สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
คุณอานนท์ มีศรี

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 59-ข-032

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2559 ถึง 30 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2559 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,500,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 22 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. สร้างเครือข่ายวิทยุสื่อสร้างสุขภาคใต้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เชื่อมโยงเครือข่ายสื่อ ประสานงานและทำความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขสุขภาพกับการสื่อสาร ครั้งที่ 1

    วันที่ 30 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีประชุมตามกำหนดการ
    1. รายงานผลการวิจัย โดย นศ.ปริญาโท จาก มอ. โดยการรายงานให้กับกลุ่มตัวแทนในพื้นที่ร่วมกันวิพากษ์ และตรวจสอบ
    2. นายกอบต.ควนรู รายงานผลการทำงานด้านอาหารในพื้นที่ ในระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา สร้างความเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรมของชาวบ้าน และเด็กเล็ก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ความมั่นคงด้านอาหาร เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคจากการศึกษานักวิจัยของ นศ.ปริญญาโท มอ.พบว่า คนควนรูมีความพร้อมและมีส่วนร่วมในการจัดการข้าวชุมชน โดยทีมงานสมาคมเข้าไปมีส่วนร่วมในการส่งเสริมด้านสื่อเพื่อผลักดันให้เกิดและเห็นกระบวนการขับเคลื่อนทางสังคม ความสำเร็จของโครงการ ท้องถิ่นเชื่อมโยงให้เกิดการทำงานเกิดความร่วมมือของครัวเรือนถ่ายทอดจากรุ่น สุ่ รุ่นผลักดันให้อยู่ในแผน อบต. และแผนพัฒนาสุขภาพ มีการสำรวจเรื่องการดื่มน้ำอัดลม น้ำหวาน มีการตรวจเรื่องภาวะโลหิตจางของเด็กปฐมวัยและเด็กในวัยเรียนหลังจากดำเนินโครงการมาระยะหนึ่งพบว่าภาวะเหล่านี้ลดลงโดยความร่วมมือ โรงเรียน รพ.สต.และสจรส. - มีการอบรมและให้ความรู้ของหญิงตั้งแต่ตั้งครรภ์จนคลอดและหลังคลอด - มีงบประมาณของ สปสช. - มีการจัดระบบอาหารกลางวันในศูนย์เด็กเล็กให้ได้มาตรฐาน โดยการจัดตั้งครัวรวม - มีการจัดอบรมให้บุคลากรของศูนย์เด็กเล็กโดยเฉพาะครู การจัดตารางอาหารกลางวัน โดยใช้เมนู อาหารตามตารางคำนวณสูตรอาหารกลางวัน Inmu schoollunch ทุกศูนย์จะได้รับตารางอาหารที่เหมือนกันเช่น ข้าวเล็บนกผสมกับข้าวสังหยดข้อดี คือ เด็กๆได้รับทราบปริมาณสารอาหารที่ตัวเองได้รับในแต่ละวันโรงเรียนมีการปลูกผักสวนครัวเองส่วนหนึ่ง 1. บุคลากรได้รับการพัฒนา 2. เด็กๆได้รับสารอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ เหมาะสมตามช่วงวัย 3. ผู้ปกครองได้รับความรู้เรื่องโภชนาการ ภาวะเกินเกณฑ์และต่ำกว่าเกณฑ์ 4. มีการตรวจมาตรฐานอาหารในโรเรียน อนาคตจะมีการขยายลงครัวเรือนให้ครบทุกครัวเรือนโดยเริ่มที่ 38ครัวเรือนทั้ง 9 หมู่บ้านและขยายให้ครบ 300 ครัวเรือนภายในปี 60

     

    20 20

    2. เวทีเสริมศักยภาพ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมสังเกตการณ์ เวทีเสริมศักยภาพ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก พื้นที่โซนใต้ตอนบน และพูดคุยกรอบงานสื่อสร้างสุขภาคใต้ถึงทิศทางการผลักดันสื่อเพื่อขับเคลื่อนสังคม รวมถึงประเด็นความมั่นคงของมนุษย์เพื่อศึกษาแนวทางการหนุนเสริมด้านสื่อเพื่อขับเคลื่อนทางสังคม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดทิศทางร่วมในการกำหนดกรอบงานสื่อสร้างสุขภาคใต้โดยใช้สื่อเพื่อขับเคลื่อนสังคม รวมถึงประเด็นความมั่นคงของมนุษย์และแนวทางการหนุนเสริมด้านสื่อเพื่อขับเคลื่อนทางสังคม

     

    30 2

    3. กิจกรรมสร้างความเข้าใจคณะทำงานตามแผนงานสนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการ

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแลกเปลี่ยนและหนดแนวทางการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร การนำเสนอพื้นที่เพื่อดำเนินกิจกรรม ใน 5 พื้นที่ และทิศทางการใช้สื่อเพื่อเป็นพลังขับเคลื่อนทางสังคมในประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร Food Bank

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้พื้นที่นำร่องที่มีความพร้อมในการดำเนินงานด้านความมั่นคงด้านอาหารจำนวน5ตำบล ดังนี้ 1.ตำบลเขาแก้ว 2.ตำบลไหหร้า 3.ตำบลนางหลง 4.ตำบลหูล่อง 5.ตำบลจันดี ซึ่งทั้ง 5 พื้นที่ได้แนวทางและรูปแบบในการทำงานร่วมกันกับคณะทำงานสื่อ เพื่อให้สื่อเป็นพลังขับเคลื่อนทางสังคม โดยมีผู้เข้าร่วมคือ คุณอานนท์ มีศรี คุณวรวิชญ์กฐินหอม คุณยงยุทธแซ่บ้างคุณกำพลขาวอรุณ คุณปารณีย์อารีชล คุณชาบีอายุทธกาศ คุณสุภาพรปรายราย คุณเศียรนิลวานิช คุณคำพรเกตุแก้ว คุณธัญวลัยคงมา คุณมาตาจินดารักษ์ คุณสุริยาเดชเกิด คุณธนาภรณ์ เจ้าสาย คุณกชมน โพธิ์ถาวร คุณวิลาสลักษณ์แก้วบุญเรือง คุณธรณิศวร์ แช่ม คุณสมทรง สุขศรี

     

    17 35

    4. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำเสนอประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เวทีประชุมชี้แจงโคงการความเป็นมา ความสำคัญและการแลกเปลี่ยนประเด็นความมั่นคงด้านอาหารเป็นการขับเคลื่อนในเชิงนโยบายเพื่อชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ เลือกประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร ศึกษาเส้นทางอาหาร และการกำหนดให้บริโภคอาหารปลอดสาร เด็กเล็กในโรงเรียน
    2. กำรทำงานร่วมกันกับสื่อเพื่อการสื่อสารให้เห็นกระบวนการทำงาน และการเคลื่อนงานของแต่ละพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วม มีความเข้าใจ และยังต้องกลับไปพิจารณาร่วมกันในพื้นที่ เพื่อตอบรับการเข้าร่วมโครงการ ได้พื้นที่และประเด็นย่อย รวมถึงเนื้องานแต่ละด้านที่แต่ละพื้นที่ไปดำเนินการ สร้างกลไกการทำงานในระดับพื้นที่ เกิดกระบวนการทำงานทำเป็นเครือข่ายทำตามบริบท ทุน และศักยภาพของพื้นที่เอง กระบวนการทำงานมีการติดตาม พัฒนาศักยภาพคนทำงาน การวิเคราะห์ข้อมูล สู่การจัดการให้เกิดความมั่นคงด้านอาหาร สถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย สถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการกำหนดเป้าหมายอนาคตของชุมชน สู่การผลักดันในเชิงนโยบาย โดยใช้สื่อเป็นพลังขับเคลื่อน เพื่อสร้างกระแสทางสังคม

     

    10 20

    5. ประชุมคณะทำงาน เครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานประสานงานเสริมพลังภาคใต้เครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้และเตรียมเวทีสร้างสุขภาคใต้ ปี2559 ร่วมกันกำหนดแผนประชาสัมพันธ์งานภาคใต้วร้างสุขภาคใต้ปี59กำหนดแผนการทำงานร่วมของเครือข่ายสื่อในภาคใต้ กำหนดบทบาทหน้าที่ให้สอดคล้องกับประเด็นงานที่ขับเคลื่อนในเพื่อที่ เพื่อให้การสื่อสารสร้างพลังในการขับเคลื่อนออกสู่สาธารณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แผนงานงานการประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมงานสร้างสุขภาคใต้ ทั้งก่อนงาน หลังงานและทิศทางการสรุปผลการดำเนินงานการประชาสัมพันธ์งานสร้างสุขภาคใต้ โดยก่อนงานได้แผนงานการประชาสัมพันธ์ คือ การโปรโมทงานผ่านการสื่อสารช่องทางต่าง ๆ ทั้งในส่วนของ การประชาสัมพันธ์ผ่านเว็ปไซด์ face book live การจัดรายการวิทยุเพื่อสื่อสารเนื้อหาและและความน่าสนใจเกี่ยวกับงานสร้างสุขภาคใต้ การสื่อสารระหว่างงาน โดยการวางแผนจัดกิจกรรมเพื่อสารเรื่องราวในงาน ทั้งในส่วนของกิจกรรมลานสื่อสร้างสุข การเตรียมทีมเขียนข่าว การวางแผนบันทึกเทปและโทรทัศน์เพื่อ จัดทำเป็น ไฟล์ภาพและเสียงเป็นตอน ๆ สื่อการสร้างการรับรู้ต่อไป

     

    15 25

    6. พัฒนาศักยภาพคนทำงานประชุมคณะทำงานปฏิบัติการสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนสังคมและสร้างความเข้าใจการทำงานด้านสื่อสาร

    วันที่ 19 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมกันวางแผนการจัดรายการวิทยและการเชื่อมโยงสถานีในเครื่อข่ายร่วมกันและการกำหนดทิศทางการขับเคลื่อนสื่อในระดับพื้นที่ร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แนวทางการจัดรายการวิทยุในระยะที่ 2 ของผังรายการวิทยุ และเกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุจากสถานีต่างๆ เพิ่มขึ้น และได้แผนงานการขับเคลื่อนสื่อ
    1. มีการโฟกัสในระดับพื้นที่ใน 8จุดเบื้องต้นจะไปหนุนเรื่องอื่นด้วยโดยเริ่มจากต้นทุนหรือเครือข่ายที่เรามี 2. เริ่มจากประเด็นที่ขับเคลื่อนจริง ๆเช่นการจัดการขยะหรือการจัดการเรื่องของยาเสพติดหรือผู้ประกอบอาชีพหรืออาจรวมถึงหน่วยบริการ แต่มอว่ากองทุนที่ทำงานดี ๆ ยังขาดการเจาะลึกหรืออาจจะยังไม่มีช่องทางในการเผยแพร่เท่าที่ควร 2. ตัวกองทุนเองมีเงินอยู่ในกองทุนเองเราสามารถไปสนับสนุนให้เขาทำสื่อหรืออาจจะเป็นคริปสั้น ๆ ด้วยตัวของเขาเอง 3. ในพื้นที่ ถ้าเขาสามารถทำสื่อออกมาให้ดี ๆ เขาสามารถที่จะผลักดันสู่นโยบายได้เช่น ในศูนย์ผู้สูงอายุ คนพิการหลายแห่งที่ทำได้ดี ในส่วนของ จังหวัดกระบี่ตามแผนถือว่าครบถ้วนแต่ทำอย่างไรที่จะให้คนรับสื่อเป็นสื่อด้วย หรือที่เป็นอยู่แล้วเขาจะเด้งกลับมาหาเราซึ่งเป็นเซ็นเตอร์อย่างไร

     

    20 30

    7. สร้างความเข้าใจการทำงานด้านการสื่อสาร

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เกิดกลไกการขับเคลื่อนทางสังคมจัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายภาคใต้ร่วมกับสภาผู้ชมผู้ฟังไทยพีบีเอส  สู่การขับเคลื่อนสื่อสาธารณะในการสร้างพลัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้และภาคีเครือข่ายสื่อจากสภาผู้ชมผู้ฟังไทยพีบีเอสภาคใต้

     

    150 200

    8. เตรียมการจัดประชุม

    วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซืัอวัสดุ / อุปกรณ์เพื่อการเตรียมการ  ใช้ในการผลิตสื่อ ในการจัดประชุม กองบก. และการจัดเวทีสร้างความเข้าใจ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดซืัอวัสดุ / อุปกรณ์เพื่อการเตรียมการ  ใช้ในการผลิตสื่อ ในการจัดประชุม กองบก. และการจัดเวทีสร้างความเข้าใจ 

     

    0 0

    9. แผนปฏิบัติการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์/การท่องเที่ยวชุมชน

    วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุ "เปิดโลกท่องเที่ยวชุมชน กระบี่" ออกอากาศทางสถานีวิทยุ FM 96 Mhz.Untiy Radio จ.กระบี่  ออกอากาศทุกวัน จันทร์ พุธ ศุกร์  เวลา  09.00 - 10.00 น. ตั้งแต่เดือนสิงหาคม  ถึง  เดือนธันวาคม  2559  / ผลิตสปอตวิทยุ  และจิงเกิ้ลรายการ และ ผลิตรายการวิทยุ รายการสารคดี ผลิตจิงเกิ้ลออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง  ถ่ายทอดสดผ่านทางเฟสบุคไลฟ์  และสัมภาษณ์บุคคลทางวิทยุกระจายเสียงผลลัพท์ที่ตั้งไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กระบี่ = การท่องเที่ยวในชุมชนได้รับความสนใจและเกิดการส่งเสริมเพิ่มมากขึ้น  การให้ความสนใจตระหนักในการอนุรักษ์  ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น  เกิดความเอาใจใส่  จิตสำนึก รัก หวงแหนวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นในชุมชนของตัวเองมากขึ้น  และ
    ตรัง = สปอต+จิงเกิ้ลรายการ  รายการวิทยุกระจายเสียง  บทความทางสื่อหนังสือพิมพ์  เวทีประชุมแลกเปลื่ยนกันระหว่างกลุ่มสื่อ  ข่าวสารความเคลื่ยน

     

    5,000 5,000

    10. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็นโซนใต้ตอนล่าง (พัทลุง)

    วันที่ 7 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวบรวมข้อมูล วิถีเกษตรกรทำนา  กระบวนการผลิตข้าวสังหยดพัทลุง  จัดทำเป็นบทวิทยุความยาว 60 นาที  นำเสนอฝ่านสื่อวิทยุกระจายเสียงในเครือข่ายสมาคมสื่อสร้างสุขภาคใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เทปบันทึกเสียง 3 ตอนและ ข้อมูลวิถีเกษตรกรทำนากระบวนการผลิตข้าวสังหยดพัทลุงจัดทำเป็นบทวิทยุความยาว 60 นาที

     

    500 510

    11. ประชุมสนับสนุนการจัดทำแผนปฏิบัติการพื้นที่โซน 3 จังหวัด

    วันที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อกำหนดแผนงานด้านสื่อและกลไกการทำงานในพื้นที่เพื่อขับเคลื่อนทางสังคม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดกลไกคณะทำงานด้านสื่อสารและประชาสัมพันธ์ในพื้นที่รวมทั้งแผนงานด้านการสื่อสาร ประเด็นยุทธศาสตร์การแพทย์พหุวัฒนธรรม/ระบบบูรณาการอาหาร ประเด็นครอบครัวคุณธรรม และประเด็นยาเสพติด จังหวัดชายแดนใต้ โดย มีแผนงานดังนี้ ประเด็นการแพทย์พหุวัฒนธรรม - การผลิตสารคดีเกี่ยวกับการจัดบริหารสุขภาพ ด้านการแพทย์พหุวัฒนธรรม - ลงพื้นที่เก็บข้อมูลการถอดบทเรียนการจัดบริหารสุขภาพ - อัดเสียงผลิตแผ่น เพื่อส่งสถานี - การออกแบบและเผยแพร่ข่าวสารผ่านสถานีโทรทัศน์ คือ สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม ไวท์เชลเนล สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม
    ประเด็นครอบครัวคุณธรรม และประเด็นยาเสพติด
    พื้นที่เก็บข้อมูลและเยี่ยมสถานีวิทยุในเครือข่าย / ผลิตรายการวิทยุการผลิตสารคดีด้านสุขภาวะท่ามกลางความรุนแรง/การจัดการตนเองของชุมชนเพื่อให้เกิดสุขภาวะที่ดี ชุมชนตัวอย่าง ต.จะรัง อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี การถอดบทเรียนผลการดำเนินงานจากพื้นที่ชุมชนตัวอย่างต.จะรัง อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี ครอบครัวคุณธรรม และประเด็นยาเสพติด

     

    20 18

    12. ประชุมสนับสนุนการจัดทำแผนปฏิบัติการพื้นที่โซนใต้กลาง ประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร

    วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อกำหนดแผนงานด้านสื่อเพื่อขับเคลื่อนทางสังคม จากเครือข่ายสื่อและคณะทำงานขับเคลื่อนประเด็นในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แผนงานการขับเคลื่อนสื่อเพื่อสร้างพลังการขับเคลื่อน ประเด็นความมั่นคงด้านอาหารและเกิดกลไกการทำงาน ด้านการสื่อจังหวัดพัทลุงซึ่งทำในเรื่องข้าว เดิมประเด็นข้าวพบว่าคนที่ทำข้าวเคมี ไม่ได้รู้เรื่องข้าวอินทรีย์ ที่จะทำคือ จะทำอย่างไรให้คนที่ทำข้าวทั่วไปรู้เรื่องนี้ซึ่งถือว่าข้าวเป็นอาหารหลักและช่องทางไหน เช่นการทำบทความ เรื่องสั้นซึ่งกระแสหลัก คือสสวท.ซึ่งเรื่องนี้ผู้ว่าฯ ได้จัดทำเรื่องข้าวเป็นแผนงานโครงการของจังหวัดมีอนุข้อมูลอนุสื่อสารอนุดำเนินการ ซึ่งถือว่าในระดับนโยบายเราถือว่าไม่ต้องทำแล้วแต่สำคัญคือช่องทางการสื่อสารทำอย่างไรที่จะให้เกิดการขยายผล

     

    30 28

    13. จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้(รพ.รามัน)

    วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมชายแดนภาคใต้   -ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและภาพ   -ตัดต่อภาพที่ได้เพื่อทำวีดิโอ ประชาสัมพันธ์และนำเสนอในช่องทางสื่อ 2) เผยแพร่ทางสือ   -ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล)
      -ลงเผยแพร่ทางเฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม-สามจังหวัดชายแดนภาคใต้)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) นำเสนอสื่อออกรายการทีวี
    2) ลงเนื้อหาและสื่อในเฟสบุ๊คอย่างต่อเนื่อง 5.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ประกอบด้วย   -มีองค์กร(คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.ปัตตานี ร่วมเป็นภาคีจัดทำประเด็นขับเคลื่อน   -มีองค์กร และหน่วยงานรัฐ จากโรงพยาบาลรามัน

     

    20 20

    14. จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (รพ.สต.จะกว๊ะ)

    วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1) จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมชายแดนภาคใต้   -ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและภาพ   -ตัดต่อภาพที่ได้เพื่อทำวีดิโอ ประชาสัมพันธ์และนำเสนอในช่องทางสื่อ 2) เผยแพร่ทางสือ   -ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล)
      -ลงเผยแพร่ทางเฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม-สามจังหวัดชายแดนภาคใต้)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) นำเสนอสื่อออกรายการทีวี
    2) ลงเนื้อหาและสื่อในเฟสบุ๊คอย่างต่อเนื่อง กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ประกอบด้วย -มีองค์กร(คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.ปัตตานี ร่วมเป็นภาคีจัดทำประเด็นขับเคลื่อน -มีองค์กร และหน่วยงานรัฐ จาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะก๊วะ

     

    20 20

    15. แผนปฏิบัติการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์/การท่องเที่ยวชุมชน

    วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุ รายการสารคดี ผลิตจิงเกิ้ลออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง  ถ่ายทอดสดผ่านทางเฟสบุคไลฟ์  และสัมภาษณ์บุคคลทางวิทยุกระจายเสียง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สปอต+จิงเกิ้ลรายการ  รายการวิทยุกระจายเสียง  บทความทางสื่อหนังสือพิมพ์  เวทีประชุมแลกเปลื่ยนกันระหว่างกลุ่มสื่อ  ข่าวสารความเคลื่ยนไหวทางเพจ และเฟสบุคและเฟสบุคไลฟ์

     

    80 0

    16. จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (รพ.สต.บ้านใหญ่)

    วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1) จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมชายแดนภาคใต้   -ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและภาพ   -ตัดต่อภาพที่ได้เพื่อทำวีดิโอ ประชาสัมพันธ์และนำเสนอในช่องทางสื่อ 2) เผยแพร่ทางสือ   -ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล)
      -ลงเผยแพร่ทางเฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม-สามจังหวัดชายแดนภาคใต้)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) นำเสนอสื่อออกรายการทีวี
    2) ลงเนื้อหาและสื่อในเฟสบุ๊คอย่างต่อเนื่อง 5.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ประกอบด้วย   -มีองค์กร(คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.ปัตตานี ร่วมเป็นภาคีจัดทำประเด็นขับเคลื่อน   -มีองค์กร และหน่วยงานรัฐ จากโรงพยาบาลมายอ

     

    20 20

    17. ประชุมสนับสนุนการจัดทำแผนปฏิบัติการพื้นที่โซนใต้กลาง ประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร

    วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อกำหนดแผนงานด้านสื่อเพื่อขับเคลื่อนทางสังคม จากเครือข่ายสื่อและคณะทำงานขับเคลื่อนประเด็นในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แผนงานการขับเคลื่อนสื่อเพื่อสร้างพลังการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร และเกิดกลไกการทำงานด้านการสื่อสาร

     

    30 30

    18. ประชุมสนับสนุนการจัดทำแผนปฏิบัติการพื้นที่โซน 3 จังหวัด

    วันที่ 14 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อกำหนดแผนงานด้านสื่อเพื่อขับเคลื่อนทางสังคม จากเครือข่ายสื่อและคณะทำงานขับเคลื่อนประเด็นในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แผนงานการขับเคลื่อนสื่อเพื่อสร้างพลังการขับเคลื่อนประเด็นการแพทย์พหุวัฒนธรรมและประเด็นการแก้ปัญหายาเสพติดเกิดกลไกการทำงานด้านการสื่อสารเพิ่มขึ้น

     

    20 12

    19. แผนปฏิบัติการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาตร์ความมั่นคงทางมนุษย์

    วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1) ประชุมคณะทำงานออกแบบเตรียมความพร้อม และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบแต่ละส่วนงาน 2) จัดเป็นนิทรรศการหนังสือพิมพ์กำแพงเล่าความถึงการจัดการให้ได้มาของอาหารปลอดภัยพร้อมทั้งนำผักพื้นบ้านอินทรีย์ 100 เปอร์เซ็นต์มาจำหน่ายรวมถึงการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแทนกล่องโฟม เช่นกล่องชานอ้อย ใบตอง เชือกกล้วย ฯ พร้อมแจกสื่อแผ่นพับให้ความรู้ 3) บันทึกเทปเพื่อผลิตวีดีทัศน์ จากส่วนที่เกี่ยวข้องเช่น สาธารณะสุขอำเภอ เทศบาล ฯ 4) สรุปผลการดำเนินการสู่ส่วนที่เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) ผู้เข้าชมบู๊ธนิทรรศการสนใจและชื่นชอบผักธรรมชาติเป็นพิเศษเช่น ยอดหวายขม ลูกเขาคัน สามารถขายผักหมดในเวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมงต่อวันและสั่งจอง เอาไว้โดยจะมารับในวันถัดไป สร้างรายได้ให้กับกลุ่มผู้สูงอายุหมู่บ้านวังใหญ่ หมู่ที่ 4 ตำบลควนศรี อำเภอบ้านนาสารประมาณ 2,000 บาทต่อวัน 2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจากหมู่บ้านวังใหญ่ หมู่ที่ 4 ตำบลควนศรี อำเภอบ้านนาสาร โดยการนำของผู้ใหญ่บ้านนำแนวคิดนี้กลับไปรวมกลุ่มทำกิจกรรมโครงการ ผักข้างบ้านอาหารปลอดภัยในหมู่บ้านทันที 3) มีร้านค้า 1 ร้านที่ขายก๊วยจั๊บเปลี่ยนจากกล่องโฟมมาใช้กล่องชานอ้อยทันทีและขายดีมาก

     

    1,000 200

    20. จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (รพ.สต.สะดาวา)

    วันที่ 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1) จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมชายแดนภาคใต้   -ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและภาพ   -ตัดต่อภาพที่ได้เพื่อทำวีดิโอ ประชาสัมพันธ์และนำเสนอในช่องทางสื่อ 2) เผยแพร่ทางสือ   -ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล)
      -ลงเผยแพร่ทางเฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม-สามจังหวัดชายแดนภาคใต้)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) นำเสนอสื่อออกรายการทีวี
    2) ลงเนื้อหาและสื่อในเฟสบุ๊คอย่างต่อเนื่อง 5.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ประกอบด้วย   -มีองค์กร(คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.ปัตตานี ร่วมเป็นภาคีจัดทำประเด็นขับเคลื่อน   -มีองค์กร และหน่วยงานรัฐ จากโรงพยาบาลมายอ

     

    20 16

    21. จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (รพ.มายอ)

    วันที่ 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมชายแดนภาคใต้   -ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและภาพ   -ตัดต่อภาพที่ได้เพื่อทำวีดิโอ ประชาสัมพันธ์และนำเสนอในช่องทางสื่อ 2) เผยแพร่ทางสือ   -ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล)
      -ลงเผยแพร่ทางเฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม-สามจังหวัดชายแดนภาคใต้)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) นำเสนอสื่อออกรายการทีวี
    2) ลงเนื้อหาและสื่อในเฟสบุ๊คอย่างต่อเนื่อง 5.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ประกอบด้วย   -มีองค์กร(คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.ปัตตานี ร่วมเป็นภาคีจัดทำประเด็นขับเคลื่อน   -มีองค์กร และหน่วยงานรัฐ จากโรงพยาบาลมายอ

     

    12 12

    22. แผนปฏิบัติการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์อาหารและข้าว

    วันที่ 27 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจ รวบรวมข้อมูลเนื้อหา  ลงพื้นที่เก็บภาพประกอบการถ่ายทำรายการ และนำทีมสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการตัดต่องาน รวบรวมสื่อหลายๆแขนงเพื่อร่วมโครงการในการทำงาน เมื่อวันที่ 2-5 ตุลาคม 59 ที่ผ่านมา ณ ศูนย์ประชุม มอ. จัดงานสื่อสร้างสุข ได้บริหารทีมงานลงพื้นที่จริงเพื่อเก็บภาพการเสวนางาน และสัมภาษณ์บุคคลสำคัญ ที่มาร่วมงาน หลังจากนั้น ตัดต่องาน จัดทำสคลิป และส่งชิ้นงาน ตามกำหนดเวลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ภาพและรายละเอียดเนื้อหาของงานในการประกอบการทำงาน อย่างละเอียด สื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์อาหารและข้าว

     

    1,000 300

    23. จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (รพ.สต.เจ๊ะเก)

    วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1) จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมชายแดนภาคใต้   -ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและภาพ   -ตัดต่อภาพที่ได้เพื่อทำวีดิโอ ประชาสัมพันธ์และนำเสนอในช่องทางสื่อ 2) เผยแพร่ทางสือ   -ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล)
      -ลงเผยแพร่ทางเฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม-สามจังหวัดชายแดนภาคใต้)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) นำเสนอสื่อออกรายการทีวี
    2) ลงเนื้อหาและสื่อในเฟสบุ๊คอย่างต่อเนื่อง 5.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ประกอบด้วย   -มีองค์กร(คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.ปัตตานี ร่วมเป็นภาคีจัดทำประเด็นขับเคลื่อน   -มีองค์กร และหน่วยงานรัฐ จาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะเก

     

    16 16

    24. จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (รพ.สต.ลาโล๊ะ)

    วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1) จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมชายแดนภาคใต้   -ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและภาพ   -ตัดต่อภาพที่ได้เพื่อทำวีดิโอ ประชาสัมพันธ์และนำเสนอในช่องทางสื่อ 2) เผยแพร่ทางสือ   -ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล)
      -ลงเผยแพร่ทางเฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม-สามจังหวัดชายแดนภาคใต้)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) นำเสนอสื่อออกรายการทีวี
    2) ลงเนื้อหาและสื่อในเฟสบุ๊คอย่างต่อเนื่อง 5.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ประกอบด้วย   -มีองค์กร(คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.ปัตตานี ร่วมเป็นภาคีจัดทำประเด็นขับเคลื่อน   -มีองค์กร และหน่วยงานรัฐ จาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบลาโล๊

     

    16 16

    25. ผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนสิงหาคม

    วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุเชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ (ผ่านทีวีลิกอร์)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้สนใจติดตามรายการวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์จากจังหวัดต่าง ๆ ประมาณ 2,000 คน (ประเมินจากแฟนเพจ สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ )

     

    1,000 2,000

    26. ประชาสัมพันธ์ งานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พิจารณาร่างกำหนดการ  นำเสนอรูปแบบงานสร้างสุข 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้คณะทำงานเครือข่ายสื่อสร้างภาคใต้ (กอง บก.ร่วม)  จากเครือข่ายสื่อในพื้นที่จาก  5 โซนพื้นที่ 

     

    1,000 5

    27. ประชุมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมร่วมกับคณะทำงาน จัดเวทีคนใต้สร้างสุข และคณะทำงานเครือข่ายสื่อสาธารณะ เพื่อออกแบบเวทีงานสร้างสุขและแผนงานประชาสัมพันธ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รูปแบบเวที งานสร้างสุขและแผนงานประชาสัมพันธ์ในงาน และแผนประชาสัมพันธ์

     

    60 100

    28. จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (รพ.สต.บ้านบือเระ)

    วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1) จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมชายแดนภาคใต้   -ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและภาพ   -ตัดต่อภาพที่ได้เพื่อทำวีดิโอ ประชาสัมพันธ์และนำเสนอในช่องทางสื่อ 2) เผยแพร่ทางสือ   -ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล)
      -ลงเผยแพร่ทางเฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม-สามจังหวัดชายแดนภาคใต้)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) นำเสนอสื่อออกรายการทีวี
    2) ลงเนื้อหาและสื่อในเฟสบุ๊คอย่างต่อเนื่อง 5.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ประกอบด้วย   -มีองค์กร(คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.ปัตตานี ร่วมเป็นภาคีจัดทำประเด็นขับเคลื่อน   -มีองค์กร และหน่วยงานรัฐ  จาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านบือเระ

     

    22 2,000

    29. แผนปฏิบัติการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านอาหาร

    วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปฏิบัติการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านอาหาร กับเครือข่ายสื่อชุมชนจังหวัดนครศรีธรรมราช เครือข่ายสื่อเยาวชนพลเมืองลิกอร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แผนงานและแผนปฏิบัติการ  การสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม (ประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร Food Band)  เกิดทิศทางการขับเคลื่่อนสื่อเพื่อสร้างพลังทางสังคม โดย  การจัดทำสารคดีเผยแพร่ การจัดเวทีสาธารณะ  และการถอดบทเรียนเพื่อสื่อสารเรื่องราวการขับเคลื่อนประเด็นเป็นเอกสารเผยแพร่

     

    100 150

    30. ผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนสิงหาคม

    วันที่ 3 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุ  เชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ (ผ่านทีวีลิกอร์)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้สนใจติดตามรายการวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์  จากจังหวัดต่าง ๆ ประมาณ 2,000 คน (ประเมินจากแฟนเพจ สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ )

     

    1,000 2,500

    31. การผลิตสารคดีด้านความมั่นคงด้านอาหาร

    วันที่ 4 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำในพื้นที่ ที่ขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร  ทีมงานสื่อเพื่อเก็บข้อมูลเป็นภาพวิดิโอ การสัมภาษณ์และเก็บเรื่องราวในการเขียนสคริป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลและเรื่องราวในพื้นที่ขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร สู่การผลิตเป็นสารคดี ชุด "เส้นทางอาหาร" Food Bank

     

    5 5

    32. ประชุมเชิงปฏิบัติการกอง บก. เครือข่ายสื่อสร้างสุข

    วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเชิงปฏิบัติการการกำหนดแนวทางร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนพลังสื่อเพื่อการเปลี่ยนแปลงและการประชาสัมพันธ์งานสร้างสุขภาคใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รูปแบบและแนวทางในการขับเคลื่อนสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์งานสร้างสุขภาคใต้ร่วมกัน

     

    30 30

    33. ผลิตรายการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตลาดต้องชม (หลาดใต้โหนด

    วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวบรวมข้อมูล วิถีเกษตรกรพัทลุง  กระบวนการผลิต การแปรรูปและการตลาด จัดทำเป็นบทวิทยุความยาว 60 นาที    นำเสนอผ่านสื่อวิทยุกระจายเสียงในเครือข่ายสมาคมสื่อสร้างสุขภาคใต้ 9.ผลผลิต  เทปเสียง  3 ตอน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เทปเสียง3 ตอนและข้อมูล วิถีเกษตรกรพัทลุง นำเสนอผ่านสื่อวิทยุกระจายเสียงในเครือข่ายสมาคมสื่อสร้างสุขภาคใต้จัดทำเป็นบทวิทยุความยาว 60 นาที

     

    500 510

    34. จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (รพ.จะแนะ )

    วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1) จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมชายแดนภาคใต้   -ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและภาพ   -ตัดต่อภาพที่ได้เพื่อทำวีดิโอ ประชาสัมพันธ์และนำเสนอในช่องทางสื่อ 2) เผยแพร่ทางสือ   -ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล)
      -ลงเผยแพร่ทางเฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม-สามจังหวัดชายแดนภาคใต้)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) นำเสนอสื่อออกรายการทีวี
    2) ลงเนื้อหาและสื่อในเฟสบุ๊คอย่างต่อเนื่อง 5.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ประกอบด้วย   -มีองค์กร(คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.ปัตตานี ร่วมเป็นภาคีจัดทำประเด็นขับเคลื่อน   -มีองค์กร และหน่วยงานรัฐ จาก โรงพยาบาลจะแนะ

     

    15 15

    35. ประชุมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 6 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมร่วมกับคณะทำงานโครงการในการออกแบบเวทีงานสร้างสุขภาคใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ผลสรุปรูปแบบเวที งานสร้างสุขภาคใต้  รูปแบบการประชาสัมพันธ์ก่อนงาน  ระหว่างงานและ แนวทางการสรุปผลการดำเนินงาน

     

    40 30

    36. ติดตามหนุนเสริมพื้นที่ ชายแดนใต้

    วันที่ 7 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมเวทีร่วมเวทีสร้างการเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็ง  ชุมชนสุขภาวะ  ประเด็น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดความเข้าใจร่วมกันในประเด็นการเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็ง ครอบครัวคุณธรรมในพื้นที่ชายแดนใต้

     

    20 30

    37. การผลิตสารคดีด้านความมั่นคงด้านอาหาร

    วันที่ 10 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำในพื้นที่ ที่ขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร  ทีมงานสื่อเพื่อเก็บข้อมูลเป็นภาพวิดิโอ การสัมภาษณ์และเก็บเรื่องราวในการเขียนสคริป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลและเรื่องราวในพื้นที่ขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร สู่การผลิตเป็นสารคดี ชุด "เส้นทางอาหาร" Food Bank

     

    5 5

    38. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็นโซนชายแดนใต้ 3 จังหวัด (ยะลา)

    วันที่ 13 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  จัดทำสื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมชายแดนใต้     -  ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและภาพจำนวน 9 พื้นที่     -  ตัดต่อภาพที่ได้เพื่อทำวิดีโอ ประชาสัมพันธ์และนำเสนอในช่องทางสื่อ 2.  เผยแพร่ทางสื่อ     -  ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล) จำนวน 1 ตอน (เวลา 2 ชม.)     -  ลงเลยแพร่ทางเฟสบุ๊ค สื่อสุขาภาพพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

          -  ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล) จำนวน 1 ตอน (เวลา 2 ชม.)     -  ลงเลยแพร่ทางเฟสบุ๊ค สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม 3 จังหวัดชายแดนใต้

     

    1,000 1,000

    39. ประชุมคณะทำงานสื่อเพื่อขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม

    วันที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานสื่อเพื่อสรุปผลการดำเนินการปฏิบัติการสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนทางสังคม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ผลสรุปในการลงพื้นที่จัดทำสารคดี  การเขียนเรื่องราวประเด็นคความมั่นคงด้านอาหารสู่การเผยแพร่  การจัดเวทีสาธารณะเพื่อขับเคลื่อนทางสังคม 

     

    5 12

    40. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็นโซนชายแดนใต้ 3 จังหวัด (ปัตตานี)

    วันที่ 25 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ออกรายการสดทีวีดาวเทียม (ไวท์เชลแนล)
      -ลงเผยแพร่ทางเฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/สื่อสุขภาพพหุวัฒนธรรม-สามจังหวัดชายแดนภาคใต้)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1) ออกรายการทีวี จำนวน 3 ตอน (2 เดือนต่อตอน) 2) ลงเนื้อหาและสื่อในเฟสบุ๊คอย่างต่อเนื่อง

     

    1,000 6

    41. เวทีติดตามหนุนเสริมพื้นที่ การผลิตสื่อเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ

    วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและติดตามการจัดทำรายการวิทยุ ที่ถ่ายทอดจากพื้นที่ในโซนต่าง ๆ ทั้ง 5 โซน จำนวน 6 จังหวัด 7 สถานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อสรุปในการดำเนินกิจกรรมการเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุและรูปแบบการสื่อสารร่วมกัน ซึ่งมีพื้นที่ ที่เข้าร่วมเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุจำนวน 6 จังหวัด 7 สถานี คือ นครศรีธรรมราชคลื่นลูกทุ่งไทย 97.50 MHz ชุมพรละแมซิตี้เรดีโอ89 MHz กระบี่ยุนิตี้เรดีโอ96MHz นครศรีธรรมราชขอนหาดเรดีโอ96MHz พัทลุงป่าบอนซิตี้เรดีโอ107.25MHz สุราษฎร์ธานีคลื่นชุมชนคนท้องถิ่น102.25MHz ตรังคนรักถิ่นตรัง91.25 MHz

     

    30 21

    42. เวทีสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม (ประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร

    วันที่ 29 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  การนำเสนอหนังสั้นประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร ตอน Food Band  "เส้นทางอาหาร" 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้นวัตกรรมเกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหารในพื้นที่ ที่สามารถขยายผลได้

     

    40 43

    43. แผนปฏิบัติการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาตร์ความมั่นคงทางมนุษย์

    วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการสร้างสื่อรณรงค์ในประเด็นสิทธิของผู้สูงอายุในพื้นที่และจัดทำสื่อวีดีทัศน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดโครงสร้างงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลละแม หรือ ศูนย์คุณภาพชีวิตและส่งเสริมพัฒนาอาชีพผู้สูงอายุตำบลละแมและระเบียบข้อบังคับศูนย์ รวมถึงแผนการดำเนินงานพัฒาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ

     

    30 208

    44. การประชุมทีมงานเพื่อเตรียมข้อมูลผลิตสื่อ

    วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมเนื้อหาข้อมูลด้านสุขภาวะเพื่อนำเสนอที่ประชุม  ดำเนินการประชุม  บันทึกการประชุม  สรุปผลการจัดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความพร้อมในการผลิตรายการวิทยุ / ได้บทวิทยุและเนื้อหาของรายการวิทยุแต่ละตอน

     

    2 2

    45. ผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนตุลาคม

    วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุ  เชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ (ผ่านทีวีลิกอร์)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีผู้สนใจติดตามรายการวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์  จากจังหวัดต่าง ๆ ประมาณ 2,896 คน (ประเมินจากแฟนเพจ สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ )

     

    1,000 2,896

    46. แผนปฏิบัติการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทศาสตร์การแพทย์พหุวัฒนธรรม/การบูรณาการอาหารจังหวัดชายแดนใต้

    วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมวางแผนคณะทำงานเพื่อลงพื้นที่เก็บข้อมูลและเยี่ยมสถานีที่ออกอากาศรายการ  ประสานงานสถานีวิทยุและพื้นที่ชุมชนลงพื้นที่ชุมชนและเยี่ยมเครือข่ายสถานีวิทยุ  สรุปเนื้อหาเพื่อจัดทำรายการวิทยุ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เนื้อหาและข้อมูลเพื่อนำมาผลิตรายการวิทยุ ได้วิทยากรที่จะมาร่วมรายการวิทยุ ได้เครือข่ายวิทยุที่จะร่วมออกอากาศรายการ 5 สถานี

     

    2 0

    47. ประชุมเชิงปฏิบัติการกอง บก. เครือข่ายสื่อสร้างสุข

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมกันกำหนดแผนงานและทิศทางการสื่อสารงานสร้างสุขภาคใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดแผนงานและการสื่อสารงานสร้างสุขภาคใต้

     

    40 25

    48. สร้างพื้นที่ให้ข้อเสนอในพื้นที่สาธารณะเพื่อขับเคลื่อนสู่การแก้ปัญหาทั้งระดับท้องถิ่นและระดับจังหวัด

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาสัมพันธ์งานสร้างสุขภาคใต้ ทั้งก่อนงาน โดยการ ระหว่างงาน การสร้างการสื่อสารจากงานผ่านเว็บไซด์ face book liveการจัดกิจกรรมในลานสร้างสุขและการสัมภาษณ์สด ผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ และหลังการดำเนินงาน บันทึกผลการประชุมกลุ่มย่อยเป็นไฟล์เสียงและสรุปผลการจัดงานเป็น CD ภาพรวมทั้งงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการรับรู้ในรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดงานสร้างสุขของผู้ที่สนใจในวงกว้างมากขึ้น ทำให้จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นไปตามกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้  การประชาสัมพันธ์ระหว่างงาน โดยการสร้างการสื่อสารจากงานผ่านเว็บไซด์ face book live การจัดกิจกรรมในลานสร้างสุขและการสัมภาษณ์สด ผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ  และหลังการดำเนินงาน บันทึกผลการประชุมกลุ่มย่อยเป็นไฟล์เสียงและสรุปผลการจัดงานเป็น CD ภาพรวมทั้งงาน

     

    1,000 1,000

    49. จัดทำจิงเกิ้ลและแบนเนอร์

    วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำจิงเกิ้ลและแบนเนอร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เนื้อหาและข้อมูลเพื่อนำมาผลิตรายการวิทยุ  ได้วิทยากรที่จะมาร่วมรายการวิทยุ  ได้เครือข่ายวิทยุที่จะร่วมออกอากาศรายการ 5 สถานี

     

    1,000 1,000

    50. สนับสนุนสถานีวิทยุ

    วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเตรียมความพร้อมเพื่อจัดผลิตรายการวิทยุ ประสานกลุ่มเป้าหมาย เชิญวิทยากรร่วมรายการ
    จัดรายการวิทยุ
    ประชุมสรุปคณะทำงาน เพื่อประเมินรายการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เปิดพื้นที่ให้คนทำงานด้านสุขภาวะท่ามกลางสถานความไม่สงบ ได้สื่อสารกิจกรรมที่ทำ และประชาชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ
    - เรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้
    - เรื่องการใช้ศาสนบำบัดของแต่ละพื้นที่ - เรื่องการสร้างครอบครัวคุณธรรมและสุขภาวะที่ดีในวิถีพหุวัฒนธรรมชายแดนใต้

     

    3,000 0

    51. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล และเยี่ยมสถานีวิทยุในเครือข่ายที่ออกอากาศรายการ

    วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมเนื้อหาข้อมูลด้านสุขภาวะเพื่อนำเสนอที่ประชุม  ดำเนินการประชุม  บันทึกการประชุม  สรุปผลการจัดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความพร้อมในการผลิตรายการวิทยุ / ได้บทวิทยุและเนื้อหาของรายการวิทยุแต่ละตอน

     

    20 20

    52. 1.1. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล และเยี่ยมสถานีวิทยุในเครือข่ายที่ออกอากาศรายการ ครั้งที่ 3

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมเนื้อหาข้อมูลด้านสุขภาวะเพื่อนำเสนอที่ประชุม  ดำเนินการประชุม  บันทึกการประชุม  สรุปผลการจัดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความพร้อมในการผลิตรายการวิทยุ / ได้บทวิทยุและเนื้อหาของรายการวิทยุแต่ละตอน

     

    20 4

    53. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล และเยี่ยมสถานีวิทยุในเครือข่ายที่ออกอากาศรายการ ครั้งที่ 4

    วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่ เยี่ยมสถานีวิทยุอัตตัรฯเรดิโอ 104 MHz เพื่อสร้างความเข้าใจ ร่วมออกแบบเนื้อหาสาระของรายการ และขอการสนับสนุนในการลิงค์สัญญาณถ่ายทอดสดรายการวิทยุ “เสียงสุขภาวะชายแดนใต้” พร้อมกับมอบเงินสนับสนุนสถานีงวดที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เนื้อหาและข้อมูลเพื่อนำมาผลิตรายการวิทยุ  ได้วิทยากรที่จะมาร่วมรายการวิทยุ  ได้เครือข่ายวิทยุที่จะร่วมออกอากาศรายการ 5 สถานี

     

    4 4

    54. ประชุมทีมงานเพื่อเตรียมข้อมูลการผลิตสื่อ

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เตรียมเนื้อหาข้อมูลด้านสุขภาวะเพื่อนำเสนอที่ประชุม
    • ประชุม
    • บันทึกการประชุม
    • สรุปผลการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ความพร้อมในการผลิตรายการวิทยุ
    • ได้บทวิทยุและเนื้อหาของรายการวิทยุแต่ละตอน

     

    2 2

    55. ประชุมทีมงานเพื่อเตรียมข้อมูลการผลิตสื่อ

    วันที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเตรียมความพร้อมเพื่อจัดผลิตรายการวิทยุ ประสานกลุ่มเป้าหมาย เชิญวิทยากรร่วมรายการ
    จัดรายการวิทยุ
    ประชุมสรุปคณะทำงาน เพื่อประเมินรายการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เปิดพื้นที่ให้คนทำงานด้านสุขภาวะท่ามกลางสถานความไม่สงบ ได้สื่อสารกิจกรรมที่ทำ และประชาชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ
    - เรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้
    - เรื่องการใช้ศาสนบำบัดของแต่ละพื้นที่ - เรื่องการสร้างครอบครัวคุณธรรมและสุขภาวะที่ดีในวิถีพหุวัฒนธรรมชายแดนใต้

     

    2 2

    56. ประชุมทีมงานเพื่อเตรียมข้อมูลการผลิตสื่อ

    วันที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เตรียมเนื้อหาข้อมูลด้านสุขภาวะเพื่อนำเสนอที่ประชุม
    • ประชุม
    • บันทึกการประชุม
    • สรุปผลการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ความพร้อมในการผลิตรายการวิทยุ
    • ได้บทวิทยุและเนื้อหาของรายการวิทยุแต่ละตอน

     

    2 2

    57. การผลิตรายการวิทยุ “รายการเสียงสุขภาวะชายแดนใต้

    วันที่ 23 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน อ.มายอ จ.ปัตตานี และผู้สูงอายุผู้เข้าร่วมโครงการหยุดบุหรี่ หยุดโรค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เปิดพื้นที่ให้คนทำงานด้านสุขภาวะท่ามกลางสถานความไม่สงบ ได้สื่อสารกิจกรรมที่ทำ และประชาชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ
    - เรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้
    - เรื่องการใช้ศาสนบำบัดของแต่ละพื้นที่ - เรื่องการสร้างครอบครัวคุณธรรมและสุขภาวะที่ดีในวิถีพหุวัฒนธรรมชายแดนใต้

     

    5 2

    58. ประชุมเชิงปฏิบัติการกอง บก. เครือข่ายสื่อสร้างสุข

    วันที่ 26 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การหารือและสรุปผลการทำงานร่วมกันของกอง บก.สื่อสร้างสุขภาคใต้และการจัดประชุมพิเศษ
    2. แลกเปลี่ยนงานสร้างสุขภาคใต้และร่วมแลกเปลี่ยนสถานการณ์
    3. การวางจังหวะก้าว กับสถานการณ์ กอง บก.ภาคใต้  มีประเด็นที่เกี่ยวข้อง คือ

    - ประเด็น ท่องเที่ยว เช่น พื้นที่รอยพระบาท
    - ประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร  เช่น  พื้นที่โครงการ ตามแนวพระราชดำริ เศรษฐกิจพอเพียง - เรื่องข้าวที่ทรงสนับสนุนและส่งเสริมให้เกษตรกรปลูก  ตลอดจน การสนับสนุนการวิจัยพันธ์ข้าวต่าง ๆ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การหารือและสรุปผลการทำงานร่วมกันของกอง บก.สื่อสร้างสุขภาคใต้และการจัดประชุมพิเศษซึ่งถือเป็นนัดพิเศษ เพราะมีปัจจัยหลายๆประการ ที่ทำให้ความต่อเนื่องของงานตามโครงการ ในช่วงที่ มีรายการ “กินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้” ที่ในช่วง วันเสาร์และวันอาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐น. – ๑๐.๐๐น. หลังจากวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ ที่เป็นช่วงที่ คนไทยถวายความอาลัยแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช กสทช. ได้ขอความร่วมมือให้ สื่อทุกช่องทางเว้นจากรายการปกติของสถานีเพื่อรับสัญญาณถ่ายทอดจาก ส่วนกลาง ทำให้รายการ “กินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้” ต้องงดออกอากาศ ชั่วคราวเป็นเวลา ๑๕ วัน จึงทำให้รายการไม่ต่อเนื่อง ประกอบกับ ผู้ติดตามรายการสงสัยว่ายังมีรายการต่อเนื่องหรือไม่ แต่ทางส่วนกลางได้หารือสถานี เครือข่ายและแจ้งให้รับทราบกันเป็นที่เรียนร้อย ดังนั้นจึงได้นัด ทาง กอง บก.สื่อสร้างสุข เพื่อมาวางแผนการดำเนินงานในช่วงต่อไปและทิศทางที่จะขับเคลื่อนร่วมกัน
    2. แลกเปลี่ยนงานสร้างสุขภาคใต้และร่วมแลกเปลี่ยนสถานการณ์ สืบเนื่องจากการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ มีความเห็นร่วมกันถึงการประสานงานเชื่อมโยงการทำงานร่วมกันซึ่งเกิดจากความร่วมมือร่วมใจของ กองบก.สร้างสุขภาคใต้ ความสำเร็จที่น่าภาคภูมิใจส่วนหนึ่งมาจากงานสื่อ ทั้งก่อนงานระหว่างงาน และหลังงานโดยแบ่งบทบาทให้ทุกคนได้ช่วยกันทำหน้าที่ ทั้งในส่วน ของการอัพข่าวเพื่อการสื่อสารภายนอก ตลอดทั้ง ๓ วันการมีกิจกรรมในลานสร้างสุขและการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสื่อในงานที่ทำงานร่วมกับฝ่ายอื่น ๆ ในส่วนของการสรุปงานที่เป็น ภาพเคลื่อนไหว ทางส่วนกลางได้ตัดต่อ เป็นตอนๆซึ่งง่านสำหรับการชมย้อนหลัง มีภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ไฟล์เสียงสามารถเข้าไปรับชมหรือ ดาวส์โหลดได้ ใน “You Tube : ลิกอร์ Live” และเข้าชมย้อนหลัง ในFace book liveในช่วงงานมีการถ่ายทอดสด ผ่าน เฟสบุค ไลน์ ตลอดทั้ง 3 วัน

     

    40 19

    59. ประชุมทีมงานเพื่อเตรียมข้อมูลการผลิตสื่อ

    วันที่ 27 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมเนื้อหาข้อมูลด้านสุขภาวะเพื่อนำเสนอที่ประชุมดำเนินการประชุมบันทึกการประชุมสรุปผลการจัดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความพร้อมในการผลิตรายการวิทยุ / ได้บทวิทยุและเนื้อหาของรายการวิทยุแต่ละตอน

     

    2 0

    60. การผลิตรายการวิทยุ “รายการเสียงสุขภาวะชายแดนใต้”

    วันที่ 30 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเตรียมความพร้อมเพื่อจัดผลิตรายการวิทยุ ประสานกลุ่มเป้าหมาย เชิญวิทยากรร่วมรายการ จัดรายการวิทยุ
    ประชุมสรุปคณะทำงาน เพื่อประเมินรายการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เปิดพื้นที่ให้คนทำงานด้านสุขภาวะท่ามกลางสถานความไม่สงบ ได้สื่อสารกิจกรรมที่ทำ และประชาชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ
    - เรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้
    - เรื่องการใช้ศาสนบำบัดของแต่ละพื้นที่ - เรื่องการสร้างครอบครัวคุณธรรมและสุขภาวะที่ดีในวิถีพหุวัฒนธรรมชายแดนใต้

     

    5 5

    61. สรุปและจัดทำรายงาน

    วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปรวบรวมกิจกรรมของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลสรุปการดำเนินกิจกรรมโครงการ

     

    2 0

    62. ผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนพฤศจิกายน

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุ เชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ (ผ่านทีวีลิกอร์)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผุ้สนใจติดตามรายการวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ จากจังหวัดต่าง ๆ

     

    1,000 2,000

    63. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอผลการดำเนินงานตามแผนงานที่ดำเนินการ ทั้งในส่วนแผนงานพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน แผนงานบริหารจัดการ และแผนงานประชาสัมพันธ์ในงาน สื่อสร้างสุข  ในรูป Power point , Face book live ( การสื่อสารงานสร้างสุขในรูปแบบข่าวสั้นผ่าน  Face book live )  สารคดี กรณีพื้นที่ ตัวอย่างที่มีการดำเนินการจัดทำสารคดีสั้น  ประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร (Food Bank) 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การนำเสนอผลการดำเนินงานโครงการเป็นภาพรวม  และได้รับทราบความก้าวหน้าการขับเคลื่อนงานจากประเด็นต่าง ๆ ที่มานำเสนอพร้อมกัน  เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการขับเคลื่อนงานทั้งภาพรวมของโครงการและผลที่เกิดขึ้นในระดับพื้นที่

     

    40 25

    64. เวทีติดตามหนุนเสริมพื้นที่ในการกำหนดยุทธศาสตร์สื่อเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานสื่อสร้างสุขภาคใต้  โดยประสานแกนนำที่ทำเกี่ยวกับสื่อชุมชนมาร่วมประชุมและกำหนดทิศทางร่วมกันในการใช้สื่อเพื่อสร้างพลังทางสังคม 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดทิศทางในการจัดทำแผนงาน  การกำหนดแผนงาน  ปฏิทินงาน  การผลิตข่าวเพื่อสร้างกระแส  สร้างความเปลี่ยนแปลง  และยกระดับการขับเคลื่อนทางสังคมของจังหวัดพัทลุง  เกิดการขยายผลการทำงานที่มีเครือข่ายสื่อร่วมขับเคลื่อนงานในประเด็น  ยุทธศาสตร์ข้าวจังหวัดพัทลุง  เกิดการปรับกลไกการทำงานและการขยายเครือข่ายสื่อในวงกว้างมากขึ้น

     

    40 25

    65. ติดตามหนุนเสริมพื้นที่ โซนใต้ตอนล่าง จ.สงขลา

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานสื่อสร้างสุขภาคใต้ โดยประสานแกนนำที่ทำเกี่ยวกับสื่อชุมชนมาร่วมประชุมและกำหนดทิศทางร่วมกันใช้สื่อเพื่อสร้างพลังทางสังคม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กำหนดแผนงาน  ปฏิทินงานการผลิตข่าวเพื่อสร้างกระแส  สร้างความเปลี่ยนแปลง  และยกระดับการขับเคลื่อนทางสังคมของจังหวัดกับการขยายผลการทำงานที่มีเครือข่ายสื่อร่วมขับเคลื่อนงานในประเด็น  ยุทธศาสตร์จังหวัด ปรับกลไกการทำงานและการขยายเครือข่ายสื่อในวงกว้างมากขึ้น
    • เกิดความเข้าใจทิศทางและเนื้อหาการสื่อสารของเครือข่ายและการเชื่อมโยงกับบริหารงานกลาง

     

    50 39

    66. ติดตามหนุนเสริมพื้นที่ (โซนชายแดนใต้ 3 จังหวัด จ.ปัตตานี)

    วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานสื่อสร้างสุขภาคใต้ โดยประสานแกนนำที่ทำวิธีการการดำเนินการด้านเอกสาร กำหนดแผนงาน ปฏิทินงานการผลิตข่าวเพื่อสร้างกระแส สร้างความเปลี่ยนแปลง และยกระดับการขับเคลื่อนทางสังคมของจังหวัดกับการขยายผลการทำงานที่มีเครือข่ายสื่อร่วมขับเคลื่อนงานในประเด็น ยุทธศาสตร์จังหวัด ปรับกลไกการทำงานและการขยายเครือข่ายสื่อในวงกว้างมากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดความเข้าใจทิศทางและเนื้อหาการสื่อสารของเครือข่ายและการเชื่อมโยงกับบริหารงานกลาง

     

    40 38

    67. ประชุมกอง บก.เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนงานประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การจัดสมัชชาเพื่อให้เกิดเวทีสาธารณะ ที่ร่วมกันขับเคลื่อนเพื่อให้ คนคอน สู่เป้าหมาย “นครศรีฯ อยู่ดีมีสุข” โดยการประสานให้เกิดความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่เป็นภาคีร่วม  โดยการกำหนดกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เช่น  การจัดให้มีการเสวนา ในประเด็นต่าง ๆ  ที่เครือข่ายจังหวัดนครศรีฯ ขับเคลื่อน  การแลกเปลี่ยนและกำหนดมติในประเด็นขับเคลื่อน  และการจัดบู๊ดแสดงนิทรรศการ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัด และภาคีที่เกี่ยวข้องได้สนับสนุนงานขับเคลื่อนตามภารกิจคือการสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายองค์กรชุมชนในทุกๆระดับทั้งนี้การสนับสนุนขึ้นอยู่กับภารกิจของแต่ละหน่วยงานเช่น ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การจัดงานเพื่อการผนึกกำลังทั้ง 3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน,ภาคราชการ,ภาควิชาการ ที่ร่วมคิด ร่วมทำ เป้าหมายเดียวกัน คือการพัฒนาจังหวัดนครศรีธรรมราชในทุกด้านให้สู่ความ อยู่ดีมีสุข อย่างยั่งยืนซึ่งคณะทำงานขับเคลื่อนนครศรีฯ อยู่ดี มีสุขได้กำหนดชื่องานในครั้งนี้ให้สอดคล้องกับแนวทางการทำงานร่วมกันอย่างมีความสุขที่วางแผนไว้ 3 ปี ด้วยกัน ปีที่ 1(2559) สมัชชาสุขภาวะคนคอน สู่ นครศรีอยู่ดีมีสุข ปีที่ 2(2560) ร่วมกำหนดนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม ปีที่ 3(2561) ร่วมประกาศวาระเมืองนคร โดยคนเมืองคอน เพื่อคนเมืองคอน ทั้งหมดนี้ คือ“แผนนครฯบูรณาการ” ซึ่งในปีนี้ตามกำหนดแผนงานปีที่ 1 คือ การร่วมกันจัดงาน สมัชชา คนคอน สู่ นครศรีฯ อยู่ดีมีสุข ในวันนี้
    กระบวนการขับเคลื่อนงานจังหวัดนครศรีธรรมราชที่มีมาเป็นลำดับแผนชุมชนเป็นนวัตกรรมที่สำคัญมาก คือฝายมีชีวิต กระบวนภาคประชาชนนครถือว่ามีพลังที่เข้มแข็ง มีรูปธรรมการขับเคลื่อนจากเวทีเสวนาพบว่า แนวทางการขับเคลื่อนเครือข่ายที่ บอกพวกเรามี 8 ประเด็นคนนครศรีฯจะอยู่ดีมีสุขได้การขับเคลื่อนงานเครือข่าย คือการขับเคลื่อนต่อไปและมีปฏิสัมพันธ์ของการขับเคลื่อน ที่มีเรื่องราว บนจริตของเครือข่ายตนเองกระบวนการขับเคลื่อนเป็นต้นแบบเรื่องสารสนเทศมีการพัฒนาโมเดลของเรื่อง สิ่งที่พูดถึงและสำคัญมากอีกเรื่องคือ เมื่อเครือข่ายมาสัมพันธ์กันจะเชื่อมกันแบบไหนที่เป็นเชิงบวกเพื่อการเสริมพลังซึ่งกันและกันพลังของประเด็นร่วมจะส่งผลให้นครศรีธรรมราชไปได้ไกล ที่เสริมพลังซึ่งกันและกันภาคประชาชนไม่ได้ทำเพื่อองค์กรใดองค์กรหนึ่งหรืทำแต่เพียงเรื่องใดเรื่องหนึ่งแต่มีเป้าหมายเดียวกัน คือ “นครศรีฯ อยู่ดี มีสุข”

     

    500 350

    68. ประชุมสรุปรายงานความก้าวหน้าโครงการ

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอผลการดำเนินงานตามแผนงานที่ดำเนินการ ทั้งในส่วนแผนงานพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน แผนงานบริหารจัดการ และแผนงานประชาสัมพันธ์ในงาน สื่อสร้างสุข  ในรูป Power point , Face book live ( การสื่อสารงานสร้างสุขในรูปแบบข่าวสั้นผ่าน  Face book live )  สารคดี กรณีพื้นที่ ตัวอย่างที่มีการดำเนินการจัดทำสารคดีสั้น  ประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร (Food Bank) 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การนำเสนอผลการดำเนินงานโครงการเป็นภาพรวม  และได้รับทราบความก้าวหน้าการขับเคลื่อนงานจากประเด็นต่าง ๆ ที่มานำเสนอพร้อมกัน  เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการขับเคลื่อนงานทั้งภาพรวมของโครงการและผลที่เกิดขึ้นในระดับพื้นที่

     

    20 15

    69. ติดตามหนุนเสริมพื้นที่ โซนใต้บน จ.ชุมพร

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานสื่อสร้างสุขภาคใต้ โดยประสานแกนนำที่ทำเกี่ยวกับสื่อชุมชนมาร่วมประชุมและกำหนดทิศทางร่วมกันในการสื่อเพื่อสร้างพลังทางสังคม กำหนดแผนงาน  ปฏิทิน วิธีการดำเนินการด้านเอกสาร งานการผลิตข่าวเพื่อสร้างกระแส  สร้างความเปลี่ยนแปลง  และยกระดับการขับเคลื่อนทางสังคมของจังหวัดกับการขยายผลการทำงานที่มีเครือข่ายสื่อร่วมขับเคลื่อนงานในประเด็น  ยุทธศาสตร์จังหวัด ปรับกลไกการทำงานและการขยายเครือข่ายสื่อในวงกว้าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดทิศทางและเนื้อหาการสื่อสารของเครือข่ายและการเชื่อมโยงกับบริหารงานกลาง

     

    30 18

    70. ติดตามหนุนเสริมพื้นที่ โซนใต้ตอนบน จ.สุราษฎร์ธานี

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานสื่อสร้างสุขภาคใต้ โดยประสานแกนนำที่ทำเกี่ยวกับสื่อชุมชนมาร่วมประชุมและกำหนดทิศทางร่วมกันในการใช้สื่อเพื่อสร้างพลังทางสังคม
    -วิธีการดำเนินการด้านเอกสาร กำหนดแผนงาน  ปฏิทินงานการผลิตข่าวเพื่อสร้างกระแส  สร้างความเปลี่ยนแปลง  และยกระดับการขับเคลื่อนทางสังคมของจังหวัดกับการขยายผลการทำงานที่มีเครือข่ายสื่อร่วมขับเคลื่อนงานในประเด็น  ยุทธศาสตร์จังหวัด ปรับกลไกการทำงานและการขยายเครือข่ายสื่อในวงกว้าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดความเข้าใจทิศทางและเนื้อหาการสื่อสารของเครือข่ายและการเชื่อมโยงกับบริหารงานกลาง

     

    40 29

    71. ผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนธันวาคม

    วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุ เชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ (ผ่านทีวีลิกอร์)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้สนใจติดตามรายการวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ จากจังหวัดต่าง ๆ

     

    1,000 3,000

    72. ให้การสนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น (โซนใต้ตอนบน ชุมพร งวดที่ 2)

    วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวบรวมข้อมูลถอดเทปรายการวิทยุ ลงพื้นที่ตามโอกาสและเนื้อหางาน เพื่อนำมาตีพิมพ์ สื่อออนไลน์และเผยแพร่ พร้อมบันทึกไว้ใน www.Go to Know

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นสพ. 12 ฉบับ 1 เดือน ต่อ 1 ฉบับ ต่อ 1 เรื่อง รวม 12 เดือน 12 ฉบับ

     

    2,000 2,000

    73. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น(โซนใต้ฝั่งอันดามันฝั่ง กระบี่ งวดที่ 2)

    วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โซนพื้นที่ จ.กระบี่ -  การผลิตคลิปสั้น ความยาวไม่เกิน 5 นาที จำนวน 4 ชุด (เขียนบาท, ลงพื้นที่สัมภาษณ์และถ่ายวิดีโอ,บันทึกเสียง ตัดต่อ)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โซนพื้นที่ จ.กระบี่ -  การท่องเที่ยวในชุมชนได้รับความสนใจและเกิดการส่งเสริมเพิ่มมากขึ้น การให้ความสนใจตระหนักในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น เกิดความเอาใจใส่ จิตสำนึก รัก หวงแหนวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น ในชุมชนของตัวเองมากขึ้น

     

    500 500

    74. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติกรตามประเด็น (โซนใต้ฝั่งอันดามัน ฝั่ง ตรัง) งวดที่ 2

    วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ประชุมวางแผนคณะทำงานเพื่อลงพื้นที่เก็บข้อมูลและดำเนินรายการสถานีที่ออกอากาศ
    2.  ประสานงานพื้นที่ท่องเที่ยวชุมชน 3.  ลงพืนที่ชุมชนเพื่อข้อมูลและดำเนินรายการสถานีที่ออกอากาศ 4.  จัดทำสารคดีทางรายการวิทยุ/สารคดี ยูทูป/ ไลน์กลุ่มต่างๆ /facebook/ วิดีโอเผยแพร่ 5.  ประเมินรายการสื่อต่างๆ ที่ออกอากาศ 6.  ประชุมสรุปคณะทำงาน เพื่อประเมินรายการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  เปิดพื้นที่ให้คนทำงานด้านสื่อในชุมชน 2.  ประชาชนทั่วไปได้รับข่าวสาร ชุมชนท่องเที่ยวรับรู้ และเกิดพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงมาเที่ยวในชุมชนเพิ่มขึ้น 3.  ได้สื่อสารบอกเล่ากิจกรรม       -  เนื้อหาที่นำเสนอสามาถนำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน       -  ผู้รับสารจากสื่อต่าง ๆ ร่วมกันแก้ปัญหาต่าง ๆ เช่น การมีส่วนร่วมในการดูแลทรัพยากรในพื้นที่       -  ได้รับความรู้อันเป็นต้นแบบให้กับ ชุมชนอื่น ๆ       -  ได้ทราบสถานการณ์ปัญหาต่างๆ ของพื้นที่ เช่น เรื่องการท่องเที่ยว เรื่องสุขภาพ เรื่องการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

     

    500 3,000

    75. ให้การสนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น (โซนใต้ตอนบน สุราษฎร์ธานี งวดที่ 2)

    วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ประชุมคณะทำงานออกแบบเตรียมความพร้อม และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบแต่ละส่วนงาน 2.  จัดกิจกรรมเวทีที่ 1 เวทีอบรมเชิงปฏิบัติการ การเข้าถึงสิทธิและการใช้ชีวิตก่อนและวัยผู้สูงอายุ     จัดกิจกรรมเวทีที่ 2 เวทีอบรมเชิงปฏิบัติการ การส้รางสื่อรณรงค์การเข้าถึงสิทธิของผู้สูงอายุ พร้อมบันทึกเทปเพื่อผลิตวีดีทัศน์ 3.  สรุปผลการดำเนินการสู่ส่วนที่เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ผู้เข้าอบรมตามกลุ่มเป้าหมายเข้าใจการดำเนินการของโครงการ กลุ่มผู้สูงอายุหมู่บ้านวังใหญ่ หมู่ที่ 4 ตำบลควนศรี อำเภอบ้านนาสารให้ความสนใจเป็นพิเศษเพราะความรู้เรื่องการเข้าถึงและการใช้สิทธิของผู้สูงอายุรวมถึงการใช้ชีวิตก่อนและวัยผู้สูงอายุนั้นหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องลงมาให้ความรู้กับชุมชนน้อยมาก 2.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการสร้างสื่อรณรงค์ได้สื่อวีดีทัศน์ 1 ชิ้น และสื่อบุคคลเพื่อเผยแพร่ให้ความรู้กับคนในชุมชน พร้อมทั้งนำความรู้ไปประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่ายหมู่บ้านอาทิตย์ละครั้ง โดยผู้ใหญ่บ้าน 3.  คนในชุมชนสนใจเข้าร่วมอบรมเกินเป้าหมายมากกว่าที่วางไว้แสดงถึงการต้องการมีความรู้เกี่ยวกับการเข้าถึงและการใช้สิทธิของตนเอง

     

    100 123

    76. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น (โซนใต้ตอนกลาง นครศรีฯ งวดที่ 2)

    วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ประชุมทีมสื่อเพื่อกำหนดเป้าหมายพื้นที่ลงทำสารคดีและข่าว เพื่่อทำการสื่อสารในช่องทางต่าง ๆ
    2.  ผลิตสารคดีจำนวน 5 ตอน 3.  ผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ ประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร 4.  ในสถานการณ์วิกฤติน้ำท่วม ใช้เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนในพื้นที่ประสบภัยเป็นศูนย์ประสานงานย่อย เพื่อรายงานความเดือนร้อนภายในพื่นที่ ในการทำข่าว และเข้าให้ความช่วยเหลือผู้เดือดร้อนในพื้นที่ต่าง ๆ 5.  สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินงานอย่างต่อเนื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  มีสื่อที่เกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหาร ได้ออกอากาศทางสื่อกระแสหลัก และสื่อดาวเทียมอื่น และสื่อออนไลน์
    -  เกิดการสื่อสารประเด็นความมั่นคงด้านอาหารและเป็นกระแสสังคมด้วยการจัดรายการผ่านสถานีวิทยุจากสถานีและโทรทัศน์ออนไลน์ -  สื่อสารสภาพความเดือนร้อนออกสู่สาธารณะและหน่วยงาน เพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือ ดูแลผู้ประสบภัยได้ทันท่วงที

     

    1,000 1,000

    77. ภาษีดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

    วันที่ 16 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ธนาคารหักภาษีดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ธนาคารหักภาษีดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

     

    0 0

    78. ถอดบทเรียนการทำงาน

    วันที่ 28 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีม(กลุ่ม) ได้ตรวจสอบทบทวน กระบวนการสื่อสารที่ดำเนินการมาในทุกช่องทาง ทั่งวิทยุ Face book live ยูทูป lineวิเคราะห์ SWOT โดยมีนักวิชาการและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ด้านการสือสารช่วยวิเคราะห์เปรียบเทียบงานที่ทำกับข้อมูลด้านวิชาการ

    1.สรุปบทเรียนการทำงานด้านการสื่อสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงาน 2.การวิเคราะห์การทำงานตามแผนงานข้อดี ข้อด้อยอุปสรรคและโอกาสการชับเคลื่อนให้บรรลุเป้าหมาย 3.การแลกปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ภาคใต้กับการใช้การสื่อสารเป็นเครื่องมือ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กิจกรรมที่ไปตอบโจทย์ในพื้นที่ ซึ่งเราในฐานะสื่อมวลชลจะทำอย่างไรให้ประเด็นสำคัญถูกพูดถึงอย่างไรบ้างและสื่อสามารถนำไปขยายผลต่อ และการสื่อที่เราเลือกคือสื่ออย่างไร สื่อกระแสหลักสื่อสารได้ในวงกว้างคนฟังเยอะคนดูเยอะแต่การสื่อสารเรื่องราวในชุมชนมีน้อยในขณะที่การขับเคลื่อนของเรามี “จิตวิญญาณ” จุดเด่นของสื่อชุมชนคือ การที่ชุมชนสามารถสื่อสารเรื่องราวของคนในชุมชนได้อย่างเต็มที่
    • ทำอย่างไรที่เราจะสามารถสื่อสารเรื่องราวให้ได้ในวงกว้าง และมี “จุดเชื่อมต่อ”ที่จะทำให้การสื่อสารของเรามีศักยภาพ
    • การสื่อสารมิใช่เพื่อให้คนรับรู้เพียงอย่างเดียวแต่เป้าหลัก คือเราต้องการสร้างเพื่อการเปลี่ยนแปลงอย่างหนึ่งคือ 1. ผลิตซ้ำ (เอามาเล่า ) 2. ตั้งคำถาม 3. การรื้อสร้างเอามาสร้างใหม่ทำใหม่ คนที่อยู่ตรงข้ามเรา (ผู้รับสื่อ)เขาต้องการไหมประเด็นแลกเปลี่ยน 1. เป็นทั้งผู้ผลิตสื่อเอง 2. เป็นผู้รับสารเหมือนกัน 3. เป็นผู้ทำสื่อ แต่เราจะทำอย่างไรให้คนในพื้นที่เอาประเด็นและช่องทางไปสื่อสารต่อ

     

    50 45

    79. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติกาตามประเด็น (โซนชายแดนใต้3จังหวัด (ปัตตานี งวดที่ 2)

    วันที่ 29 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงพื้นที่ เก็บข้อมูลเพื่อผลิตรายการวิทยุ ณ ศาลากลางจังหวัดปัตตานี อ.เมือง จ.ปัตตานี
    • ลงพื้นที่ เก็บข้อมูลเพื่อผลิตรายการวิทยุ ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนยะหริง (ในโครงการพระราชดำริ) และกลุ่มบูนาดาา (กลุ่มท่องเที่ยวเชิงนิเวศ) ต.ตะโล๊ะกาโปร์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
    • ลงพิ้นที่ เก็บข้อูมูลเพื่อผลิตรายการวิทยุ "งานเลิกยา เลิกบุหรี่ ทำดีเพื่อ่อ" ต.สะดาวา อ.ยะรัง จ.ปัตตานี
    • ลงพื้นที่เยี่ยม สถานีวิทยุอัตตัรฯเรดิโอ 104 MHZ เพื่อประเมินรายการ "เสียงสุขภาวะชายแดนใต้" ที่ได้ออกอากาศ ทั้งหมด 12 ตอน พร้อมกับมอบเงินสนับสนุนสถานีงวดที่ 2
    • ลงพื้นที่เยี่ยม สถานีวิทยุสาธารณะมัสยิดกาง จ.ยะลา 105.75 MHZ เพือประเมินรายการ "เสียงสุขภาวะชายแดนใต้" ที่ได้ออกอากาศ ทั้งหมด 12 ตอน พร้อมกับมอบเงินสนับสนุนสถานีงวดที่ 2
    • ลงพื้นที่เยี่ยม สถานีวิทยุกระจายเสียง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 107.25 MHZ, สถานีวิทยุอาวุนเรดิโอ 100.5 MHZ และสถานีวิทยอัลกุรอานดารุสสลาม 104.25 MHZ เพื่อประเมินรายการ"เสียงสุขภาวะชายแดนใต้" ที่ได้ออกอากาศทั้งหมด 12 ตอน พร้อมกับมอบเงินสนับสนุนสถานีงวดที 2 -  ประชุมวางแผนคณะทำงานเพื่อลงพื้นที่เก็บข้อมูลและเยี่ยมสถานีที่ออกอากาศรายการ -  ประสานงานพื้นที่ชุมชนสถานีวิทยุ -  ลงพื้นที่ชุมชนเพื่อข้อมูลและเยี่ยมเครือข่ายสถานีวิทยุ -  จัดทำรายการวิทยุ -  ประเมินรายการวิทยุที่ออกอากาศ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  ได้เนื้อหาและข้อมูลเพื่อนำมาผลิตรายการวิทยุ -  ได้วิทยากรที่จะมาร่วมรายการวิทยุ -  ได้บทวิทยุและเนื้อหาของรายการวิทยุแต่ละตอน -  ความพร้อมในการผลิตรายการวิทยุ -  ได้ผลการประเมินรายการที่ออกอากาศ -  เปิดพื้นที่ให้คนทำงานด้านสุขภาวะท่ามกลางสถานการณ์ความไม่สงบ ได้สื่อสารบอกเล่ากิจกรรมที่ทำและประชาชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และแรงบันดาลใจ จากวิทยากรผู้มาเข้าร่วมรายการ

     

    500 586

    80. งานสื่อสารในพื้นที่่ช่วงภัยพิบัติ

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ลงพื้นที่เพื่อรายงานสถานการณ์จากพื้นที่น้ำท่วม 2.  สำรวจข้อมูลความเดือดร้อนเพื่อส่งต่อการช่วยเหลือ 3.  ให้ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารในสถาการณ์ภัยพิบัติ 4.  จัดตั้งศูนย์รับบริจาคถุงยังชีพเพื่อทำการช่วยเหลือผู้เดือดร้อน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  เกิดศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในระดับอำเภอ 2.  เกิดแนวทางการจัดตั้งศูนย์การจัดการภัยพิบัติในระดับอำเภอ 3.  เกิดแผนงานฟื้นฟูช่วยเหลือผู้ประสบภัยหลังน้ำท่วม

     

    2,000 2,000

    81. ครัวเติมสุข

    วันที่ 4 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ลงพื้นที่หาข้อมูลตามความเดือนเร่งด่วน 2.  เปิดครัวในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในระดับรุนแรงที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  เกิดครัวเติมสุขเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนในเรื่องอาหารการกินในระหว่างประสบภัยน้ำท่วม -  บริจาคถุงยังชีพให้กับผู้ที่เดือดร้อน -  ได้บันทึกเป็นข้อมูลเพื่อเป็นพื้นฐานข้อมูล

     

    5,000 8,000

    82. เวทีสาธารณะฟื้นฟูเยียวยาหลังน้ำท่วม

    วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.วางแผนงานจัดเวทีสาธารณะกับประเด็นการฟื้นฟูเยียวยาหลังน้ำท่วม 2. ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ระหว่างเกิดภัยพิบัติ และ ฟื้นฟูซ่อมสร้างบ้านที่อยู่อาศัยจากเหตุภัยพิบัติ 3. สื่อสาร องค์กรภายนอก และประสานให้เกิดการช่วยเหลือในพื้นที่ที่ยังไม่ได้รับการช่วยเหลือ 4. ตั้งศูนย์ช่วยเหลือส่วนกลาง รับข้อมูลผู้ต้องการความช่วยเหลือจากเครือข่ายสภาฯองค์กรชุมชนและประสานให้เกิดช่วยเหลือใหทันเวลา 5. ระดมทุนจัดคอนเสิร์ตอุดรอยรั่วประสานรอยร้าวฝ่าวิกกฤติไปด้วยกัน เพื่อซ่อมสร้างบ้านที่อยู่อาศัยจากเหตุภัยพิบัติ 6. ใช้ช่องทางการสื่อสาร โดยทีมงานสื่อชุมชนภาคใต้ เครือข่ายกอง บก.สื่อสร้างสุขภาคใต้ สื่อชุมชนของสภาองค์กรชุมชน นำเสนอข่าวสารความเดือดร้อน ทั้งในระหว่างประสบภัย และ ผลกระทบ หลังประสบภัย ผ่านทุกช่องทางสื่อ และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส 7. การสื่อสารที่เกิดรูปธรรมการเปลี่ยนแปลง เช่น ชาวบ้านที่บ้านพังเสียหาย ถนนที่ถูกตัดขาด ผลกระทบจากการจัดการขยะหลังจากได่สื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ สามารถนำไปสู่การดำเนินการแก้ไข และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องลงดำเนินการอย่างรวดเร็ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  เกิดการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อผู้ว่าราชการจังหวัด ถึงเรื่องภัยพิบัติที่เกิดขึ้น 2.  เกิดการระดมทุนโดยผ่านเวทีคอนเสริต "อุดรอยรั่วประสานรอยร้าวฝ่าวิกฤติไปด้วยกัน" 3.  การประสานการหนุนเสริมกับหน่วยงาน  การซ่อมสร้างที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี

     

    200 100

    83. เวทีเสวนาหรือสมัชชาทางอากาศ

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ชาวบ้าน 5 ตำบล โดยกลไกเครือข่ายสภาองค์กรชุมชนประชุมแสดงความคิดเห็นและแบ่งกลุ่มตามตำบล 2.  ได้ข้อสรุปผลกระทบจากปัญหากองขยะ 3.  ร่างข้อเสนอให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4.  ร่วมอภิปรายและเสนอแนวคิดร่วมกับเวทีสาธารณะไทยพีบีเอส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กองขยะ 1.2 ล้านตัน ที่นครศรีธรรมราชถึงทางตันแล้วหรือ

    เครือข่ายขบวนองค์กรชุมชนตำบลจังหวัดนครศรีธรรมราช

    ปริมาณขยะ 1.2 ล้านตัน สะสมมานานกว่า 10 ปี เนื่องจาก เปลี่ยนการจัดเก็บแบบฝังกลบเป็นแบบเทกอง ซึ่งผิดจากที่ออกแบบไว้เดิม สาเหตุมาจากการรับขยะ ในองค์กรท้องถิ่นอื่นๆ รวมทั้งเทศบาลนครด้วยเป็น 58 แห่ง มีปริมาณขยะ เข้าวันละเกือบ 300 ตัน เป็นขยะที่มาจากเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ประมาณ 120-130 ตันต่อวัน หลังจากน้ำท่วมปี 2554 ก็ส่งผลกระทบรุนแรงอย่างต่อเนื่อง และก็ไม่ได้รับการแก้ปัญหาอย่างจริงจัง จนปลายปี 2559 เกิดวิกฤติน้ำท่วมในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช และเกิดซ้ำอีกในต้นปี 2560 ซึ่งเป็นภัยพิบัติครั้งใหญ่ทั้ง 23 อำเภอในจังหวัดนครศรีธรรมราช ส่งผลกระทบกับการจัดการขยะของเทศบาลนครนครศรีธรรมราช อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นจากภาวะน้ำท่วม และปริมาณน้ำที่เข้าท่วมขังบริเวณกองขยะเป็นวงกว้าง ส่งผลกระทบซ้ำเติมกับประชาชนที่อาศัยและทำมาหากิน บริเวณรอบกองขยะ อย่างน้อย 5 ตำบลคือ ต.นาทราย ต.ปากพูน ต.นาเคียน ต.ท่างิ้ว และ ต.ปากนคร

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 ชาวบ้านทั้ง 5 ตำบล รวมตัวเพื่อช่วยกันหาทางออกกับปัญหาผลกระทบที่ได้รับ ก่อนนำข้อมูลส่งต่อเวทีสาธารณะในช่วงบ่าย

    ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบรวมตัวผ่านกลไกเครือข่ายสภาองค์กรชุมชนตำบล ในพื้นที่ 5 ตำบล ภายใต้ พรบ.สภาองค์กรชุมชน พ.ศ.2551 ได้ข้อสรุปกับผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ น้ำเสียจากกองขยะไหลเข้าสู่ลำคลองระบบน้ำธรรมชาติซึ่งเป็นพื้นที่ทำมาหากินของชาวบ้าน สิ่งที่ชาวบ้านได้รับผลกระทบชัดเจนนั่นคือวิถีชีวิตเปลี่ยนไป การประกอบอาชีพไม่เหมือนเดิม ส่งผลต่อรายได้ประจำวัน เช่นอาชีพประมง ปลูกพืชผัก ทำนา การเลี้ยงสัตว์ ไม่สามารถทำได้ ภูมิทัศน์เปลี่ยนไปไม่สวยงามและยังส่งกลิ่นเหม็นอย่างรุนแรง น้ำสำหรับบริโภคมีสิ่งปนเปื้อนต้องหลีกเลี่ยง มีโรคที่เกิดจากการสัมผัสทางผิวหนัง เช่น ผื่นคัน เปื่อยพุพองจากอาการคัน สิ่งสำคัญคือประชาชนที่ได้รับผลกระทบเกิดความกังวล ระแวง และมีความเครียด

    ข้อเสนอเพื่อขอความช่วยเหลือ

    ชาวบ้านเรียกร้องค่าชดเชยเยียวยาให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากการขาดรายได้ ขอให้หน่วยงานสาธารณะสุขเข้ามาดูแลเรื่องสุขภาพ สุขภาวะ ขอให้มีการจัดการน้ำสะอาดเพื่ออุปโภคและบริโภค ให้มีมาตรการพัฒนาส่งเสริมอาชีพและรายได้ การปรับสภาพดิน

    ข้อเสนอแนวทางการแก้ปัญหากับเทศบาลนครนครศรีธรรมราช

    ชาวบ้านต้องการให้เกิดการแก้ปัญหาโดยเร็วและเป็นรูปธรรม มีกรอบระยะเวลาในการจัดการและขั้นตอนการแก้ปัญหาเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ทั้งเรื่องการบำบัดน้ำเสีย การกำจัดขยะต้นทาง โดยคัดแยกขยะจากครัวเรือน การห้ามไม่ให้นำขยะจากพื้นที่อื่นเข้ามาทิ้ง หามาตรการในการพัฒนาส่งเสริมฟื้นฟูด้านอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัว และไม่ต้องการให้มีกองขยะในพื้นที่

    ในช่วงบ่ายวันเดียวกันสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจัดรายการถ่ายทอดสด รายการเวทีสาธารณะ สถานที่ วัดหญ้า ต.นาทราย เพื่อหาทางออกร่วมกัน

    ผู้เข้าร่วมรายการเป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการร่วมแก้ปัญหาภูเขาขยะแห่งนี้โดยตรงคือ นายดนัย เจียมวิเศษสุข รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช นายชิษณุพงษ์ สุวรรณ รองปลัดเทศบาลนครนครศรธรรมราช นพ.บัญชา ค้าของ สสจ. จังหวัดนครศรีธรรมราช นายสนธิ คชวัฒน์ จากสมาคมส่งเสริมสิ่งแวดล้อม นายสมชาย ฮามีน นายกสมาคมคุ้มครองสิทธิและสิ่งแวดล้อม และ ดร.ศิริอุมา เจาะจิตต์ นักวิชาการอนามัยสิ่งแวดล้อม ม.วลัยลักษณ์

    รองปลัดเทศบาลนคร ให้ข้อมูล สาเหตุที่ต้องรับขยะจากท้องถิ่นอื่นเข้ามาทิ้งด้วยนั้นสืบเนื่องจากปี 2542 อบต.แต่ละพื้นที่ได้จัดซื้อรถเก็บขยะเพื่อบริการจัดเก็บขยะในพื้นที่ตัวเอง แต่สุดท้ายไม่มีสถานที่ทิ้งและกำจัดขยะของตัวเอง เทศบาลนครนครศรีฯ จึงจำเป็นต้องเข้าไปช่วยเหลือเพื่อร่วมกันแก้ปัญหาของจังหวัดขณะนั้น ทำให้มีขยะจากท้องถิ่นอื่นรวมทั้งเทศบาลนครเองรวม 58 แห่ง มีขยะรวมกันวันละเกือบ 300 ตัน โดยเก็บค่าบริการตันละ 250 บาท ในขณะที่เทศบาลต้องมีค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะตันละ 350 บาท ซึ่งเทศบาลต้องรับภาระมาโดยตลอด (เทศบาลก็ขาดทุนชาวบ้านก็จะขาดใจ) อีกทั้งเมื่อปริมาณขยะเพิ่มขึ้นก็

    ไม่สามารถทำการฝังกลบได้ตามที่กำหนดไว้ จึงใช้วิธีเทกองจนเกิดเป็นภูเขาขยะ ส่งผลกระทบอย่างที่เห็นในปัจจุบัน

    ฝ่ายวิชาการม.วลัยลักษณ์ ให้ข้อมูลการตรวจสอบน้ำบนผิวดิน ตรวจพบ ทั้ง แคชเมี่ยม โครเมี่ยม ตะกั่ว และสารอื่นๆ อีกถึง 8 ชนิด พบว่าไม่เกินค่ามาตรฐานน้ำผิวดิน แต่ก็เป็นการตรวจในช่วงที่มีปริมาณน้ำมากกว่าปกติ จึงจำเป็นต้องติดตามและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้นายสนธิ คชรัตน์ ซึ่งทำงานด้านสิ่งแวดล้อม ให้ความเห็นเพิ่มเติมว่าถึงแม้จะไม่เกินค่ามาตรฐานน้ำผิวดิน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเมื่อเข้าไปในร่างกายแล้วจะไม่เกิดอันตรายกับมนุษย์ เพราะความต้านทานของมนุษย์แต่ละคนในการรับสารแต่ละชนิดไม่เท่ากัน ซึ่งนายแพทย์สาธารณะสุขจังหวัดที่ร่วมเวทีก็เห็นด้วยในเรื่องนี้

    สำนักงานสาธารณะสุขจังหวัด ได้ศึกษาภาพรวมของปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ พบว่าชาวบ้านมีอาการคันเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ ที่น่าห่วงคือความกังวลของชาวบ้านหวาดกลัวผลกระทบต่าง ๆ นานาที่จะตามมาในอนาคต สาธารณะสุขจึงทำ mapping ปักหมุดบ้านที่ได้รับผลกระทบ และโรคที่ตรวจพบ คือ ผื่นคัน โรคหอบ โรคภูมิแพ้ จำนวน 808 หลังคา 23,145 คน พบผู้ที่เป็นโรคดังกล่าว 2,968 คน

    แนวทางการแก้ปัญหาเทศบาล เบื้องต้นคือการทำเขื่อนมาตรฐานป้องกันน้ำไหลลงสู่พื้นที่ทำกินรวมถึงการติดตั้งกล้อง cctv เพื่อป้องกันและตรวจสอบผู้ไม่หวังดีเข้ามาทำลายเขื่อนอีกชั้นหนึ่ง

    ส่วนในระยะยาวคือ

    1. การร่วมทุนกับเอกชนทำโรงงานกำจัดขยะแบบ Refuse Derived Fuel; RDF :แบบ (การเปลี่ยนขยะเป็นเชื้อเพลิง) ซึ่งดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2552 แต่ยังไม่สามารถหาผู้มาลงทุนร่วมได้ด้วยปัญหาที่พบหลายอย่างเช่นปัญหาข้อกฎหมายผังเมืองการตั้งโรงงานในเขตพื้นที่รวมถึง พรบ.ร่วมทุน ที่ไม่สามารถทำให้บรรลุข้อตกลงได้

    2. บ่อบำบัดน้ำเสีย ต้องทำให้ถูกลักษณะ

    3. การขนย้ายขยะไปทิ้งแหล่งอื่น

    4. ออกข้อบัญญัติท้องถิ่นในการฝังกลบขยะชุมชน

    ในส่วนของการร่วมทุนกับเอกชนยังต้องใช้เวลาและการลงทุนค่อนข้างสูง ซึ่งเทศบาลจัดหาผู้รับจ้างมาตั้งแต่ปี 52 แต่ยังมีปัญหาทางด้านกฎหมายผังเมืองการตั้งโรงงานในเขตพื้นที่

     

    50 50

    84. เวทีเชื่อมโยงเครือข่ายสื่อ ว่าด้วยเรื่องฝายมีชีวิต รับมือภัยแล้งกับเวทีประชาเข้าใจ

    วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เชิญชาวบานเข้าเวทีชมวีดีทัศน์การสร้างฝายมีชีวิตเสนอกระบวนการสร้างฝายมีชีวิต
    2. ครูฝายให้ความรู้เพิ่มและสอบถามข้อมูลความจำเป็นและความเดือดร้อนของชาวบ้านว่าทำไมต้องสร้างฝายในพื้นที่
    3. ให้ชาวบ้านแสดงความคิดเห็นและอภิปรายความเดือดร้อนและความต้องกา
    4. ครูฝายสรุปผลการบรรยายและทบทวนให้ชาวบ้านฟัง
    5. สอบถามความสมัครใจให้ชาวบ้านลงมติร่วมกันว่าจะสร้างหรือไม่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ชาวบ้านเข้าใจกระบวนการสร้างฝายมีชีวิต
    2. ชาวบ้านพร้อมใจและมีมติร่วมทีจะสร้างฝายมีชีวิตเพื่อแก้ปัญหาน้ำของหมู่ที่ 2
    3. กำหนดการทำฝายเพื่อสร้างแผนงานในพื้นที่

     

    40 30

    85. ประชุมวิชาการ Living Will and Palliative Care

    วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ถ่ายทอดสดการสัมนาแลกเปลี่ยน ทางวิชาการ
    บันทึกรายการ และจัดเก็บไว้คลังข้อมูลการสื่อสาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -สื่อสารการขับเคลื่อนงานวิชาการที่เกี่ยวกับสุขภาวะของชุมชน ได้ชินงานการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ

     

    100 200

    86. ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการสร้างเสริมสังคมสุขภาวะ และการบริหารโครงการสุขภาวะ

    วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เรียนรู้จาก ผู้บริหารองค์กรด้านสุขภาพ และหน่วยงานหนุนเสริม สช. สสส. สปสช. โดยมีกิจกรรม การเรียนรู้ แต่ละวันเช่น การแลกเปลี่ยนจากผู้นำองค์กร การภิปรายแลกเปลี่ยนจากผู้เข้าร่วม การเรียนรู้ผ่านสื่อวิดิทัศน์ร่วมวิเคราะห์และรับฟังข้อเสนอแนะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ชิ้นงานวิดิทัศน์เพื่อการเผยแพร่ การเรียนรู้กับบุคลทั่วไป
    • ได้รับความรุ้ใหม่และการนำไปปรับใช้กับการทำงานได้จริงและใช้ได้ทันที ส่งผลต่อการทำงานที่ มีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งผลต่อการดำเนินโครงการได้ตามวัตถุประสงของโครงการและตอบโจทย์ ให้กับชุมชนมากขึ้น

     

    100 80

    87. เวทีเชื่อมโยงเพื่อสื่อสารการขับเคลื่อนภาคประชาสังคม จ.นครศรีธรรมราช

    วันที่ 6 เมษายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -  กิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ชุมชน -  ทุกคนเป็นวิทยากรกระบวนการ เรียนรู้จริงแล้วมายกระดับการพัฒนากระบวนการ -  การจัดการความรู้ สิ่งที่อยากรู้ หรือสิ่งที่ไม่อยากรู้ เพื่อได้นำไปปรับปรุงหรือปฏิบัติตาม -  ถอดบทเรียน โดยผ่านขบวนการซักถาม และการรวบรวมความรู้ ข้อมูลต่างๆ จัดทำเป็นชุดองค์ความรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เครือข่ายสามารถทำงานได้ภายใต้งบประมาณที่มีอยู่จำกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยการบูรณาการงบประมาณร่วมกัน โดยนำความรู้ที่มีอยู่มาจัดเรียงตามกระบวนการจัดการความรู้และนำไปใช้ในชุมชน 

     

    60 40

    88. เวทีเสวนา การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. กระบวนการนำเข้าข้อมูลการท่องเที่ยวโดยชุมชน และจัดเสวนาเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชน และการแบ่งกลุ่มเพื่อทำWorkshop ออกแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชน 2.ถ่ายทอดสดผ่าน ลิกอร์ live และบันทึกรายการลง vcdอัพรายการลงยูทูป และเพจสมคมสื่อชุมนภาคใต้ นครศรีธรรมราช

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้บันทึกชิ้นงาน เพื่ือทำการสื่อสารทางสังคมในเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชน
    ใช้เป็นข้อมูลที่มีประโยชน์ให้กับการสืบค้นที่มาของการออกแบบเพื่อให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป้นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น ชุดความรู้ การเรีบนรู้ และการพัฒนาไปสู่ความสำเร็จจากการแลกเปลี่ยในวงเสวนา

     

    50 50

    89. ร่วมประชุมเชิงปฏฺิบัติการ เรื่องวิทยาการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ

    วันที่ 24 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ถ่ายทอดสดผ่าน ลิกอร์ live
    • บันทึกรายการ ลง VCD และร่วมเรียนรู้ การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สื่อสารการเรียนรู้เรื่องกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ผ่านลิกอร์ live
    • บันทึกชิ้นงานลง vcd
    • อัพรายการลงยูทูป เพื่อสื่อสาร กับ สาธารณะ

     

    60 60

    90. เวทีสื่อสารการขับเคลื่อนทางสังคมประเด็นอาหารปลอดภัย

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สื่อสารการขับเคลื่อน โครงการบูรณาการด้านอาหารระดับตำบล โดยการบันทึกเทป วิดิทัศน์ เพื่อนำเผยแพร่ ผ่าน ช่องทางต่างๆ การนำข้อมูลที่สำรวจมาชี้แจงให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและให้ความเห็นเพิ่มเติม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ชุดข้อมูลที่สมบูรณขึ้น นำไปสูการทำแผน ยุทธศาสตร์ด้านอาหารของตำบลจันดี ส่งผลต่อการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย และส่งเสริมให้ชุมชนผลิตอาหารที่ปลอดภัยสำหรับชุมชน และเชื่อมโยงกับกลุ่มผู้สูงอายุ เสริมความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ลดรายจ่ายให้กับครัวเรือน

     

    100 60

    91. สนับสนุนผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนมกราคม

    วันที่ 4 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุเชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ (ผ่านทีวีลิกอร์)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้สนใจติดตามรายการวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์จากจังหวัดต่าง ๆ ประมาณ 2,000 คน (ประเมินจากแฟนเพจ สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ )

     

    1,000 1,000

    92. สนับสนุนผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนกุมภาพันธ์

    วันที่ 4 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คลื่นลูกทุ่งไทย  97.50  mhz - จัดรายการเรื่องการจัดการภัยพิบัติน้ำท่วม การช่วยเหลือซึ่งกันและกันของชาวบ้านในอำเภอพิปูน การจัดการภัยพิบัติทั้งระบบจะทำให้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติน้อยลง การร่วมกันจัดการคนในชุมชนโดยให้ชาวบ้านเตรียมพร้อมตลอดเวลา ยูนิตี้เรดิโอ 96 mhz - ติดตามน้ำท่วมนครศรีธรรมราช เส้นทางในจังหวัดนครศรีธรรมราช การช่วยเหลือแจกจ่ายสิ่งของให้ผู้ประสบภัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช ป่าบอนซิตี้เรดิโอ 107.25 mhz - จัดรายการคุยเรื่องข้าวสังหยด เป็นอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับชาวพัทลุง
    ปัตตานีเรดิโอ 98.50 - จัดการการ บทเรียนจากเหตุการณ์น้ำท่วม การเตรียมตัวก่อนที่จะเกิดอุทกภัย และการเตรียมตัวเมื่อเกิดอุทกภัยน้ำท่วม โดยอาจารย์สมพร
    สวท.ตรัง 91.25 mhz -  จัดรายการสุขภาวะของคนทำนาข้าว และวิถีการทำนาของคนตรังและได้มีการจัดการเรื่องต้นน้ำ และสายน้ำได้ดีของจังหวัดตรัง คลื่นลูกทุ่งไทย 97.25 mhz - จัดรายการเสวนาของสื่อชุมชนในประเด็นของสุขภาพ ในเรื่องภัยพิบัติ ว่าถ้าเกิดเหตุจะทำอย่างไร สนับสนุนโดย สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้สนใจติดตามรายการวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์จากจังหวัดต่าง ๆ ประมาณ 2,000 คน (ประเมินจากแฟนเพจ สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ )

     

    1,000 2,000

    93. สนับสนุนผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนมีนาคม

    วันที่ 4 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุเชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ (ผ่านทีวีลิกอร์)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ป่าบอนซิตี้เรดิโอ- เรื่องการเฝ้าระวังภัยพิบัติ ที่เกิดจากธรรมชาติ พายุ แผ่นดินไหว น้ำท่วม
    คลื่นลูกทุ่งไทย - เรื่องการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ต้นเหตุของการจัดการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ วิธีการประเมินผลกระทบ การรับฟังความเห็นของประชาชนรอบข้างโครงการ ผลของการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กระบี่ยูนิตี้เรดิโอ - การรับรู้ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานรัฐหรือรัฐวิสาหกิจและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และทำความรู้จัก EHIA สวท.ตรัง -  การประเมินผลทบทางสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน การใช้ไฟฟ้าพลังน้ำ โซราเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์และความเป็นอยู่ในสังคม การรักษาพลังงาน ป่าบอนซิตี้เรดิโอ - การเตรียมตัวรับมือภัยพิบัติและภัยแล้ง การดูแลรักษาและวิธีการป้องกันการรับมือกับภัยพิบัติ ปัตตานีเรดิโอ -เรื่องการเสนอยุทธศาสตร์สันติภาพชายแดนใต้ พื้นที่ปลอดภัย ความปลอดภัยของสาธารณะ การเคารพความเป็นมนุษย์ ประเด็นพื้นที่เรียนรู้ห้องเรียนสันติภาพ กระบี่ยูนิตี้ เรดิโอ - สิ่งแวดล้อม สร้างรูปแบบในการจัดการขยะ

     

    1,000 1,000

    94. สนับสนุนผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนเมษายน

    วันที่ 4 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุเชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ (ผ่านทีวีลิกอร์)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ยูนิดี้เรดิโอ - จัดรายการเรื่องความสำคัญของการท่องเที่ยวโดยชุมชน ต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ ชุมชน สังคมและวัฒนธรรม โดยคุณจรัญยา แดงน้อย ผู้อำนวยการสถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน พร้อมกับนำเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดกระบี่ สวท.ตรัง - จัดการรารการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง คลื่นลูกทุ่งไทย - ติดตามประเด็นความร่วมมือกับภาคีพัฒนากับโครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้สู่การจัดการสุขภาพยังยืน กับนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม กระบี่ยูนิตี้เรดิโอ - เรื่องความร่วมมือภาคีพัฒนาโครงการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดกระบี่ สวท.ตรัง - การท่องเที่ยวชุมชนวิถีตรัง

     

    1,000 1,000

    95. สนับสนุนผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนพฤษภาคม

    วันที่ 4 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุเชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ (ผ่านทีวีลิกอร์)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คลื่นลูกทุ่งไทย - การตีทะเบียนสื่อ สำหรับการเปิดให้สื่อมวลชนและผู้ที่เกี่ยวข้องในกองบรรณาธิการสื่อฯ เข้าร่วมส่งสโลแกนนั้น ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนทุกแขนง
    กระบี่ ยูนิตี้ เรดิโอ - หยุดตีทะเบียนสื่อ หยุดครอบงำประชาชน ที่ทุกประเทศซึ่งเป็นสมาชิกได้จัดกิจกรรม เพื่อให้สังคมตระหนักในบทบาท่ของ "สื่อสารมวลชน" ฐานะปากเสียงของประชาชน สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้นครศรีธรรมราช - ร่วมกับสภาไทยทีบีเอส เรื่องเวทีรับฟังประเด็นเยาวชนเพื่อการพัฒนาช่องทางการกระจายเสียงและภาพแห่งประเทศ ทางช่องไทยบีเอสและการรับฟังแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกลุ่มเย

     

    1,000 1,000

    96. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็นโซนชายแดนใต้ 3 จังหวัด (ปัตตานี) (งวดที่ 3)

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมวางแผนเตรียมลงพื้นที่
    • ลงพื้นทีสัมภาษณ์และบันทึกภาพ
    • ถอดเทปบทสัมภาษณ์
    • เขียนบทสารคดี
    • บันทึกเสียงบรรยาย
    • ตัดต่อ จนได้เป็นสารคดีที่สมบูรณ์
    • ไลด์สารคดี "มัสยิดต้นแบบ ชุมชนมีส่วนร่วม" ลงแผ่น DVD
    • นำสารคดี "มัสยิสต้นแบบชุมชนมีส่วนร่วม" ลง Youtube

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เห็นพลังการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการดูแลมัสยิด
    • ชุมชนเกิดความตระหนักว่ามัสยิดเป็นศูนย์กลางเรียนรูและศูนย์กลางในการดูแลสุขภาวะร่างกายและจิตใจ
    • ผู้ชมสารคดีเห็นความสำคัญของการสร้างมัสยิดต้นแบบและเกิดแรงบันดาลใจในการดูแลจัดการมัสยิดของพื้นที่อื่นๆ
    • ได้ผลการประเมินรายการวิทยุ "เสียงสุภาวะชายแดนใต้" และสารคดี "มัสยิดต้นแบบ ชุมชนมีส่วนร่วม" เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไป
    • ได้รูปแบบกิจกรรมการถอดบทเรียนในพื้นที่
    • ได้รวบรวมข้อมูลของการดำเนินโครงการทั้งหมดเป็นรูปเล่ม

     

    1,000 1,000

    97. สนับสนนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น(โซนใต้ฝั่งอันดามัน กระบี่,ตรังงวดที่ 3)

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กระบี่ การเขียนบทความ -  ลงพื้นที่สัมภาษณ์ -  เก็บภาพ ตรัง -  ประชุมวางแผนคณะทำงานเพื่อลงพื้นที่เก็บข้อมูลและดำเนินรายการ -  ประสานงานพื้นที่ท่องเที่ยวชุมชน -  ลงพื้นที่ชุมชนเพื่อข้อมูลและดำเนินรายการสถานีที่ออกอากาศ -  จัดทำสารคดีทางรายการวิทยุ / สารคดี ยูทูป / ไลน์กลุ่มต่างๆ / Facebook / วีดีโอเผยแพร่
    -  ประเมินรายการสื่อต่างๆ ที่ ออกอากาศ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กระบี่ -  การท่องเที่ยวในชุมชนได้รับความสนใจและเกิดการส่งเสริมเพิ่มมากขึ้น การให้ความสนใจตระหนักในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เกิดความเอาใจใส่ จิตสำนึก รัก หวงแหนวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นในชุมชนของตัวเองมากขึ้น ตรัง
    -  การท่องเที่ยวในชุมชนได้รับความสนใจและเกิดการส่งเสริมเพิ่มมากขึ้น การให้ความสนใจตระหนักในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น -  เกิดความเอาใจใส่ จิตสำนึก รัก หวงแหนวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น ในชุมชนของตัวเองมากขึ้น -  ได้เนื้อหาและข้อมูลเพื่อนำมาผลิต สารคดี  / รายการ / สื่อต่างๆ
    -  ได้วิทยากรที่จะมาร่วมให้ข้อมูลสัมภาษณ์ ในช่องทาง สื่อต่างๆ ที่เผยแพร่ -  ได้ผลการประเมินรายการที่ สื่อต่างๆ ที่เผยแพร่

     

    1,000 1,000

    98. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น(โซนใต้ตอนบน ชุมพร งวดที่3)

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -  เข้าร่วมประชุมกระบวนการประชาเข้าใจเรื่องฝายมีชีวิต -  รวบรวมข้อมูลในพื้นที่ -  ลงพื้นที่ถ่ายทำสารคดีสั้นฝายมีชีวิต -  สัมภาษณ์ผู้นำท้องถิ่น และชาวบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สารคดีสั้น 1 ตอน

     

    2,000 2,000

    99. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น(โซนใต้ตอนกลาง นครศรีฯ งวดที่3)

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ปฏิบัติการสื่อสารการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านอาหาร ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช 5 ตำบล ได้แก่ ต.ไสหร้า และ ต.จันดี อ.ฉวาง ต.เขาแก้ว อ.ลานสกา ต.หูล่องอ. ปากพนังต.นางหลงอ.ชะอวด ดำเนินการถ่ายทอดสด เวทีขับเคลื่อนงาน การประชุมเพื่อทำความเข้าใจ ประชาชนในพื้นที่ และเวทีคืนข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยน และปรับปรุงพัฒนาข้อมูล เวที นำเสนอข้อมูลเพื่อสนับสนุนการจัดทำยุทธสาสตร์ด้านอาหาร ในภาพรวมของจังหวัด และการนำการถอดบทเรียนพื้นที่เพื่อนำข้อมูลคืนชุมชนสู่ปฏิบัตการยกระดับขยายผลในพื้นที่
    ดำเนินการทำสารคดีสั้น เกี่ยวกับจุดเด่นสถานการณ์ วิถีชีวิตที่เชื่อมโยงสัมพันธ์ทางอาหารในแต่ละยุค ก้าวผ่านมาถึงปัจจุบัน ของทั้ง 5 พื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ข้อมูลการสำรวจ พื้นที่ การจัดการด้านอาหาร และข้อมูลทั่วไป ของชุมชน ชุดข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนร่วมกันกับชุมชน บันทึกวิดิทัศน์กระบวนการขับเคลื่อนของแต่ละตำบล สารคดีสั้นของแต่ละตำบล ชุมชนมีชุดข้อมูลและชุดความรู้พร้อมวิธีการขับเคลื่อนงานความมั่นคงด้านอาหาร อาหารปลอดภัย โภชนาการด้านอาหาร

     

    2,000 2,000

    100. ประชุมกำหนดแผนยุทธศาสตร์บูรณาการระบบอาหาร อบต.เขาแก้ว

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ปรับปรุงข้อมูลให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    100 80

    101. ติดตามหนุนเสริมพื้นที่ในการกำหนดยุทธศาสตร์สื่อเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ(โซนใต้ฝั่งอันดามัน จ.กระบี่)

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำเสนอผลงาน วิจัย การท่องเที่ยวโดยชุมชน
    • นำเสนอสถานที่ท่องเที่ยว และการจัดการระบบการดำเนินการที่เป็นเครือข่าย
    • การแลกเปลี่ยนเติมเต็มระหว่างพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  เกิดการเรียนรู้ร่วมกันของเครือข่ายและผู้เข้าร่วม -  เกิดการขยายการรับรู้และเข้าถึงในรูปแบบของการสื่อสาร

     

    30 30

    102. ติดตามหนุนเสริมพื้นที่ในการกำหนดยุทธศาสตร์สื่อเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (โซนใต้ตอนบน จ.สุราษฎร์ธานี)

    วันที่ 11 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ดร.เพ็ญ  สุขมาก กล่าววัตถุประสงค์การร่วมเวทีเพื่อติดตามการดำเนินงาน 2.  ให้พื้นที่แต่ละจังหวัดรายงานผลการทำงาน, บทเรียน และปัญหาอุปสรรค 3.  ผู้เข้าร่วมให้ความเห็นและอภิปราย 4.  ผู้เข้าร่วมสรุปบทเรียนจากผลการดำเนินโครงการ 5.  สรุปและให้ข้อคิดเห็นโดย ดร.เพ็ญ  สุขมาก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ได้ชุดข้อมูลการดำเนินโครงการของแต่ละจังหวัด 2.  การจัดการความรู้จากการดำเนินโครงการ (ชุดความรู้ในแต่ละจังหวัด)

     

    80 60

    103. ประชุมการเรียนรู้หลักสูตรผู้นำและการบริหารเครือข่ายสุขภาพ

    วันที่ 22 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ทำการสื่อสาร ผ่าน ลิกอร์ live และบันทึกวิดิทัศน์ ลงยูทูป เพื่อเผยแพร่ ให้สาธารณะและบุคคลที่สนใจได้เรียนรู้ และทำเป็นชิ้นงานเก็บไว้ในคลังข้อมูล เข้าร่วมเรียนรู้ หลักสูตร ผู้นำและการบริหารเครือข่ายด้านสุขภาพ โดยการเรียนรู้เรื่องการทำงาน ทีมเวิร์ค แนวคิดการทำงานแบบเครือข่าย การเกิดเครือข่ายการทำงานเพื่อการสร้างสเริมสุขภาพ การนำเครือข่ายการสื่อสารและเทคนิคในการใช้สื่อให้เป็นประโยชน์กับงาน เพื่อการเจราราต่องรอง การจัดการความขัดแย้ง การรู้จักบุคลิคภาพของตนเอง พัฒนาตนเองการเป็นผู้นำในสถานการณ์ต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -สร้างการสื่อสารให้รับรู้ในวงกว้าง มีฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้นและเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เรียนรู้เพื่อก้าวสู่เป้าหมายได้รวดเร็วขึ้น สามารถเรียนรู้และเกิดแนวคิดและแรงบันดาลใจ ในการกลับไปพัฒนา สร้างกลยุทธืวิธีการให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แก้ปัญหาการทำงานได้ดีขึ้น นำความรู้ไปขยายผลให้กับคนในเครือข่าย

     

    60 60

    104. ประชุมกำหนดแผนยุทธศาสตร์บูรณาการระบบอาหาร อบต.ไสหร้า

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ทำการสื่อสารการขับเคลื่อนโครงการฯโดยการบันทึกวิดิทัศน์ และเผยแพร่ผ่ายยูทูป และเพจสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ และเป็นชิ้นงาน(VCD) ให้กับ สจรส.มอ. คณะทำงานโครงการรายงานผลการจัดทำข้อมูลให้กับผู้เข้าร่วม และรับฟังความคิดเห็นเพิ่มเติม และนำไปพัฒนาให้สมบูรณ์ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้วิดิทัศน์ กระบวนการขับเคลื่อน การบรณาการด้านอาหาร เพื่อเผยแพร่ผ่านช่องทางสื่อต่างๆ พัฒนาข้อมูลด้านอาหารตำบลไสหร้าและนำไปสู่การเขียนแผนยยุทธศาสตร์ด้านอาหารตำบลไสหร้า ที่สามารถบูรณาการกับหน่วยงาน ต่างๆ เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รพสต. โรงเรียน เป้าประสงค์ให้ได้รับประโยชน์จากการทำโครงการอาหารปลอดภัยของชุมชน

     

    40 30

    105. เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -บันทึกวิดิทัศน์ การขับเคลื่อน เรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชน พื้นที่จังหวัดตรัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ชิ้นงานเป็นวิดิทัศน์ เพื่อเผยแพร่การขับเคลื่อนการท่องเที่ยวโดยชุมชนพื้นที่ภาคใต้ ตามบริบทของจังหวัดตรัง และข้อมูลประกอบการทำชิ้นงานการขับเคลื่อนของพื้นที่ภาคใต้ที่ครบถ้วนมากขึ้น

     

    60 40

    106. ผลิตรายการและประสานเชื่อมโยงเครือข่ายสถานีวิทยุ เดือนมิถุนายน

    วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตรายการวิทยุเชื่อมโยงเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้สนใจติดตามรายการวิทยุและโทรทัศน์ออนไลน์จากจังหวัดต่าง ๆ ประมาณ 2,000 คน

     

    1,000 1,000

    107. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำเอกสรยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัและโภชนาการสมวัยในระดับตำบล

    วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • อ.เพ็ญ สุขมาก จาก สจรส. ให้ข้อมูลและวิเคราะห์ผลการทำงานรวมทั้ง ให้แนวทางในการจัดการข้อมูลเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้จริงในพื้นที่ นำเสนอข้อมูลการดำเนินงาน และข้อเสนอที่จะดำเนินการด้านอาหารของแต่ละตำบล
    • อาจารย์ จาก มอ. ให้ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ พร้อมแนะนำให้จัดทำช้อมูลให้ถูกต้องและมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ถ่ายทอดสดผ่านช่องลิกอร์ไลฟ์ และบันทึกวิดิทัศน์ กระบวนการทั้งหมดอัพลงยูทูปเพื่อเป็นคลังข้อมูลาำหรับดูบ้อนหลังและนำไปใช้งานต่อได้ คณะทำงานแต่ละตำบลได้แนวทาง ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงพัฒนาข้อมูลให้สมบูรณ๋ยิ่งขึ้น

     

    30 20

    108. เวทีเสวนา ประชาคมและเสนอปัญหาควมต้องการ การบูรณะซ่อมแซมทางหลวงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สาย 4189

    วันที่ 3 มิถุนายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ถ่ายทอสด ผ่านช่องลิกอร์ไลฟ์ บันทึกกระบวนการเพื่อเป็นหลักฐานการทำประชาคม สื่อสารประชาสัมพันธ์สาธารณะ แกนนำคณะทำงาน นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ ความจำเป็น กับการซ่อมแซมถนน สาย 4189 พร้อมทั้งปัญหาอและอุปสรรคในการดำเนินการสอบถามความเห็นและความต้องการของชาวบ้านที่มีส่วนได้ส่วนเสีย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ถ่ายทอดรายการสู่สาธารณะเพื่อการรับรู้ และเท่าทัน กับการเปลี่ยนแปลงประชาคม ลงความเห็นให้ดำเนินการซ่อมแซมถนนวาย 4189 การมีข้อมูลให้คณะทำงาน ดำเนินการเสนอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

     

    3,000 1,500

    109. การประชุมทิศทางการดำเนินงานร่วมกันในเขตสุขภาพที่ 11-12

    วันที่ 12 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถ่ายทอดสด การประชุม ผ่าน ทีวี ลิกอร์ live และบันทึกเป็นวิดิทัศน์ เพื่อเผยแพร่ สู่สาธารณะ เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างเครือข่าย และการสื่อสารการขับเคื่อนสังคมที่มีผลกับสุขภาวะของประชาชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำเรื่องราวการทำงานขององค์กรที่มีบทบาทหน้าที่ในการสร้งเสริม สุขภาพ และสุขภาวะ  ประชาชนทั่วไปได้รับทราบถึงสิทธิ และการเข้าถึงการจัดการด้านสุขภาพโดยการแบ่งเขตการดูแลที่สะดวกและเข้าถึงมากขึ้น

     

    50 40

    110. เวทีประชาเข้าใจ พัฒนาเส้นทางสาย 4189

    วันที่ 14 มิถุนายน 2560 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทีมสื่อสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช
    • ชาวบ้าน อ.พิปูน
    • หน่วยงานราชการ  กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เจ้าหน้าที่อุทยาน กรมชลประทาน กรมทางหลวง กรมทรัพยากร

     

    40 40

    111. เวทีสื่อสารการขับเคลื่อนสังคม ด้านความมั่นคงของมนุษย์

    วันที่ 15 มิถุนายน 2560 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สื่อสารสังคมเรื่องการสนับสนุนที่อยู่อาศัย ให้กับชาวบ้านผ่านโครงการบ้าน พอเพียงของ พอช. ทำการส่งมอบบ้านให้กับผู้รับการช่วยเหลือผ่านผู้ส่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชพบปะประชาชนในพื้นที่ ตำบลถ้ำพรรณรา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สื่อสารสาธารณะ การปฏิบ้ติภาระกิจของผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ส่งมอบบ้านที่ซ่อมสร้าง เพื่อช่วยเหลือชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติน้ำท่วมเมื่อปีที่ผ่านมา ชาวบ้านมีสภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีสุขภาวะเรื่องที่อยู่อาศัย

     

    150 120

    112. หักภาษีดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร

    วันที่ 16 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    0 0

    113. ประชุมระดมควมคิดเห็นการวิเคราะห์และจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช

    วันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -นำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ระบบอาหารระดับองค์การบริหารส่วนตำบล ของ 4 ตำบลในจังหวัดนครศรีธรรมราช -วิพากษ์ ้ข้อมูล จากหน่วยงานองค์กรที่เกี่ยวข้อง เช่น สสจ. สปสช. พื้นที่ต้นแบบ จาก ต.ควนรู -การเสวนา การดำเนินการด้านความมั่นคงด้านอาหาร กับความพร้อมและหน่วยงานสนับสนุน -สรุปปิดเวที

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การสื่อสารสาธารณะเพื่อการรับรู้ คณะทำงานทุกพื้นที่ ได้ ข้อแนะนำ เพื่อปรับปรุงข้อมูลครั้งสุดท้ายและนำคืนข้อมูลกับชุมชนต่อไป ได้รับความรู้ใหม่จากพื้นที่ต้นแบบและทราบแนวนโยบายจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจในการทำงานร่วมกับประชาชนมากขึ้น

     

    60 50

    114. เวทีถอดบทเรียน กองบรรณาธิการสื่อสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 25 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ จัดถอดบทเรียน สิ้นสุดโครงการ "พัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาต้" ภายใต้โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาวะภาคใต้(ศวสต.) ฟังจากการเล่าและการทำงาน ของเครือข่ายสื่อ ที่มุ่งเน้นไปถนนสายสุขภาวะ เห็นพัฒนาการ ยกระดับ จังหวะก้าว ต่อไปเป็น "เครือข่ายสื่อเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนสังคม และจะต้องเกิดเครื่อข่ายสื่อฯ ครบ 14 จังหวัดภาคใต้ ภายใน ปี 2562 อีกทั้งร่วมกำหนด KPI ของสื่อชุมชนท้องถิ่นเพื่อการกำกับกันเอง เติมเต็มโดย อ.พิภพ พานิชภักดิ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กองทุนสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ในหัวข้อ "แนวคิดการสร้างตัวชี้วัดจริยธรรมสื่อต้องถิ่น เพื่อการกำกับตนเอง"ความมุ่งมั่น ของทุกๆคน เห็นแล้ว น่าภาคภูมิใจ ที่มีหัวใจ ของนักสื่อสารท้งถิ่นของจริง  อ.เฉลิมพล บุญฉายา ที่ชวนคิดชวนคุย สกัดกลั่น แล้วเกิดองค์ความรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมถอดบทเรียนของกองบรรณาธิการ ตามประเด็นของแต่ละโซน

     

    50 30

    115. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น (โซนใต้ฝั่งอันดามัน กระบี่,ตรัง)

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กระบี่  - การเขียนบทความ -  ลงพื้นที่สัมภาษณ์ -  เก็บภาพ
    ตรัง  -  ประชุมวางแผนคณะทำงานเพื่อลงพื้นที่เก็บข้อมูลและดำเนินรายการ -  ประสานงานพื้นที่ท่องเที่ยวชุมชน -  ลงพื้นที่ชุมชนเพื่อข้อมูลและดำเนินรายการสถานีที่ออกอากาศ -  จัดทำสารคดีทางรายการวิทยุ / สารคดี
              ยูทูป / ไลน์กลุ่มต่างๆ / Facebook / วีดีโอเผยแพร่         -  ประเมินรายการสื่อต่างๆ ที่ ออกอากาศ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กระบี่ -  การท่องเที่ยวในชุมชนได้รับความสนใจและเกิดการส่งเสริมเพิ่มมากขึ้น การให้ความสนใจตระหนักในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เกิดความเอาใจใส่ จิตสำนึก รัก หวงแหนวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นในชุมชนของตัวเองมากขึ้น
    ตรัง  - ได้เนื้อหาและข้อมูลเพื่อนำมาผลิต สารคดี  / รายการ / สื่อต่างๆ

     

    10,000 5,000

    116. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น (โซนใต้บน สุราษฎร์ธานี)

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ประชุมคณะทำงานออกแบบเตรียมความพร้อม และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบแต่ละส่วนงาน 2.  จัดกิจกรรมเวทีที่ 1 เวทีอบรมเชิงปฏิบัติการ การเข้าถึงสิทธิและการใช้ชีวิตก่อนและวัยผู้สูงอายุ    จัดกิจกรรมเวทีที่ 2 เวทีอบรมเชิงปฏิบัติการ การส้รางสื่อรณรงค์การเข้าถึงสิทธิของผู้สูงอายุ พร้อมบันทึกเทปเพื่อผลิตวีดีทัศน์ 3.  สรุปผลการดำเนินการสู่ส่วนที่เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ผู้เข้าอบรมตามกลุ่มเป้าหมายเข้าใจการดำเนินการของโครงการ กลุ่มผู้สูงอายุหมู่บ้านวังใหญ่ หมู่ที่ 4 ตำบลควนศรี อำเภอบ้านนาสารให้ความสนใจเป็นพิเศษเพราะความรู้เรื่องการเข้าถึงและการใช้สิทธิของผู้สูงอายุรวมถึงการใช้ชีวิตก่อนและวัยผู้สูงอายุนั้นหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องลงมาให้ความรู้กับชุมชนน้อยมาก
    2.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการสร้างสื่อรณรงค์ได้สื่อวีดีทัศน์ 1 ชิ้น และสื่อบุคคลเพื่อเผยแพร่ให้ความรู้กับคนในชุมชน พร้อมทั้งนำความรู้ไปประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่ายหมู่บ้านอาทิตย์ละครั้ง โดยผู้ใหญ่บ้าน
    3.  คนในชุมชนสนใจเข้าร่วมอบรมเกินเป้าหมายมากกว่าที่วางไว้แสดงถึงการต้องการมีความรู้เกี่ยวกับการเข้าถึงและการใช้สิทธิของตนเอง

     

    2,000 1,000

    117. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น (โซนใต้บน ชุมพร)

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -  เข้าร่วมประชุมกระบวนการประชาเข้าใจเรื่องฝายมีชีวิต
    -  รวบรวมข้อมูลในพื้นที่
    -  ลงพื้นที่ถ่ายทำสารคดีสั้นฝายมีชีวิต
    -  สัมภาษณ์ผู้นำท้องถิ่น และชาวบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สารคดีสั้น 1 ตอน

     

    2,000 1,000

    118. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น (โซนชายแดนใต้ 3 จังหวัด ปัตตานี)คลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทศาสตร์การแพทย์พหุวัฒนธรรม/การบูรณาการอาหารจังหวัดชายแดนใต้

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมวางแผนเตรียมลงพื้นที่ • ลงพื้นทีสัมภาษณ์และบันทึกภาพ • ถอดเทปบทสัมภาษณ์ • เขียนบทสารคดี • บันทึกเสียงบรรยาย • ตัดต่อ จนได้เป็นสารคดีที่สมบูรณ์ • ไลด์สารคดี "มัสยิดต้นแบบ ชุมชนมีส่วนร่วม" ลงแผ่น DVD • นำสารคดี "มัสยิสต้นแบบชุมชนมีส่วนร่วม" ลง Youtube

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เห็นพลังการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการดูแลมัสยิด • ชุมชนเกิดความตระหนักว่ามัสยิดเป็นศูนย์กางเรียนรูและศูนย์กลางในการดูแลสุภาวะร่างการและจิตใจ • ผู้ชมสารคดีเห็นความสำคัญของการสร้างมัสยิดต้นแบบและเกิดแรงบันดาลใจในการดูแลจัดการมัสยิดของพื้นที่อื่นๆ • ได้ผลการประเมินรายการวิทยุ "เสียงสุภาวะชายแดนใต้" และสารคดี "มัสยิดต้นแบบ ชุมชนมีส่วนร่วม" เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไป • ได้รูปแบบกิจกรรมการถอดบทเรียนในพื้นที่ • ได้รวบรวมข้อมูลของการดำเนินโครงการทั้งหมดเป็นรูปเล่ม

     

    2,000 1,000

    119. สนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการตามประเด็น (โซนใต้ตอนกลาง นครศรีฯ)

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปฏิบัติการสื่อสารการขับเคลื่อนทางสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านอาหาร ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช 5 ตำบล ได้แก่ ต.ไสหร้า และ ต.จันดี อ.ฉวาง ต.เขาแก้ว อ.ลานสกา ต.หูล่องอ. ปากพนังต.นางหลงอ.ชะอวด ดำเนินการถ่ายทอดสด เวทีขับเคลื่อนงาน การประชุมเพื่อทำความเข้าใจ ประชาชนในพื้นที่ และเวทีคืนข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยน และปรับปรุงพัฒนาข้อมูล เวที นำเสนอข้อมูลเพื่อสนับสนุนการจัดทำยุทธสาสตร์ด้านอาหาร ในภาพรวมของจังหวัด และการนำข้อมูลเพื่อนำไปคืนชุมชนเพื่อสู่ปฏิบัตการยกระดับขยายผลในพื้นที่ ดำเนินการทำสารคดีสั้น เกี่ยวกับจุดเด่นสถานการณ์ วิถีชีวิตที่เชื่อมโยงสัมพันธ์ทางอาหารในแต่ละยุค ก้าวผ่านมาถึงปัจจุบัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ข้อมูลการสำรวจ พื้นที่ การจัดการด้านอาหาร และข้อมูลทั่วไป ของชุมชน ชุดข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนร่วมกันกับชุมชน บันทึกวิดิทัศน์กระบวนการขับเคลื่อนของแต่ละตำบล สารคดีสั้นของแต่ละตำบล ชุมชนมีชุดข้อมูลและชุดความรู้พร้อมวิธีการขับเคลื่อนงานความมั่นคงด้านอาหาร อาหารปลอดภัย โภชนาการด้านอาหาร

     

    2,000 1,000

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 สร้างเครือข่ายวิทยุสื่อสร้างสุขภาคใต้
    ตัวชี้วัด : 1. มีเครือข่ายวิทยุสื่อสร้างสุขภาคใต้ ไม่น้อยกว่า 5 จังหวัด 2. มีเนื้อหาสำคัญของการขับเคลื่อนงานที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างเครือข่ายวิทยุสื่อสร้างสุขภาคใต้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้

    รหัสสัญญา 59-ข-032 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2559 - 30 มิถุนายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    1 สื่อทำหน้าที่ขับเคลื่อนสังคมเพื่อการเปลี่ยนแปลง 2.สื่อในยุค 4.0 ต้องทำไปพร้อมๆกัน ออนไล ออนกราวด์ ออนแอร์ ร่วมกับสื่อใหม่ เช่น facebook 3. ต้องมองชุมชนเป็นแหล่งข้อมูลและต้องดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม 4. การสร้างตัวชี้วัดจริยธรรมสื่อ 5. การเปลี่ยนแปลงสังคมไม่จำเป็นต้องคนเยอะ แต่เป็นกลุ่มคนที่มีความมุ่งมั่นและทำจริง 6.รูปแบบเครือข่ายสื่อสร้างเสริมสุขภาวะเพื่อการขับเคลื่อนสังคมเพื่อไปสู่การเปลี่ยนแปลง 7.ระบบนิเวศน์ของการเปลี่ยนแปลง

    เกิดจากการถอดบทเรียนร่วมของกองบรรณาธิการร่วม และเครือข่ายสื่อ 8จังหวัด วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานโครงการ และข้อมูลสถานการณ์การสื่อสารชุมชน

    นำความรู้ใหม่และข้อค้นพบพัฒนาเป็นยุทธศาสตร์การสื่อสารที่สอดคล้องกับบริบทและความเป็นจริงของชุมชนสู่การเปลี่ยนแปลงได้จริงในระยะต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    เกิดรูปแบบเครือข่ายสื่อเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ และกองบรรณาธิการสื่อสร้างสุขภาคใต้

    เครือข่ายสื่อ 8 จังหวัดภาคใต้ คือ ปัตตานี พัทลุง ตรัง สงขลา นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี กระบี่ ชุมพร

    -ขยายเครือข่ายครบทั้ง14 จังหวัดภาคใต้
    -สร้าง ตัวชี้วัดจริยธรรมสื่อชุมชน -พัฒนาศักยภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การเชื่อมโยงสื่อในทุกแพลทฟอร์มเช่น การใช้สื่อ ออนแอร์ ออนไลน์ ออนกราวด์

    การเชื่อมโยงสื่อเพื่อการช่วยเหลือวิกฤติน้ำท่วมภาคใต้ปี 2559/60

    พัฒนาศักยภาพให้เป็นมืออาขีพ และยังยืน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    รูปแบบการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

    องค์ประกอบที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง เช่น ภาวะผู้นำ ควมมรู้และงานวิจัย เรื่องเล่าและสื่อ นโยบาย วิสาหกิจเพื่อชุมชน เครือข่ายฐานรากชุมชน

    สร้างการขับเคลื่อนอน่างต่อเนื่องโดยใช้ประเด็นที่ถูกคัดกรองจากพื่นที่ในมิติของการเปลี่ยนแปลงสุขภาวะที่ดีขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    ศูนย์ช่วยเหลือภัยพิบัติ กระจายทุกโซนพื่นที่ จังหวัดนครศรีฯ รวมทั้งเครือข่ายต่างจังหวัดในบางพื้นที่

    ศูนย์ช่วยเหลือภัยพิบัติ 6 เครือข่าย คือเครือข่ายลุมน้ำปากพนัง เครือข่ายลุมน้ำตาปี เครือข่ายลุ่มน้ำนครตรัง เครือข่ายเทือกเขารามโรม เครือข่ายลุมน้ำคลองกราย เครือข่ายเมืองหัวไทร

    พัฒนาศักยภาพ สามารถเขียนแผนที่ทำมือ แผนรับมือภัยพิบัติ เกิดศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในระดับพื่นที่และระดับจังหวัด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    แหล่งเรียนรู้ด้านอาหาร ความมั่นคงของมนุษย์ การแพทย์พหุวัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชน

    พื้นรุปธรรม การท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดกระบี่ ธรรมนูญสุขภาพ ตำบลนาไม้ไผ่ จ.นครศรีฯ ยทธศาสตร์อาหาร 4 ตำบล คือ ต.ไสหร้า ต.จันดี ต. เขาแก้ว ต.หูล่อง จ.นครศรีฯ

    พัฒนาสู่นโยบายสาธารณะ ธรรมนูญสุขภาพระดับพื้นที่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    สื่อสารให้ประชาชนตระหนักถึงผลกระทบจากการใช้สารเคมีผลิตอาหารและเรื่องของพลังงานทางเลือก พลังงานทดแทน

    จังหวัดพัทลุงในเรื่องการใช้พลังงานทดแทนการอนุรักษ์พันธ์ข้าวพื้นเมือง ข้าวสังหยด ที่ผลิตโดยไม่ใช้สรรเคมี

    สื่อสารต่อเนื่องสื่อสารสร้างความรู้จากพื้นที่รูปธรรม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    เครือข่ายงดเหล้ากับประเด็นปัจจัยเสี่ยงเหล้าบุหรี่กับเยาวชน สามารถเปลี่ยนพฤติกรรม ลดอุบัติเหต

    กิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษา

    ขยายผลสู่พื้นที่อื่นๆอย่างต่อเนื่อง สร้างเป้าหมายร่วมในกลุ่มเครือข่ายและเชื่อมโยงกับองค์กรอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    สวนสมุนไพรเก้ารส ตำบลจันดี อ.ฉวาง เพื่อการดูแลสุขภาพ

    พื้นที่แหล่งเรียนรู้รูปธรรม ต.จันดี

    สื่อสาร การอนุรักษ์พืชสมุนไพรเพื่อการรักษาโรค และอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    สื่อสารเรื่องราวของชุมชน ของคนตัวเล็กตัวน้อยได้มีช่องทางการสื่อสารเรื่องราวของตัวเอง

    กิจกรรมชุมชน เช่นวันเด็ก กิจกรรมร่วมของชุมชน ข่าวสารความเดือดร้อนของชุมชน ลงหน้าเพจสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้นครศรีธรรมราช

    กำหนดเป็นบทบาทที่สื่อชุมชนต้องทำอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอเพื่อเปิดโแกาสให้คนตัวเล็กตัวน้อยในสังคม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    สื่อสารการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ 4 ประเด็น คือความมั่นคงด้านอาหาร ความมั่นคงของมนุษย์แพทย์พหุวัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชน

    การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดกระบี่เป็นนโยบายสาธารณะ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด

    สื่อสารการขับเคลื่อนที่เป็นรูปธรรมและความรู้จากแต่ละพื้นที่ที่เกิดความสำเร็จ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    ยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายสื่อสาธารณะกับการสร้างเสริมสุขภาวะในทุกมิติ

    เกิดเครือข่ายสื่อ ที่สื่อสารเรื่องราวสุขภาวะ 8 จังหวัด

    พัฒนายุทธศาสตร์ขยายเครือข่ายสื่อให้ครบทั้ง 14 จังหวัด ยุทธศาตร์การสร้างตัวชีวัดจริยธรรมสื่อชุมชนเพื่อกำกับตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

    แผนพ้ฒนาเครือข่ายสื่อ ทำสื่ออย่างมืออาชีพ
    ออกแบบปฏิบัติการร่วมและใช้พื้นที่การปฏิบัติการร่วม

    ข้อตกกลงร่วมของกองบรรณาธิการร่วมจากเวทีการถอดบทเรียนโครงการ

    สร้างบรรทัดฐานการทำสื่อ และการนำสื่อสารข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นสื่อที่สร้างสรร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

    สื่อสารการจัดทำธรรมนูญสุขภาพของพื้นที่สู่การรับรู้ของสาธารณะ

    ต.นาไม้ไผ่ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช

    เป็นบทบาทหน้าที่ของสื่อชุมชนต้องสื่อสารเพิ่อสร้างความเข้าใจ

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    การเชื่อมโยงระหว่างภาคีพัฒนาที่สนับสนุนการพัฒนา เชื่อมโยงงานระหว่างเครือข่ายให้เกิดการบูรณาการร่วมทุกมิติ การสื่อสารกับบุคคลระดับแกนนำ หน่วยงานองค์กร ภาครัฐ เอกชน และสถานศึกษา

    สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สสส. พอช. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎ สำนักงานจังหวัด สาธารณะสุขจังหวัด หัวหน้าสนง.ปภจังหวัด ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด คณะทำงานสมัชชสุขภาพจังหวัด กศน.จังหวัด ท้องถิ่น

    เป็นนโยบายหลักของสื่อชุมชนในการสร้างการเชื่อมโยงประสานคน บูรณาการงาน จัดให้เกิดการพบปะพูดคุยสร้างความเข้าใจระหว่างองค์กรหน่วยงาน ที่ยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    เรียนรู้บริบทของชุมชน จุดอ่อนจุดแข็ง ของแต่ละพื้นที่ การยอมรับต่อกันของคนในพื้นที่ การลดข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้น

    สื่อสารความเดือร้อน เร่งด่วน เช่นช่วงภัยพิบัติ กับหน่วยงานที่เกี่ยวนำไปสู่การแก้ปัญหา และช่วยเหลือชุมชนอย่างทันเวลา

    ทำอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    ทุนทรัพยากรบุคคลในพื้นที่เป็นแกนนำหลักในการขับเคลือนสังคม ในประเด็นงานต่างๆ

    ผู้สื่อขาวอาสาสมัครชุมชน นำเสนอเรื่องราวของชุมชนตัวเอง

    ชักชวนบุคลากรอาสาเพิ่ม ใช้ทุนทรัพยากรให้เกิดประโยชน์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการสื่อสารเชื่อมโยงและปฏิสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายสม่ำเสมอ

    รายการวิทยุกินอิ่มนอนอุ่น ยังดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นกลไกเชื่อมโยงประเด็นงานระหว่างคนทำสื่อด้วยกันและส่งต่อข่าวสารผ่านรายการ

    ทำอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    มีการถอดบทเรียนโครงการ ได้ชุดความรู้ และแนวคิดใหม่ในการสร้างสรรสื่อชุมชน

    ความรู้เรื่องการทำตัวชี้วัดจริยธรรมสื่อชุมชน

    พัฒนาศักภาพสื่อ และกำหนดกติกาเพือกำกับดูแลกันเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    เรียนรู้การจัดการบริหารโครงการ ได้รับการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายของ สจรส.มอ. ในการวิเคราะห์โครงการ

    เครือข่ายพัฒนาสื่อ ส่งทีมงานเข้าฝึกอบรมกับสจรส.มอ. เพิ่มทักษะการจัดการโครงการ สามารถกำกับทิศทางการดำเนินโครงการให้บรรลุเป้าหมาย

    บุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้ ให้กับทีมงาน เสริมศักยภาพทีมงานและสร้างความเข้าใจที่เท่าเทียมกันเพื่อให้การดำเนินโครงการเกิดประโยชน์สูงสุด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    กลุ่มสื่อและเครือข่ายมีความภาคภูมิใจในการมีส่วนช่วยเหลือสังคมตามบทบาทที่ถนัด และโครงการเอื้ออำนวยให้คิดพัฒนาคนทำสื่อและการสร้างสรรสื่อสารข้อเท็จจริงสู่สังคม

    เครือข่ายสื่ือมีสัมพันธภาพที่ดี มีความรักในหมูคณะรู้สึกตระหนักกับหน้าที่ผู้ทำการสื่อสาร การขับเคลื่อนสังคมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม

    กำหนดยุทธศาสตร์ด้ารการสื่อสารชุมชนในระยะต่อไปในเรื่องการสร้างเครือข่ายเพิ่มให้ครบ 14 จังหวัดภาคใต้ พัฒนาศักภาพคนทำสื่อให้เป็นมืออาชีพ สร้างตัวชี้วัดสื่อชุมชนเพื่อการกำกับดูแลกันเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    นักสื่อสารเรียนรู้ปัญหาสังคมทั้งความขัดแย้งของบุคคล การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ความเห็นแก่ตัวของคนในสังคม และเรียนรู้ในด้านดีความรักสามัคคี จิตอาสาที่ยังมีอยู่ในสังคม ซึงสื่อเป็นส่วนสำคัญในการช่วยสร้างสมดุลให้กับสังคม

    การสื่อสาร การช่วยเหลือผู้ประสบภัย สื่อสารรายการวิทยุ กินอิ่มนอนอุ่น ในประเด็นต่างให้สังคมได้รับรู้สังคม

    พัฒนาประเด็นการสื่อสาร ด้วยข้อเท็จจริงที่น่าเชื่อถือ ไม่สื่อสารให้เกิดความขัดแย้งของสังคม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    สังคมเกิดการเรียนรู้และปรับตัว เกิดความเข้าใจในการดำรงชีวิตอย่างเรียบง่ายและพอเพียง

    สภาวะทางเศรฐกิจที่มีผลกระทบ กับวิถีชีวิต ตระหนักถึงความเรียบง่ายและพอเพียง

    สื่อสารสนับสนุนสังคมใช้ชีวิตเรียบง่ายและพอเพียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ในชุมชนที่มีผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม เข้าใจ มีเป้าหมายร่่วม และเกิดศรัทธาต่อกัน จะเห็นความเอื้ออาทรอย่างชัดเจน

    ภาวะวิกฤติจากปรากฎการณ์น้ำท่วม จะเห็นมิติขิงความเอื้ออาทร ของสังคมอย่างชัดเจน

    สื่อสารสนับสนุนให้มีความเอื้อาทรของสังคม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การเรียนรู้กระบวนการทำงาน สังคม เกืดการจัดการความรู้ ที่สามารถนำไปสู่การตัดสินใจภายใต้ฐานข้อมูล ด้วยเหตด้วยผล

    การยอมรับของเครือข่ายภายนอก องค์กรภาคีอื่นให้การยอมรับ ให้ทีมสื่อ เข้าไปทำการสื่อสารเรื่องราว นำไปเผยแพร่ให้เกิดการเรียนรู้ของสังคมในวงกว้าง

    ทำอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( คุณอานนท์ มีศรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด