1.ครูและนักเรียนร่วมกันเก็บผลผลิตเมื่อครบระยะเวลาที่กำหนดหรือเมื่อปลาดุกมีขนาดตามความต้องการสามารถนำมาปรุงอาหารได้โดยส่วนที่เหลือจากการปรุงอาหารจะนำมาแปรรูป
1.ทางโรงเรียนได้ปล่อยปลาดุก จำนวน 600 ตัว เมื่อในระยะที่สามารถจับปลาดุกจำนวน 500 ตัว เพื่อนำมาทำอาหารได้ได้ส่งให้กับอาหารกลางวันเพื่อนำมาปรุงอาหารให้นักเรียนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 100 ตัว
ทางโรงเรียนได้ปลูกผัก คือ
รอบที่ 1 ได้ผักบุ้ง 20 แปลง รับผิดชอบโดยนักเรียน ป.4-6
รอบที่ 2 ได้ปลูกบุ้ง 10 แปลง รับผิดชอบโดยนักเรียน ป.6 ผักกาดขาว 5 แปลง รับผิดชอบโดยนักเรียน ป.5 ผักกาดเขียว 5 แปลง รับผิดชอบโดยนักเรียน ป.6
ทางโรงเรียนได้ปลูกผักบุ้ง 20 แปลง ได้เก็บเพื่อนำไปเข้าอาหารกลางวันจำนวน 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์ จำนวน 15 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาที่ทำโครงการเก็บเกี่ยวผลผลิต 30 กิโลกรัม
- ครูและนักเรียนมีการจัดทำแปลงผัก จำนวน 20 แปลง โดยมีผักปุ้ง 10 แปลง ผักกาดขาว 5 แปลง ผักกาดเขียว 5 แปลง โดยมีการแบ่งเด็กนักเรียน ป.4 รับผิดชอบผักกาดขาว 5 แปลง ป.5 รับผิดชอบผักกาดเขียว ป.6 รับผิดชอบผักบุ้ง 10 แปลง
ได้แปลงผัก จำนวน 20 แปลง โดยมีผักปุ้ง 10 แปลง ผักกาดขาว 5 แปลง ผักกาดเขียว 5 แปลง
1 ครูและนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 จำนวน 27 คน เตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุก จำนวน 1 บ่อ
2 นำปลาดุกที่ซื้อจำนวน 600 ตัวมาใส่ลงในบ่อขนาด 2 x 3 เมตร
3 แบ่งกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบให้อาหารปลาดุกแต่ละวัน โดยให้ผู้ปกครองร่วมควบคุมดูแล
- ผลผลิตมีบ่อเลี้ยงปลาดุก จำนวน 1 บ่อ ขนาด 2 x 3 เมตร