การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช)
เพื่อจักทำรายงานฉบับสมบูรณ์
รายงานตามแผนจัดทำกิจกรรมฉบับสมบูรณ์
ได้รายงานฉบับสมบุรณ์จำนวน 10 เล่มจัดส่งให้ สจรส.มอ.เรียบร้อยแล้ว
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการในโครงการ
-
-
-
เพื่ออบรมเมนูจัดการอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ
เข้าร่วมอบรมเชิงปฎิบัติการขับเคลื่อนการจัดการระบบอาหารแบบบูรณาการ วันที่29-30 มิถุนายน 2560
มีความรู้ความเข้าใจในมาตราฐานอาหารกลางวัน
สามารถใช้โปรแกรมINMU-School Lunch ทำให้มีความรู้ด้านการจัดการเมนูอาหาร
ความรู้ด้านโภชนาการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสหร้า
ความต้องการในการจัดเมนูอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
กลุ่มเมนูอาหารและคุณค่าทางโภชนาการ
การจัดหาแหล่งวัตถุดิบที่เหมาะสม
เพื่อคืนข้อมูลแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตำบลไสหร้า
- เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาองค์กร
- เพื่อพัฒนาการเกษตรและปศุสัตว์เพื่อให้เกิดอาชีพและรายได้ของเกษตรกร
- เพื่อเป็นแนวทางการวิเคราะห์ทุนชุมชน ในด้านความมั่นคงทางอาหาร และโภชนาการสมวัย
- จะทำให้เกิดกลุ่มอาชีพ เช่น กลุ่มทำเครื่องแกงกลุ่มทำน้ำยาล้างจาน
- มีหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เช่น กลุ่มส่งเสริมอาชีพกลุ่มทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
- ต้องช่วยกันดูแลและทำความเข้าใจในระบบและแบบแผนการปฎิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
-
-
เพื่อจัดทำข้อมูลร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลไสหร้า
- เปิดการประชุมชี้แจงโครงการ โดย นายกิตติศักดิ์ทองเกตุ หัวหน้าสำนักปลัด
- ชี้แจงเป้าหมายของการทำโครงการการจัดากรข้อมูลความมั่นคงทางอาหารตำบลไสหร้า โดยคุณวรรณา สุวรรณชาตรี เจ้าหน้าที่ สจรส.ม.อ.
- แบ่งกลุ่มระดมความคิดเห็นจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ใน 3 ประเด็น คือ กลุ่มความมั่นคงทางอาหาร กลุ่มอาหารปลอดภัย และกลุ่มโภชนาการสมวัย
สามารถจัดทำข้อมูลร่างแผนยุทธศาสตร์สำหรับอบต.ไสหร้าได้ รวมกันจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์เพื่อที่จะนำแร่างแผนที่ได้ไปประกอบการจัดทำเวทีของจังหวัดนครศรีธรรมราช - แผนการา่งเสริมปลูกผักในสวนยางพารา(อายุยาง 1-3ปี) -โครงการส่งเสริมให้มีมาตราการจัดการดินและน้ำ -โครงการภาวะโภชนาการในเด็กและเด็กก่อนวัยเรียน -โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโภชนาการในเด็ก
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
กลุ่มสมาชิก อสม.ต.ไสหร้าผู้ดูแลระบบความมั่นคงอาหาร ส.อบต.ไสหร้า เจ้าหน้าที่ร.พ.พยุพระราชฉวาง
การทำงานร่วมกับยังไม่เกิดผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย
ต้องหน้าข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลที่ได้รับยังไม่ครบ
เพื่อประชุมคณะทำงานเตรียมข้อมูลเวทีคืนข้อมูล
คณะกรรมการในโครงการได้ร่วมประชุมวางแผนการจัดเวทีคืนข้อมูลและจัดทำแผนร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารในตำบลไสหร้า โดยได้กำหนดผู้เข้าร่วมประชุม การเตรียมเอกสาร และกระบวนการในเวที
คณะกรรมการในโครงการ ได้สรุปว่าจะจัดเวทีคืนข้อมูลและจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในวันที่ 23 พฤษภาคม 60 ที่ อบต.ไสหร้า โดยเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมจัดทำแผน ได้แก่ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสมเดจพระยุพราชฉวาง เจ้าหน้าที่ อบต. ครู กศน. อสม. และเกษตรกรชาวสวนยาง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่อบต.ไสหร้า ส.อบต.ไสหร้า สมาชิกอสม.ต.ไสหร้า
ความเข้าใจในการทำแผน
ต้องทำข้อมูลที่ขาดหายให้ครบ
จำนวนในการลงพื้นที่มีน้อย
เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารทางการเงินงวดที่1
ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารทางการเงินงวดที่1
ได้รับคำแนะนำเรื่องการจัดทำเอกสารทางการเงินโดยสจรส.มอ.เพื่อให้ถูกต้อง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานในโครงการและคณะสจรส.มอ.
ลงข้อมูลทางการเงินยังไม่ครบ
-
-
ถอนเงินค่าเปิดบัญชี
เพื่อถอนเงินค่าเปิดบัญชี
ได้ถอนเงินค่าเปิดบัญชี 100 บาท
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่โครงการ
-
-
-
เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลความมั่นคงทางด้านอาหาร
นำข้อมูลจากแบบสอบถามที่คีย์ในระบบ Excel มาวิเคราะห์และจัดกลุ่มตามประเด็น ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ซึ่งได้เรียนรู้การวิเคราะหืข้อมูลจากการจัดอบรมโดยทีม สจรส.ม.อ.
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
-
-
-
เพื่อบันทึกข้อมูลความมั่นคงทางอาหารลงโปรแกรม Excel
นำข้อมูลที่เก็บได้จากแบบสอบถาม มาคีย์ลงโปรแกรม Excel เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหารในตำบลไสหร้า จำนวน .....ชุด
ได้จำนวนในข้อมูลแบบสอบถามในแต่ละลายละเอียดของแบบสอบถาม - ข้อมูลเรื่องข้าว - ข้อมูลเรื่องผักสวนครัว - ข้อมูลเรื่องยางพารา - ข้อมูลเรื่องปาล์ม - ข้อมูลเรื่องการเลี้ยงสัตว์
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
พนักงาน อบต.ไสหร้า
-
-
-
เพื่อเก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหารในตำบลไสหร้า
ลงพื้นที่สำรวจข้อมูล เก็บข้อมูลจำนวน 285 ชุดในตำบลไสหร้า8 หมู่บ้าน ใช้วิธีการสำรวจ สัมภาษณ์ โดยใช้คำถามจากแบบสอบถามเป็นคำถามหลัก เรื่องที่เก็บเป้นเรื่องความมั่นคงทางอาหารตำบลไสหร้า การเก้บข้อมูลในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจาก ส.อบต.ไสหร้า อสม. ผู้ใหญ่บ้าน และเจ้าหน้าที่ อบต.
ได้รับข้อมูลแบบสอบถามทั้งหมด 279 ชุด ข้อมูลที่พบ มีการทำการเกษตรส่วนใหญ่จะเป็นการทำการเกษตรสวนยางพาราเป็นส่วนมากและจะมีการทำสวนปาล์มรองลงมาจากยางพารามีการเลี้ยงสัตว์และทำสวนผัก-ผลไม้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
สอบต.ไสหร้า, อสม.ตำบลไสหร้า 8 หมู่บ้าน,ผู้ใหญ่บ้าน อบต.ไสหร้า
-
ส่วนราชการต้องลงพื้นที่ด้วย
การลงพิกัด
ประชุมคณะทำงาน ออกแบบสำรวจการจัดการข้อมูลความมั่นคงทางด้านอาหารตำบลไสหร้า
แจ้งที่ประชุมทราบเพื่อนำเครื่องมือแบบสอบถามไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ก่อนรับแบบสอบถามเพื่อนำไปสำรวจในแต่ละหมู่บ้านทั้งหมด 280 ชุด
เก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 8 หมู่บ้าน ได้ข้อมูล 280 ชุด เกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำสวนยางพารา ใช้ปุ๋ยเคมีในการเกษตร ข้อมูลที่ได้จะนำไปรวบรวมคีย์ลงในโปรแกรม EXcel เพื่อนำไปจัดทำ Mapping ระบบอาหาร
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
สอบต.ไสหร้า,คณะ อสม.ตำบลไสหร้า จำนวน 8 หมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลพระยุพราชฉวาง
-
-
-
เพื่อชี้แจงโครงการและจัดตั้งคณะทำงาน วางแผนลงทำกิจกรรม
ตามรายละเอียดรายงานการประชุม
- ระเบียบวาระที่๑ประธานแจ้งเพื่อทราบ โดยนายกิตติศักดิ์ทองเกตุหัวหน้าสำนักปลัด
- ระเบียบวาระที่๒เรื่องรับรองรายงานการประชุม
- ระเบียบวาระที่๓เรื่องแจ้งเพื่อทราบ นายทวีปรัตนะพร้อมด้วยคุณปราโมทย์พรมพิทักษ์ในการปฏิบัติงานของ ระบบการทำงานเรื่อง ด้านความมั่งคงทางอาหาร ด้านความปลอดอาหาร ด้านโภชนาการสมวัย
- ระเบียบวาระที่๔เรื่องเพื่อพิจารณา การแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานกองทุนการจัดการอาหารปลอดภัยตำบลไสหร้า
- ระเบียบวาระที่๕เรื่องอื่นๆ
เพื่อให้เกิการดำเนินงานในกิจกรรม
1.ได้ไปศึกษาดูงานที่องค์การบริหารส่วนตำบลควนรู ในการปฏิบัติงานของ ระบบการทำงาน
- ด้านความมั่งคงทางอาหาร
- ด้านความปลอดอาหาร
- ด้านโภชนาการสมวัย
2.การแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานกองทุนการจัดการอาหารปลอดภัยตำบลไสหร้า
3.ได้กำหนดวันจัดทำข้อมูลด้านความมั่งคงทางอาหาร
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ส.อบต.ไสหร้า , อสม.ต.ไสหร้า 8 หมู่บ้าน
-
-
-