ชื่อโครงการ | การจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง |
ภายใต้โครงการ | แผนงานโซนใต้ล่าง |
ภายใต้องค์กร | สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) |
รหัสโครงการ | - |
วันที่อนุมัติ | |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กันยายน 2559 - 31 กรกฎาคม 2560 |
งบประมาณ | 1,500,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ดร.เพ็ญ สุขมาก |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ |
พื้นที่ดำเนินการ | จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.6360477504846,101.32381439209place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.ย. 2559 | 31 ก.ค. 2560 | 1,500,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 1,500,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
แผนงานการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤติความรุนแรง เป็นแผนงานที่ดำเนินงานในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา ได้แก่ จะนะ เทพา นาทวี และสะบ้าย้อย เป็นความร่วมมือกันระหว่าง สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค 4 สน.) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.เขต 12) องค์การบริหารส่วนตำบล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องชุมชนสุขภาวะ ชุมชนเข้มเข็ง แก่แกนนำชุมชน และจิตอาสา สร้างกระบวนการเรียนรู้การจัดการฐานข้อมูล กระบวนการทำแผนชุมชน และการเขียนโครงการเพื่อแก้ปัญหาชุมชน สร้างระบบติดตามประเมินผล และระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของของแกนนำชุมชน เกิดกลุ่มแกนนำชุมชนและจิตอาสาที่มีศักยภาพในการพัฒนาโครงการ และดำเนินโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาในชุมชน เกิดระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
พัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสา และหน่วยญาลันนันภายใต้โครงการ ญาลันนันบารูกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า เพื่อพัฒนาโครงการเพื่อการจัดการสุขภาวะและดำเนินกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาในชุมชน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของคน และสร้างมุมมองต่อเรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะและสันติสุข -เกิดกลุ่มแกนนำชุมชนและจิตอาสาที่มีศักยภาพในการพัฒนาโครงการ และดำเนินโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาในชุมชน -เกิดระบบติดตามและประเมินผลโครงการ |
||
2 | สร้างกระบวนการเรียนรู้การจัดการฐานข้อมูล กระบวนการทำแผนชุมชน และการเขียนโครงการเพื่อแก้ปัญหาชุมชน มีการการเขียนโครงการเพื่อแก้ปัญหาชุมชน เข้ามารับทุน สปสช |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ย. 2559 15:52 น.