการ

     

    100 110

    13. ปรึกษาหารือการดำเนินงานาโครงการโซนใต้ล่าง ปี 60-61

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    30 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของคน และสร้างมุมมองต่อเรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะและสันติสุข
    ตัวชี้วัด : -เกิดกลุ่มแกนนำชุมชนและจิตอาสาที่มีศักยภาพในการพัฒนาโครงการ และดำเนินโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาในชุมชน -เกิดระบบติดตามและประเมินผลโครงการ

     

    2 สร้างกระบวนการเรียนรู้การจัดการฐานข้อมูล กระบวนการทำแผนชุมชน และการเขียนโครงการเพื่อแก้ปัญหาชุมชน
    ตัวชี้วัด : มีการการเขียนโครงการเพื่อแก้ปัญหาชุมชน เข้ามารับทุน สปสช

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของคน และสร้างมุมมองต่อเรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะและสันติสุข (2) สร้างกระบวนการเรียนรู้การจัดการฐานข้อมูล กระบวนการทำแผนชุมชน และการเขียนโครงการเพื่อแก้ปัญหาชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ การจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง

    รหัสโครงการ - รหัสสัญญา - ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2559 - 31 กรกฎาคม 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    1.ชุดความรู้สถานการณ์ด้านสุขภาวะของชุมชน 2.แผนชุมชน

    โครงการการจัดการด้านสุขภาวะ ในเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบล http://localfund.happynetwork.org/

    โครงการเสนอของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    1.พัฒนาศักยภาพหน่วย และจิตอาสาญาลันนัน ด้านการพัฒนาโครงการ การดำเเนินโครงการ และการติดตาม ประเมินผล

    1. รายงานกิจกรรมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จากเวปไซต์ http://hsmi2.psu.ac.th/scac/paper/73/owner
    2. โครงการการจัดการด้านสุขภาวะ ในเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบล http://localfund.happynetwork.org/

    ขยายพื้นที่หน่วยญาลันนัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    1.เกิดการเชื่อมประสานระหว่าง หน่วยญาลันนัน พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล และคณะกรรมการกองทุนตำบล

    1.รายงานกิจกรรมจากเวปไซต์ http://hsmi2.psu.ac.th/scac/paper/73/owner

    เพิ่มพื้นที่และจำนวนในการเชื่อมประสาน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    1.เกิดแผนและโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาวะของชุมชน

    1. โครงการบันทึกในเวปไซต์ http://localfund.happynetwork.org/
    2. รายงานกิจกรรมจากเวปไซต์ http://hsmi2.psu.ac.th/scac/paper/73/owner

    1.ขยายพื้นที่เพื่อจัดทำแผนและโครงการ 2. ประสานงานกับ สปสช.เขต 12 และคณะกรรมการกองทุนตำบล เพื่อสนับสนุนโครงการให้เกิดการนำไปปฏิบัติในพื้้นที่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
    1. เกิดโครงการที่วิเคราะห์จากทุนในพื้นที่
    1. โครงการบันทึกในเวปไซต์ http://localfund.happynetwork.org/
    1. ประสานงานกับ สปสช.เขต 12 และคณะกรรมการกองทุนตำบล เพื่อสนับสนุนโครงการให้เกิดการนำไปปฏิบัติในพื้้นที่
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
    1. เกิดโครงการที่วิเคราะห์จากทุนในพื้นที่
    1. โครงการบันทึกในเวปไซต์ http://localfund.happynetwork.org/
    1. ประสานงานกับ สปสช.เขต 12 และคณะกรรมการกองทุนตำบล เพื่อสนับสนุนโครงการให้เกิดการนำไปปฏิบัติในพื้้นที่
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
    1. เกิดโครงการที่วิเคราะห์จากทุนในพื้นที่
    1. โครงการบันทึกในเวปไซต์ http://localfund.happynetwork.org/
    1. ต่อยอดการพัฒนาศักยภาพการจัดการโครงการสุขภาวะ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    การจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ -

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ดร.เพ็ญ สุขมาก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด