-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์ โครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
- ให้ความรู้เรือ่งแนวทางการปฏิบัติการโครงการสุขภาวะในพื้นที่
- ให้ความรู้เรื่องการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงานโครงการ
- แบ่งกลุ่มปฏิบัติการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลโครงการ
- นำเสนอ แลกเปลี่ยน ผลการแบ่งกลุ่มปฏิบัติการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลโครงการ
สถานะโครงการที่ได้รับการพัฒนา
• ได้รับอนุมัติงบประมาณ6 โครงการ
( ได้รับงบและดำเนินกิจกรรมแล้ว 4 โครงการ รองบประมาณ 2 โครงการ)
• รอพิจารณาจากคณะกรรมการ 3 โครงการ
• รอปรับแก้โครงการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุน 14 โครงการ
• พื้นที่ไม่มีงบประมาณ 6 โครงการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- ชุมชนที่เข้าร่วมพัฒนาศักยภาพ
- หน่วยญาลันนัน
- พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล
- เจ้าหน้าที่กองทุน อบต
- ชุมชนพัฒนาโครงการได้น้อยกว่าเป้าที่วางไว้ / แนวทางแก้ไขคือ ปรับแผนการพัฒนาศักยภาพ โดยสร้างทีมพี่เลี้ยงที่ประกอบด้วยตัวแทนหน่วยญาลันนันบารู ทีมพี่เลี้ยงกองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ในพื้นที่
- พัฒนาศักยภาพที่มพี่เลี้ยงเรื่องมุมมองต่อการจัดการสุขภาวะ และการสร้างเสริมสุขภาพ
- ถอดบทเรียนการดำเนินงานในพื้นที่
-
-
เพื่อปรับโครงการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนสุขภาพตำบล
- ดร.เพ็ญ สุขมาก ให้ความรู้เรืองการพัฒนาและการติดตามประเมินผลโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาวะ
- ภก.สมชาย ละอองพันธ์ ให้ความรู้เรื่อง ประเภทโครงการ กิจกรรม ที่สามารถขอการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
- แบ่งกลุ่มปฏิบัติการโครงการตามรายหมู่บ้าน โดยมีพี่เลี้ยงกองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่จาก อบต.ในพื้นที่ ประกอบเพื่อปรับแก้โครงการให้สมบูรณ์ พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลเข้าระบบทางเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ http://localfund.happynetwork.org/ โดย
วันอังคารที่ 16 พฤษภาคม จังหวัดปัตตานี
วันพุธที่ 17 พฤษภาคม จังหวัดยะลา วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม จังหวัดนราธิวาสและจังหวัดสงขลา - แลกเปลี่ยน อภิปราย ซักถาม จากโครงการที่ปรับแก้
- ชุมชนปรับโครงการตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ฯ ตามคำแนะนำของพี่เลี้ยงกองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่จาก อบต.ในพื้นที่
- บันทึกข้อมูลเข้าระบบทางเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ http://localfund.happynetwork.org/ เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนพิจารณาโครงการต่อไป
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
- ชุมชนที่พัฒนาโครงการ
- หน่วยญาลันนัน
- พี่เลี้ยงกองุทนสุขภาพตำบล
- ตัวแทนจาก สปสช เขต 12
- เจ้าหน้าที่กองทุน ฯ จาก อบต
-
-
-
สร้างระบบฯ
สร้างระบบติดตามประเมินผล และระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของของแกนนำชุมชน
มีระบบติดตามประเมินผล และระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
เพื่อพัฒนาโครงการด้านสุขภาวะของโครงการญาลันนันบารู
ชี้แจงรายละเอียดแนวทาง กระบวนการในการจัดกิจกรรมกลุ่ม - ประเด็นปัญหาและการพัฒนาเพื่อการจัดทำโครงการ - หัวข้อสำคัญในการเขียนโครงการ : ที่มา วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรม งบประมาณ และการติดตามประเมินผล - ประเภทโครงการ กิจกรรม ที่สามารถขอการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล - แบ่งกลุ่มปฏิบัติการโครงการ ตามจังหวัด ได้แก่จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสงขลา โดยมีพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลคอยชี้แนะ และช่วยปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนสุขภาพตำบล - การแลกเปลี่ยน อภิปราย ซักถาม ชุมชนมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อกำหนด และเกณฑ์ต่าง ๆ ในการขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน ฯ
- โครงการที่ชุมชนเขียน ได้รับการปรับแก้ตามคำแนะนำของพี่เลี้ยงกองทุน ฯ
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
- ชุมชนที่พัฒนาโครงการ
- หน่วยญาลันนัน
- พี่เลี้ยงกองุทนสุขภาพตำบล
- ตัวแทนจาก สปสช เขต 12
-
-
-
เพื่อให้ชุมชนเป้าหมายได้พัฒนาโครงการเพื่อการจัดการสุขภาวะ และสามารถขอทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
- ให้ความรู้เรื่องการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
- ให้ความรู้เรื่องการพัฒนาโครงการสุขภาวะ
- แบ่งกลุ่มปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ
- นำเสนอโครงการ
- ให้ความรู้เรื่องแนวทางการขอรับงบประมาณกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาวะชุมชน
- ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้เรื่องการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
- ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้เรื่องการพัฒนาโครงการสุขภาวะ
- แบ่งกลุ่มเพื่อฝึกปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดยแบ่งกลุ่มเป็นชุมชน ร่วมกันวิเคราะห์ชุมชน พัฒนาเป็นโครงการตามกรอบการของบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
- ชุมชนนำเสนอโครงการ และได้รับคำชี้แนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ พี่เลี้ยงกองทุน และตัวแทนจาก สปสช เขต 12
- ตัวแทนจาก สปสช เขต 12 ให้ความรู้เรื่องแนวทางการขอรับงบประมาณกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาวะชุมชน ซึ่งได้รับความสนใจจากชุมชน และมีการซักถามในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขอทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
- หน่วยญาลันนัน
- ชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย
- พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล
- ตัวแทนจาก สปสช เขต 12
-
-
-
เพื่อให้ชุมชนเป้าหมายได้พัฒนาโครงการเพื่อการจัดการสุขภาวะ และสามารถขอทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
พัฒนาและเขียน โครงการฯ แก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน รุ่นที่ 1
- ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้เรื่องการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
- ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้เรื่องการพัฒนาโครงการสุขภาวะ
- แบ่งกลุ่มเพื่อฝึกปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดยแบ่งกลุ่มเป็นชุมชน ร่วมกันวิเคราะห์ชุมชน พัฒนาเป็นโครงการตามกรอบการของบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
- ชุมชนนำเสนอโครงการ และได้รับคำชี้แนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ พี่เลี้ยงกองทุน และตัวแทนจาก สปสช เขต 12
- ตัวแทนจาก สปสช เขต 12 ให้ความรู้เรื่องแนวทางการขอรับงบประมาณกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาวะชุมชน ซึ่งได้รับความสนใจจากชุมชน และมีการซักถามในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขอทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
- หน่วยญาลันนัน
- ชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย
- พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล
- ตัวแทนจาก สปสช เขต 12
-
-
-
เพื่อพัฒนาศักยภาพการติดตามและประเมินผลโครงการ
- ให้ความรู้เรื่องการพัฒนาโครงการ
- ให้ความรู้เรื่องการจัดการข้อมูลสุขภาพชุมชน
- ฝึกปฏิบัติการ การจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
- ให้ความรู้เรื่องการเขียนโครงการและการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพชุมชน
- ฝึกปฏิบัติการ เขียนโครงการในพื้นที่ของตนเอง
- ให้ความรู้เรื่องการติดตามประเมินผล
- หน่วยญาลันนันบารู สามารถวิเคราะห์ชุมชนเพื่อเขียนโครงการได้
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
- หน่วยญาลันนันบารู
- ระยะเวลาน้อยเกินไป ควรเพิ่มจำนวนการอบรม เนื่องจากเป็นเรื่องใหม่ของหน่วยญาลันนัน
-
-
สร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่อง ชุมชนสุขภาวะ ชุมชนเข้มเข็ง แก่แกนนำจิตอาสา
- นำเสนอยุทธศาสตร์และกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็งการสร้างสังคมสุขภาวะ
- ให้ความรู้แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาวะ ในประเด็น
- ความหมาย องค์ประกอบของระบบสุขภาวะ
- ความเข้าใจพื้นฐานทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาวะ
ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้และได้ลองประยุกต์ใช้กับชุมชนตนเอง พร้อมทั้งนำเสนอตัวอย่าง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำจิตอาสาญาลันบารู จำนวน 49 คน ชุมชนในพื้นที่เป้าหมายจำนวน 201 คน ประกอบด้วย
-
-
-
วางแผนกิจกรรมและระยะเวลาในการดำเเนินโครงการ
- ประชุมปรึกษาหารือเพื่อวางแผนการดำเนินงาน และเป้าหมายของโครงการ
- กลุ่มเป้าหมาย
- ระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรม
- กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ต้องพัฒนาศักยภาพ ได้แก่เครือข่ายจิตอาสาญาลันนันบารู
- มีภาคีที่เกี่ยวข้องคือ กองทุนสุขภาพตำบล และสปสช เขต 12 เพื่อจะนำโครงการที่ได้รับการพัฒนาจากเครือข่ายจิตอาสาขอทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
เพื่อกำหนดแนวทางการทำงานร่วมกัน กับทีม กอ.รมน.ภาค 4 สน
ปรึกษาหารือหาเพื่อวางแผนแนวทางการทำงาน ร่วมกันกับ กอ.รมน.ภาค 4 สน
ได้แนวทางการทำงาน โดยจะร่วมกับศูนย์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กอ.รมน.ภาค 4 สน. เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมญาลันนันบารูซึ่งเป็นจิตอาสาที่ฝังตัวอยู่ในชุมชน และเป็นคนในพื้นที่ มีความเข้าใจปัญหาในพื้นที่เป็นอย่างดี
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- รองแม่ทัพ ภาค 4
- ทีมงานจากศูนย์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กอ.รมน.ภาค 4 สน.
- ทีมจากสำนักมวลชนและกิจการพิเศษ กอ.รมน.ภาค 4 สน.
-
-
-
เพื่อประชุมเชิงพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ระบบสุขภาพตามวิถีชุมชน
-เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ระบบสุขภาพตามวิถีชุมชน ปี 2559 เพื่อรับฟังแนวทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจากศูนย์บริหารการพัฒนาสุขภาพจังหวัดชายแดนใต้ (ศบ.สต.)
- ได้รับฟังแนวทางการดำเนินงานด้านสาธารณสุข
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-คณะทำงานสุขภาวะชุมชน
-
-
-
เพื่อปรึกษาหารือถึงแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบัณฑิตอาสาในพื้นที่
การประชุมปรึกษาหารือการพัฒนาศักยภาพบัณฑิตอาสา
ได้แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบัณฑิตอาสา ศอ.บต
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่จากสำนักนโยบายสังคมจิตวิทยา ศอ.บต
คณะทำงานโครงการ ศวสต
แผนการดำเนินงานต้องนำเรียนต่อเลขาธิการ ศอ.บต. ก่อน เพื่อสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการต่อ แต่การนัดประชุมร่วมกับเลขา ฯ มีอุปสรรคด้านเวลา ทำให้การดำเนินงานล่าช้า และไม่ต่อเนื่อง
-
-