สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช) ”

อบต.ไสหร้า

หัวหน้าโครงการ
นายกิตติศักดิ์ ทองเกตุ

ชื่อโครงการ การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช)

ที่อยู่ อบต.ไสหร้า จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 59-ข-050 เลขที่ข้อตกลง 59-ข-050

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 สิงหาคม 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช) จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อบต.ไสหร้า

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช)



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช) " ดำเนินการในพื้นที่ อบต.ไสหร้า รหัสโครงการ 59-ข-050 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 สิงหาคม 2559 - 28 กุมภาพันธ์ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 7 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. การจัดการข้อมูลความมั่นคงด้าน อาหารการจัดการข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร
  2. การจัดทำข้อมูล สถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย
  3. การจัดการข้อมูลสถานการณ์ด้านสภาวะโภชนาการการจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการ
  4. การกำหนดเป้าหมาย หรือ ภาพอนาคตของชุมชนที่ต้องการในเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
  5. การกำหนดยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย การกำหนดยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เวทีชี้แจงโครงการและจัดทำข้อตกลง

    วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามรายละเอียดรายงานการประชุม

    • ระเบียบวาระที่๑ประธานแจ้งเพื่อทราบ โดยนายกิตติศักดิ์ทองเกตุหัวหน้าสำนักปลัด
    • ระเบียบวาระที่๒เรื่องรับรองรายงานการประชุม
    • ระเบียบวาระที่๓เรื่องแจ้งเพื่อทราบ นายทวีปรัตนะพร้อมด้วยคุณปราโมทย์พรมพิทักษ์ในการปฏิบัติงานของ ระบบการทำงานเรื่อง ด้านความมั่งคงทางอาหาร ด้านความปลอดอาหาร ด้านโภชนาการสมวัย
    • ระเบียบวาระที่๔เรื่องเพื่อพิจารณา การแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานกองทุนการจัดการอาหารปลอดภัยตำบลไสหร้า
    • ระเบียบวาระที่๕เรื่องอื่นๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อให้เกิการดำเนินงานในกิจกรรม

    1.ได้ไปศึกษาดูงานที่องค์การบริหารส่วนตำบลควนรู ในการปฏิบัติงานของ ระบบการทำงาน

    • ด้านความมั่งคงทางอาหาร
    • ด้านความปลอดอาหาร
    • ด้านโภชนาการสมวัย

    2.การแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานกองทุนการจัดการอาหารปลอดภัยตำบลไสหร้า

    3.ได้กำหนดวันจัดทำข้อมูลด้านความมั่งคงทางอาหาร

     

    30 22

    2. ประชุมคณะทำงานการจัดการข้อมูลความมั่นคงด้านอาหาร

    วันที่ 19 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แจ้งที่ประชุมทราบเพื่อนำเครื่องมือแบบสอบถามไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ก่อนรับแบบสอบถามเพื่อนำไปสำรวจในแต่ละหมู่บ้านทั้งหมด 280 ชุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 8 หมู่บ้าน ได้ข้อมูล 280 ชุด เกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำสวนยางพารา ใช้ปุ๋ยเคมีในการเกษตร ข้อมูลที่ได้จะนำไปรวบรวมคีย์ลงในโปรแกรม EXcel เพื่อนำไปจัดทำ Mapping ระบบอาหาร

     

    25 22

    3. ประชุมส่งแบบสอบถามการจัดการข้อมูลความมั่นคงด้าน อาหารการจัดการข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่สำรวจข้อมูล เก็บข้อมูลจำนวน 285 ชุดในตำบลไสหร้า8 หมู่บ้าน ใช้วิธีการสำรวจ สัมภาษณ์ โดยใช้คำถามจากแบบสอบถามเป็นคำถามหลัก เรื่องที่เก็บเป้นเรื่องความมั่นคงทางอาหารตำบลไสหร้า การเก้บข้อมูลในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจาก ส.อบต.ไสหร้า อสม. ผู้ใหญ่บ้าน และเจ้าหน้าที่ อบต.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับข้อมูลแบบสอบถามทั้งหมด 279 ชุด ข้อมูลที่พบ มีการทำการเกษตรส่วนใหญ่จะเป็นการทำการเกษตรสวนยางพาราเป็นส่วนมากและจะมีการทำสวนปาล์มรองลงมาจากยางพารามีการเลี้ยงสัตว์และทำสวนผัก-ผลไม้

     

    30 23

    4. คีย์ข้อมูลจากแบบสอบถามลงโปรแกรม Excel

    วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำข้อมูลที่เก็บได้จากแบบสอบถาม มาคีย์ลงโปรแกรม Excel เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหารในตำบลไสหร้า จำนวน .....ชุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้จำนวนในข้อมูลแบบสอบถามในแต่ละลายละเอียดของแบบสอบถาม - ข้อมูลเรื่องข้าว - ข้อมูลเรื่องผักสวนครัว - ข้อมูลเรื่องยางพารา - ข้อมูลเรื่องปาล์ม - ข้อมูลเรื่องการเลี้ยงสัตว์

     

    4 4

    5. วิเคราะห์ข้อมูลความมั่นคงทางด้านอาหาร

    วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำข้อมูลจากแบบสอบถามที่คีย์ในระบบ Excel มาวิเคราะห์และจัดกลุ่มตามประเด็น ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ซึ่งได้เรียนรู้การวิเคราะหืข้อมูลจากการจัดอบรมโดยทีม สจรส.ม.อ.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    1 2

    6. ถอนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อถอนเงินค่าเปิดบัญชี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ถอนเงินค่าเปิดบัญชี 100 บาท

     

    2 2

    7. ประชุมตรวจเอกสารการเงินโดย สจรส.มอ.

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารทางการเงินงวดที่1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับคำแนะนำเรื่องการจัดทำเอกสารทางการเงินโดยสจรส.มอ.เพื่อให้ถูกต้อง

     

    10 8

    8. ประชุมคณะทำงานเตรียมข้อมูลเพื่อจัดเวทีคืนข้อมูล

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการในโครงการได้ร่วมประชุมวางแผนการจัดเวทีคืนข้อมูลและจัดทำแผนร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารในตำบลไสหร้า โดยได้กำหนดผู้เข้าร่วมประชุม การเตรียมเอกสาร และกระบวนการในเวที

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการในโครงการ ได้สรุปว่าจะจัดเวทีคืนข้อมูลและจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในวันที่ 23 พฤษภาคม 60 ที่ อบต.ไสหร้า โดยเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมจัดทำแผน ได้แก่ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสมเดจพระยุพราชฉวาง เจ้าหน้าที่ อบต. ครู กศน. อสม. และเกษตรกรชาวสวนยาง

     

    20 25

    9. จัดเวทีคืนข้อมูลเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลไสหร้า

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เปิดการประชุมชี้แจงโครงการ โดย นายกิตติศักดิ์ทองเกตุ หัวหน้าสำนักปลัด
    • ชี้แจงเป้าหมายของการทำโครงการการจัดากรข้อมูลความมั่นคงทางอาหารตำบลไสหร้า โดยคุณวรรณา สุวรรณชาตรี เจ้าหน้าที่ สจรส.ม.อ.
    • แบ่งกลุ่มระดมความคิดเห็นจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ใน 3 ประเด็น คือ กลุ่มความมั่นคงทางอาหาร กลุ่มอาหารปลอดภัย และกลุ่มโภชนาการสมวัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถจัดทำข้อมูลร่างแผนยุทธศาสตร์สำหรับอบต.ไสหร้าได้ รวมกันจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์เพื่อที่จะนำแร่างแผนที่ได้ไปประกอบการจัดทำเวทีของจังหวัดนครศรีธรรมราช - แผนการา่งเสริมปลูกผักในสวนยางพารา(อายุยาง 1-3ปี) -โครงการส่งเสริมให้มีมาตราการจัดการดินและน้ำ -โครงการภาวะโภชนาการในเด็กและเด็กก่อนวัยเรียน -โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโภชนาการในเด็ก

     

    35 32

    10. จัดเวทีคืนข้อมูลร่างแผนยุทธศาตร์ตำบลไสหร้า

    วันที่ 26 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาองค์กร
    • เพื่อพัฒนาการเกษตรและปศุสัตว์เพื่อให้เกิดอาชีพและรายได้ของเกษตรกร
    • เพื่อเป็นแนวทางการวิเคราะห์ทุนชุมชน ในด้านความมั่นคงทางอาหาร และโภชนาการสมวัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จะทำให้เกิดกลุ่มอาชีพ เช่น กลุ่มทำเครื่องแกงกลุ่มทำน้ำยาล้างจาน
    • มีหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เช่น กลุ่มส่งเสริมอาชีพกลุ่มทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

     

    30 0

    11. ร่วมกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการจัดการอาหารกลางวัน ณ.สจรส.มอ.

    วันที่ 29 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมอบรมเชิงปฎิบัติการขับเคลื่อนการจัดการระบบอาหารแบบบูรณาการ วันที่29-30 มิถุนายน 2560

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความรู้ความเข้าใจในมาตราฐานอาหารกลางวัน สามารถใช้โปรแกรมINMU-School Lunch ทำให้มีความรู้ด้านการจัดการเมนูอาหาร
    ความรู้ด้านโภชนาการ

     

    4 4

    12. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานตามแผนจัดทำกิจกรรมฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รายงานฉบับสมบุรณ์จำนวน 10 เล่มจัดส่งให้ สจรส.มอ.เรียบร้อยแล้ว

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 การจัดการข้อมูลความมั่นคงด้าน อาหารการจัดการข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร
    ตัวชี้วัด : ข้าว ปศุสัตว์ อาหารทะเล พืชผัก ผลไม้ (ขึ้นอยู่กับบริบทของพื้นที่)ในประเด็นสำคัญดังนี้ 1.1 สถานการณ์ของอาหารแต่ละประเภท เช่นพื้นที่การผลิต วัตถุประสงค์การผลิต (เพื่อบริโภคหรือเพื่อจำหน่วย หรือทั้งบริโภคและจำหน่าย รูปแบบการผลิต แบบอินทรีย์เคมี หรือผสมผสาน) 1.2 กลุ่มเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต จำหน่วย และบริโภค ระบบการตลาดภายใน หรือการตลาดภายนอกชุมชน ของอาหารและประเภท 1.4 ระบบการกระจายผลผลิต ของอาหารแต่ละประเภท 1.5 หน่วยงานที่มีหน้าที่ในการสนับสนุน หรือขับเคลื่อน การดำเนินงานแต่ละประเภทอาหาร

    เกิดกลุ่มการผลิตและจำหน่ายผักปลอดสารพิษในชุมชน

    2 การจัดทำข้อมูล สถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : เกิดกลไก ระบบการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร

    จะมีกลุ่มของโรงพยาบาลที่เข้ามาตรวจคุณภาพของสารปนเปื่นในอาหารสมเด็จพระยุพราช

    3 การจัดการข้อมูลสถานการณ์ด้านสภาวะโภชนาการการจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : เกิดข้อมูลกลุ่ม - กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ - กลุ่มเด็ก 0- 3 ปี - กลุ่มเด็ก 3-5 ปี - กลุ่มเด็ก 6-14 ปี - กลุ่มผู้สูงอายุ

     

    4 การกำหนดเป้าหมาย หรือ ภาพอนาคตของชุมชนที่ต้องการในเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
    ตัวชี้วัด : เกิดการกำหนดเป้าประสงค์วิสัยทัศน์ในการจัดการความมั่นคงทางอาหาร และโภชนาการที่สมวัย

    มีการวางแผนการดำเนินกิจกรรมในโครงการ

    5 การกำหนดยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย การกำหนดยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
    ตัวชี้วัด : เกิดแผนยุทธศาสตร์ท้องถิ่นเรื่องความมั่นคงทางอาหาร และโภชนาการที่สมวัยเกิดแผนยุทธศาสตร์ท้องถิ่นเรื่องความมั่นคงทางอาหาร และโภชนาการที่สมวัย

     

    6
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การจัดการข้อมูลความมั่นคงด้าน อาหารการจัดการข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร (2) การจัดทำข้อมูล สถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย (3) การจัดการข้อมูลสถานการณ์ด้านสภาวะโภชนาการการจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการ (4) การกำหนดเป้าหมาย หรือ ภาพอนาคตของชุมชนที่ต้องการในเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย (5) การกำหนดยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย การกำหนดยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย (6)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช)

    รหัสโครงการ 59-ข-050 รหัสสัญญา 59-ข-050 ระยะเวลาโครงการ 30 สิงหาคม 2559 - 28 กุมภาพันธ์ 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ชุดข้อมูล/ฐานข้อมูล สถานการณ์อาหารในพื้นที่

    แบบสำรวจและข้อมูลการวิเคราะห์เอกสารที่ใช้ในเวทีคืนข้อมูล

    นำข้อมูลไปใช้ในเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชนและยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหาร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การจัดทำแผนชุมชนโดยเชิญผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมาประชุมทำแผนร่วมกันและใช้ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เพื่อเข้าแผนพัฒนาใน อบต.ไสหร้า

    รายงานกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลและจัดทำแผนยุทธศาสตร์อาหารในวันที่ 23พ.ค. 2560

    เข้าแผนพัฒนาปี2561-2563

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    แปลงเกษตรปลอดสารพิษและแปลงเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนและใน ศพด.บ้านไสหร้า

    โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนและในศพด.บ้านไสหร้า

    พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ในโรงเรียนใน อบต.ไสหร้า

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคของเด็กใน ศพด.

    มีเมนูอาหารบอกให้รู้ทุกๆอาทิตย์ที่เมนูบอร์ด

    จัดทำโครงการเมนูอาหารกลางวันในโรงเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    มีกิจกรรมให้เด็กในโรงเรียนและใน ศพด.บ้านไส้หร้าได้ออกกำลังกายในตอนเช้า

    กิจกรรมออกกำลังกายยามเช้าหน้าเสาธง

    เพิ่มอุปกรณ์ในการออกกำลังกายให้มีความหลากหลาเพื่อก่อให้เกิดความสนใจในการออกกำลังกายมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    เพิ่มพื้นที่ในการปลูกพืชสมุนไพรที่เป็นยารักษาโรค

    บ้านผู้นำชุมชน,โรงเรียน,โรงพยบาล

    จัดทำโครงการปลูกพืชผักสมุนไพรในโรงเรียนและในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    การส่งเสริมปลูกพืชผักในสวนยางพารา(อายุสวนยาง 1-3 ปี)

    เกษตรกรผู้ปลูกยางในอบต.ไสหร้า

    จัดหาและส่งเสริมให้ความช่วยเหลือในเรื่องของเมล็ดพันธ์ุ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    ยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลไสหร้า 3 ประเด็น คือ ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยในเด็กเล็ก

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร

    นำยุทธศาสตร์ไปใช้ในแผนปี2561-2563

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

    เกิดแผนงาน/โครงการในร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลไสหร้า ดังนี้

    1. ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร
    • โครงการส่งเสริมปลูกพืชผักในสวนยางพารา(อายุสวนยาง 1-3 ปี)
    • โครงการให้ความรู้สร้างความตระหนักในครัวเรือน การจัดการดินและน้ำ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อม
    • โครงการสร้างเครือข่ายเกษตรกรเพื่อจัดหาเมล็ดพันธ์ในการปลูกพืชร่วมสวนยาง
    • โครงการสนับสนุนการจัดหาแหล่งน้ำ
    • โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวและพืชหลากหลายชนิดในกระถางจากเศษเหลือใช้สำหรับครัวเรือนที่ไม่มีพื้นที่ปลูกยางพาราอายุ1-3ปี

    2.ประเด็นอาหารปลอดภัย

    • โครงการส่งเสริมให้มีมาตรการจัดการดินและน้ำ และการปลูกพืชผักโดยใช้หลักการอินทรีย์ 100 %
    • โครงการสร้างตลาดนัดพืชผักสีเขียวทุกวันจันทร์,พุธ,ศุกร์ หน้าอบต.

    3.ประเด็นโภชนาการสมวัย

    • โครงการภาวะโภชนาการในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    • โครงการ ปรับพฤติกรรมโภชนาการในเด็ก
    • โครงการการคัดกรองตรวจประเมินและติดตามพัฒนาการของเด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กวัยเรียน

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร

    นำยุทธศาสตร์ไปใช้ในแผนปี2561-2563

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช) จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 59-ข-050

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายกิตติศักดิ์ ทองเกตุ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด