แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม) ”
จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางดรุณี รุ่งรอด
ชื่อโครงการ โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม)
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การที่ผู้เรียนกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของคนไทยแต่ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทั้งนี้สาเหตุเนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ไม่ถูกต้องของบุคคลตลอดจนปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคม ซึ่งนับวันแนวโน้มของปัญหาเหล่านี้มีความรุนแรงขึ้น
ดังนั้นเพื่อให้ผู้เรียนกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงซึ่งเป็นการวางรากฐานด้านสุขภาพให้เข้มแข็งด้วยการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพตั้งแต่แรกเริ่มเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเผชิญกับปัญหาและสภาวการณ์ที่คุกคามต่อสุขภาพได้ โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม จึงได้พัฒนาผู้เรียนให้มีกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียง เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนดูแลสุขภาพและรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ และได้นำแนวปรัชญเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานที่มีประโยชน์
- เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษ
- เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
- เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เพาะเห็ดนางฟ้า
- เลี้ยงปลาในกระชัง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
นักเรียน
141
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนได้รับประทานที่มีประโยชน์
2.นักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษ
3.นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
4.นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เพาะเห็ดนางฟ้า
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
- เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ประชุมชี้แจงแต่งตั้งคณะทำงาน
-ดำเนินการตามขั้นตอนของกิจกรรม
ดังต่อไปนี้
-กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า
จัดซื้อก้อนเห็ดนางฟ้า
นำเห็ดนางฟางลงโรงเรือน
แบ่งเวรรับผิดชอบให้นักเรียนรดน้ำ และเก็บผลผลิต
นำผลผลิตที่ได้ไปจัดทำอาหารหารกลางวันให้กับนักเรียนรับประทาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผลผลิต
มีการเพาะเห็ดนางฟ้า จำนวน ุ600 ก้อน ได้ผลผลิตส่งโรงครั้งจำนวน 5 กิโลกรัมต่อสัปดาห์ ตลอดการทำโครงการได้ผลผลิตจากเห็ดนางฟ้าจำนวน 5 กิโลกรัม
1.นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและมีทักษะในการเพาะเห็ดนางฟ้า ร้อยละ 90
- นักเรียนได้รับประทานที่มีประโยชน์ ร้อยละ 100
3.นักเรียนใด้รับประทานอาหารปลอดสารพิษ ร้อยละ 100
4.นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 85
- ผลลัพธ์
นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ปลอดสารพิษ และมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มมากขึ้น และนักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและมีทักษะในการเลี้ยงปลาดุกในกระชัง
141
0
2. เลี้ยงปลาในกระชัง
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
- เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ประชุมชี้แจงแต่งตั้งคณะทำงาน
-ดำเนินการตามขั้นตอนของกิจกรรม
ดังต่อไปนี้
- กิจกรรมเลี้ยงปลาในกระชัง
จัดซื้อพันธ์ปลาดุก กระชัง และอาหารปลาดุก
ปล่อยปลาลงกระชัง
แบ่งเวรนักเรียนรับผิดชอบให้อาหารปลา
จับปลาดุกในกระชังมาทำอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผลผลิต
มีการเลี้ยงปลาดุกในกระชังจำนวน 2 กระชัง จำนวน 1500 ตัว มีผลผลิตส่งโรงครัว จำนวน 20 กิโลกรัม ต่อสัปดาห์ ณ ขณะนี้จับปลาดุเพื่อทำอาการกลางวันได้จำนวน 125 กิโลกรัม
1.นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและมีทักษะในการเลี้ยงปลาดุกในกระชัง ร้อยละ 90
- นักเรียนได้รับประทานที่มีประโยชน์ ร้อยละ 100
3.นักเรียนใด้รับประทานอาหารปลอดสารพิษ ร้อลยะ 100
4.นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 85
- ผลลัพธ์
นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ปลอดสารพิษ และมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์เพิ่มมากขึ้น และนักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและมีทักษะในการเลี้ยงปลาดุกในกระชัง
141
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานที่มีประโยชน์
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยขน์ ร้อยละ 80
80.00
2
เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษ ร้อยละ 80
80.00
3
เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 3.นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ร้อยละ 80
80.00
4
เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละ 80
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
141
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียน
141
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดรุณี รุ่งรอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม) ”
จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นางดรุณี รุ่งรอด
ชื่อโครงการ โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม)
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การที่ผู้เรียนกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของคนไทยแต่ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทั้งนี้สาเหตุเนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ไม่ถูกต้องของบุคคลตลอดจนปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคม ซึ่งนับวันแนวโน้มของปัญหาเหล่านี้มีความรุนแรงขึ้น ดังนั้นเพื่อให้ผู้เรียนกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงซึ่งเป็นการวางรากฐานด้านสุขภาพให้เข้มแข็งด้วยการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพตั้งแต่แรกเริ่มเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเผชิญกับปัญหาและสภาวการณ์ที่คุกคามต่อสุขภาพได้ โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม จึงได้พัฒนาผู้เรียนให้มีกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียง เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนดูแลสุขภาพและรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ และได้นำแนวปรัชญเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานที่มีประโยชน์
- เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษ
- เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
- เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เพาะเห็ดนางฟ้า
- เลี้ยงปลาในกระชัง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
นักเรียน | 141 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนได้รับประทานที่มีประโยชน์
2.นักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษ
3.นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
4.นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เพาะเห็ดนางฟ้า |
||
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
141 | 0 |
2. เลี้ยงปลาในกระชัง |
||
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
141 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานที่มีประโยชน์ ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยขน์ ร้อยละ 80 |
80.00 | |||
2 | เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษ ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษ ร้อยละ 80 |
80.00 | |||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : 3.นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 |
80.00 | |||
4 | เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตัวชี้วัด : นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละ 80 |
80.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 141 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียน | 141 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดรุณี รุ่งรอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......