แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง) ”
ม.8 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์ ดอแนเล๊าะ (0862963015)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง)
ที่อยู่ ม.8 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.8 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.8 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์อาหารและโภชนาการ ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภาวะโภชนาการไม่เหมาะสมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนท่องในทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเด็ก ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีปัญหาภาวะโภชนาการที่หลากหลายซ้ำซ้อนทั้งภาวะขาดสารอาหารและโภชนาการเกิน ซึ่งปัญหาที่พบคือ ร้อยละ22ของเด็กอายุ5-12ปีมีภาวะผอม ร้อยละ30ของเด็กอายุ5-12ปีไม่ได้รับประทานอาหารเช้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- นักเรียนได้ฝึกทักษะและประสบการณ์ในด้านการเกษตรและปศุสัตว์
- นักเรียนได้กินอาหารที่ปลอดภัย
- นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มมากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดเตรียมลูกปลาดุกลงในบ่อเลี้ยง
- จัดทำแปลงและปลูกผัก
- ขั้นเก็บผลผลิตและนำมาปรุงอาหารสำหรับนักเรียน
- จับปลาดุกเพื่อจัดทำเมนูอาหารของโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
นักเรียน
373
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนโรงเรียนบ้านทับยางมีน้ำหนักตามเกณฑ์ลดภาวะ นักเรียนได้รับสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดเตรียมลูกปลาดุกลงในบ่อเลี้ยง
วันที่ 22 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1 ครูและนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 จำนวน 27 คน เตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุก จำนวน 1 บ่อ
2 นำปลาดุกที่ซื้อจำนวน 600 ตัวมาใส่ลงในบ่อขนาด 2 x 3 เมตร
3 แบ่งกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบให้อาหารปลาดุกแต่ละวัน โดยให้ผู้ปกครองร่วมควบคุมดูแล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผลผลิตมีบ่อเลี้ยงปลาดุก จำนวน 1 บ่อ ขนาด 2 x 3 เมตร
50
0
2. จัดทำแปลงและปลูกผัก
วันที่ 2 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
- ครูและนักเรียนมีการจัดทำแปลงผัก จำนวน 20 แปลง โดยมีผักปุ้ง 10 แปลง ผักกาดขาว 5 แปลง ผักกาดเขียว 5 แปลง โดยมีการแบ่งเด็กนักเรียน ป.4 รับผิดชอบผักกาดขาว 5 แปลง ป.5 รับผิดชอบผักกาดเขียว ป.6 รับผิดชอบผักบุ้ง 10 แปลง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้แปลงผัก จำนวน 20 แปลง โดยมีผักปุ้ง 10 แปลง ผักกาดขาว 5 แปลง ผักกาดเขียว 5 แปลง
126
0
3. ขั้นเก็บผลผลิตและนำมาปรุงอาหารสำหรับนักเรียน
วันที่ 7 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ทางโรงเรียนได้ปลูกผัก คือ
รอบที่ 1 ได้ผักบุ้ง 20 แปลง รับผิดชอบโดยนักเรียน ป.4-6
รอบที่ 2 ได้ปลูกบุ้ง 10 แปลง รับผิดชอบโดยนักเรียน ป.6 ผักกาดขาว 5 แปลง รับผิดชอบโดยนักเรียน ป.5 ผักกาดเขียว 5 แปลง รับผิดชอบโดยนักเรียน ป.6
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทางโรงเรียนได้ปลูกผักบุ้ง 20 แปลง ได้เก็บเพื่อนำไปเข้าอาหารกลางวันจำนวน 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์ จำนวน 15 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาที่ทำโครงการเก็บเกี่ยวผลผลิต 30 กิโลกรัม
126
0
4. จับปลาดุกเพื่อจัดทำเมนูอาหารของโรงเรียน
วันที่ 23 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ครูและนักเรียนร่วมกันเก็บผลผลิตเมื่อครบระยะเวลาที่กำหนดหรือเมื่อปลาดุกมีขนาดตามความต้องการสามารถนำมาปรุงอาหารได้โดยส่วนที่เหลือจากการปรุงอาหารจะนำมาแปรรูป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ทางโรงเรียนได้ปล่อยปลาดุก จำนวน 600 ตัว เมื่อในระยะที่สามารถจับปลาดุกจำนวน 500 ตัว เพื่อนำมาทำอาหารได้ได้ส่งให้กับอาหารกลางวันเพื่อนำมาปรุงอาหารให้นักเรียนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 100 ตัว
27
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
นักเรียนได้ฝึกทักษะและประสบการณ์ในด้านการเกษตรและปศุสัตว์
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 เกิดประสบการณ์ในการทำการเกษตรและการเลี้ยงสัตว์เพิ่มมากขึ้น
80.00
2
นักเรียนได้กินอาหารที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 กินอาหารที่ปลอดภัย
80.00
3
นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
373
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียน
373
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมศักดิ์ ดอแนเล๊าะ (0862963015) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง) ”
ม.8 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์ ดอแนเล๊าะ (0862963015)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง)
ที่อยู่ ม.8 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.8 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.8 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์อาหารและโภชนาการ ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภาวะโภชนาการไม่เหมาะสมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนท่องในทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเด็ก ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีปัญหาภาวะโภชนาการที่หลากหลายซ้ำซ้อนทั้งภาวะขาดสารอาหารและโภชนาการเกิน ซึ่งปัญหาที่พบคือ ร้อยละ22ของเด็กอายุ5-12ปีมีภาวะผอม ร้อยละ30ของเด็กอายุ5-12ปีไม่ได้รับประทานอาหารเช้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- นักเรียนได้ฝึกทักษะและประสบการณ์ในด้านการเกษตรและปศุสัตว์
- นักเรียนได้กินอาหารที่ปลอดภัย
- นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มมากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดเตรียมลูกปลาดุกลงในบ่อเลี้ยง
- จัดทำแปลงและปลูกผัก
- ขั้นเก็บผลผลิตและนำมาปรุงอาหารสำหรับนักเรียน
- จับปลาดุกเพื่อจัดทำเมนูอาหารของโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
นักเรียน | 373 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนโรงเรียนบ้านทับยางมีน้ำหนักตามเกณฑ์ลดภาวะ นักเรียนได้รับสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดเตรียมลูกปลาดุกลงในบ่อเลี้ยง |
||
วันที่ 22 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1 ครูและนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 จำนวน 27 คน เตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุก จำนวน 1 บ่อ 2 นำปลาดุกที่ซื้อจำนวน 600 ตัวมาใส่ลงในบ่อขนาด 2 x 3 เมตร 3 แบ่งกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบให้อาหารปลาดุกแต่ละวัน โดยให้ผู้ปกครองร่วมควบคุมดูแล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 0 |
2. จัดทำแปลงและปลูกผัก |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้แปลงผัก จำนวน 20 แปลง โดยมีผักปุ้ง 10 แปลง ผักกาดขาว 5 แปลง ผักกาดเขียว 5 แปลง
|
126 | 0 |
3. ขั้นเก็บผลผลิตและนำมาปรุงอาหารสำหรับนักเรียน |
||
วันที่ 7 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำทางโรงเรียนได้ปลูกผัก คือ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทางโรงเรียนได้ปลูกผักบุ้ง 20 แปลง ได้เก็บเพื่อนำไปเข้าอาหารกลางวันจำนวน 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์ จำนวน 15 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาที่ทำโครงการเก็บเกี่ยวผลผลิต 30 กิโลกรัม
|
126 | 0 |
4. จับปลาดุกเพื่อจัดทำเมนูอาหารของโรงเรียน |
||
วันที่ 23 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.ครูและนักเรียนร่วมกันเก็บผลผลิตเมื่อครบระยะเวลาที่กำหนดหรือเมื่อปลาดุกมีขนาดตามความต้องการสามารถนำมาปรุงอาหารได้โดยส่วนที่เหลือจากการปรุงอาหารจะนำมาแปรรูป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ทางโรงเรียนได้ปล่อยปลาดุก จำนวน 600 ตัว เมื่อในระยะที่สามารถจับปลาดุกจำนวน 500 ตัว เพื่อนำมาทำอาหารได้ได้ส่งให้กับอาหารกลางวันเพื่อนำมาปรุงอาหารให้นักเรียนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 100 ตัว
|
27 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | นักเรียนได้ฝึกทักษะและประสบการณ์ในด้านการเกษตรและปศุสัตว์ ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 เกิดประสบการณ์ในการทำการเกษตรและการเลี้ยงสัตว์เพิ่มมากขึ้น |
80.00 | |||
2 | นักเรียนได้กินอาหารที่ปลอดภัย ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 กินอาหารที่ปลอดภัย |
80.00 | |||
3 | นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ |
80.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 373 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียน | 373 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการเกษตรพอเพียงเพื่อสุขภาพโรงเรียนบ้านทับยาง (โรงเรียนบ้านทับยาง) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมศักดิ์ ดอแนเล๊าะ (0862963015) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......