สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

task_alt

การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน

ชุมชน ภาคใต้ฝั่งอันดามัน (จังหวัดระนอง, จังหวัดพังงา, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดกระบี่, จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล)

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง เลขที่ 62-ข-001

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2562

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มกราคม 2562 ถึงเดือน กรกฎาคม 2562

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ทบทวนเอกสาร รูปแบบหลักสูตร CBT

วันที่ 15 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุม2. ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน3. ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับค

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ศึกษาข้อมูล การจัดทำหลักสูตร ทั้ง หมดที่มีความเกี่ยวข้องกับ รูปแบบหลักสูตร CBT ในปัจจุบัน
    ผลผลิต : ได้ข้อมูลจากการศึกษา การจัดกทำหลักสูตร ในแบบ degree และ non degree ทั้ง 4 รุปแบบ คือ ตำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี และหลักสูตรระยะสั้น ผลลัพธ์ : ข้อมูลของการจัดทำหลักสูตร ในปัจจุบัน ที่เกี่ยวข้องและสอดคล้องกับหลักสูตร CBT มี รุปแบบหลักสูตรระยะสั้น ภายใต้ความรับผิดชอบและดำเนินการโดยหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ และสถาบันการศึกษา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ทบทวนเอกสาร รูปแบบหลักสูตร CBT ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ทั้งในแบบ degree และ non degree ทุกระดับ ทั้งต่ำกว่า ป.ตรี  ป.ตรี  โท  เอก รวมทั้งรูปแบบการอบรมระยะสั้น
  2. จัดทำ mapping และสังเคราะห์รูปแบบหลักสูตรที่พึงประสงค์จากการทบทวนเอกสารในข้อที่ 1

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

5 0

2. ทบทวนหลักสูตร CBT

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทบทวนเอกสาร หลักสูตร CBT

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้แนวทางในการศึกษาข้อมูล ของการจัดทำหลักสูตร รวมทั้งกรอบข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ ภายในหน่วยงาน สจรส มอ. เกี่ยวกับข้อมูล ในการทบทวน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1 สำรวจศักยภาพ ความพร้อม ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียสำคัญในการจัดหลักสูตร CBT เช่น สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย อปท. อบจ.ภาคเอกชนที่สนใจ ฯลฯ
2 สำรวจความต้องการบุคลกรด้าน CBT (สอบถามผู้ใช้บริการนักศึกษาหรือบัณฑิต เช่น สมาคมท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ เจ้าของธุกิจ ภาครัฐ เอกชน สมาคมท่องเที่ยวชุมชน ฯลฯ) 3 สำรวจความต้องการเรียนด้าน CBT (สอบถามผู้ที่ต้องการเรียนลักสูตร )

กิจกรรมที่ทำจริง

ทบทวนหลักสูตร CBT

 

5 5

3. ทบทวนหลักสูตร CBT

วันที่ 23 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุม
  2. ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน
  3. ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับค

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ทบทวนข้อมูลจากข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ข้อมูลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้ง แนวทางของหลักสูตรที่เป็นไปได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ทบทวนหลักสูตร CBT

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

5 5

4. กิจกรรม Mapping

วันที่ 2 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กิจกรรม Mapping

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กิจกรรม Mapping

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรม Mapping

 

5 5

5. ทบทวนหลักสูตร (Mapping)

วันที่ 29 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ทบทวนหลักสูตร (Mapping)

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • เกิดการสังเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน ได้ดังนี้ ผลผลิต (Output) : คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนชุมชน สังคมและภูมิภาค
    ผลลัพธ์ (Outcome) : หลักสูตรที่พึงประสงค์ และมีความสอดคล้องกับการท่องเที่ยวโดยชุมชนในปัจจุบัน ควรเป็นหลักสูตรระยะสั้น ด้วยองค์ประกอบและขีดจำกัดของการพัฒนาชุมชนหลายๆ ด้าน เช่น ด้านระยะเวลา ด้านต้นทุนค่าใช้จ่าย และด้านการจัดการความรู้ในระยะยาว ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม: ความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน เป็นหลักสูตรรูปแบบระยะสั้น ซึ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในชุมชน ด้านต่างๆ เช่น ทักษะด้านภาษา ทักษะด้านการบริการ ด้านการตลาด และด้านเทคโรชนโลนี ซึ่งมาจากหน่วยงานที่ศักยภาพและความพร้อมที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ต่างๆ เช่น สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจัดหวัด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยสำนักงานจังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด และมหาวิทยาลัยในเขตภูมภาคภาคใต้ฝั่งอันดามัน อีก 6 แห่ง เป็นต้น ซึ่งได้จัดทำโครงการพัฒนา เป็นหลักสูตรระยะสั้น หลากหลายโครงการ ตามรอบระยะเวลาของปีงบประมาณ ที่ได้รับการจัดสรร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ทบทวนหลักสูตร (Mapping)

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

5 5

6. กิจกรรม focus group

วันที่ 3 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุม2. ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน3. ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับค

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ทราบข้อมูลที่สำคัฐต่อการพัฒนาการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชน
    ผลผลิต (Output) : ศักยภาพและความพร้อมของผู้มีส่วนสำคัญในการจัดหลักสูตร CBT cและความต้องการของบุคลากรด้าน CBT ที่ได้รับการพัฒนาหลักสูตรหรืออบรม รวมถึงความต้องการเรียน อบรมและพัฒนาด้าน CBT ของกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลลัพธ์ (Outcome) : 1.มีการจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุน การจัดทำหลักสูตร CBT               2. เกิดการสนับสนุนทรัพยากรบุคคลในการเข้ามาพัฒนาและจัดทำหลักสูตร               3.เกิดการสนับสนุนการจ้างงาน มีการยอมรับในกระบวนการ และทักษะการทำงานของบุคลากรด้าน CBT               4. มีการสร้างรายได้ และกระจายรายได้สู่ชุมชน               5 .ความต้องการและสนใจในการเรียนนั้น เป็นรูปแบบของการพัฒนาแบบการอบรมแบบหลักสูตรระยะสั้น
                  6. หลักสูตรที่เกิดขึ้นเน้นการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถเฉพาะด้านการบริการ การตลาด และการจัดการเชิงธุรกิจ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม : จากการจัดทำเวทีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ทราบประเด็นข้อมูลที่สำคัญๆ เกี่ยวกับ ข้อมูลส่วนความต้องการในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนเช่น ประเด็นด้านศักยภาพของชุมชนต่อการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนในแต่ละด้าน ประเด็นด้านความต้องการของชุมชนต่อการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชน ด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ของชุมชนเมื่อมีการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน และด้านการสร้างความร่วมมือหรือแนวทางให้แก่ชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กิจกรรม focus group

กิจกรรมที่ทำจริง

สำรวจศักยภาพ ความพร้อม และความต้องการหลักสูตร ใช้วิธี rapid survey ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม ดังนี้ 1. สำรวจศักยภาพ ความพร้อม ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียสำคัญในการจัดหลักสูตร CBT เช่น สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย อปท. อบจ.ภาคเอกชนที่สนใจ ฯลฯ ด้วยกระบวนการสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม 2. สำรวจความต้องการบุคลกรด้าน CBT (สอบถามผู้ใช้บริการนักศึกษาหรือบัณฑิต เช่น สมาคมท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ เจ้าของธุกิจ ภาครัฐ เอกชน สมาคมท่องเที่ยวชุมชน ฯลฯ) ด้วยกระบวนการณ์สัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม 3. สำรวจความต้องการเรียนด้าน CBT (สอบถามผู้ที่ต้องการเรียนลักสูตร ) การตอบแบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม

 

5 5

7. สังเคราะห์ข้อมูล ประชุมสรุปหลักการ

วันที่ 19 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุม
  2. ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน
  3. ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับค

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง: ทราบถึงรูปแบบของการจัดการของหลักสูตร ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในปจจุบัน ที่เกิดขึ้นในภาคใต้ฝั่งอันดามัน ผลผลิต (Output): เป็นการประสานการทำงานกับกลุ่มผู้บริหารของหน่วยงานทั้งรัฐ ท้องถิ่น เอกชน องค์กรสาธารณะประโยชน์ สื่อ เป็นหลัก และเป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีกลไกการทำงานของตนเองอยู่
ผลลัพธ์ (Outcome) : กลุ่มชุมชนการท่องเที่ยว รวมทั้งผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งกลุ่ม ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาเกิดการประสานงานที่เป็นระบบกลไกผ่านการรับผิดชอบหลักของโครงการ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม: 1. ทราบการประสานงานด้วยระบบกลไกการเชื่อมโยงข้อมูลโครงการในการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน                   2. เกิดความเข้าใจที่มีความคลาดเคลื่อนในวัตถุประสงค์ของโครงการต่อกลุ่มชุมชนการท่องเที่ยว ต่อแนวโน้มการพัฒนาเป็นการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนภาคใต้ฝั่งอันดามัน                   3. ได้แนวทางในการศึกษาโอกาส และความเป็นไปได้ของการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนภาคใต้ฝั่งอันดามัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

สังเคราะห์ข้อมูล ประชุมสรุปหลักการ

กิจกรรมที่ทำจริง

ทบทวนเอกสาร รูปแบบหลักสูตร CBT ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ทั้งในแบบ degree และ non degree ทุกระดับ ทั้งต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี โท เอก รวมทั้งรูปแบบการอบรมระยะสั้น

 

3 3

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 7 7                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 150,000.00 151,588.00                    
คุณภาพกิจกรรม 28 14                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ทบทวนหลักสูตร CBT ( 26 ก.พ. 2562 )

(................................)
อาจารย์มาฆฤกษ์ ชูช่วย
ผู้รับผิดชอบโครงการ