สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การดำเนินงานขับเคลื่อนและยกระดับระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดนราธิวาส

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การดำเนินงานขับเคลื่อนและยกระดับระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดนราธิวาส
ภายใต้โครงการ โครงการขับเคลื่อนและยกระดับระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดสงขลา และสามจังหวัด ชายแดนใต้ (ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส)
รหัสโครงการ 66-00459
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2566 - 31 ตุลาคม 2567
งบประมาณ 0.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สถาบันนโยบายสาธารณะ
ผู้รับผิดชอบโครงการ อ.ดร.เพ็ญ สุขมาก
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
3. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

  1. พื้นที่ทำการเกษตรส่วนใหญ่ของภาคใต้ เน้นการทำเกษตรเชิงเดี่ยวได้แก่ ยางพาราและปาล์มนํ้ามัน จำนวนถึง 18,691,482 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 85.94 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ในขณะที่การปลูกพืชอาหาร เช่น ข้าวนาปี และนาปรังมีเพียง 883,326 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.06 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์คิดเป็นร้อยละ 3.07 สำหรับผลผลิตต่อไร่ของพืชหลักเกือบทุกชนิดตํ่ากว่าค่าเฉลี่ยของภาคใต้และประเทศ ปี 2563 จำนวนปศุสัตว์ในภาพรวมมีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนเล็กน้อย ส่วนปริมาณสัตว์นํ้า ณ ท่าเทียบเรือประมงปัตตานี มีจำนวน 84,762 ล้านตัน หดตัวจากปีก่อนร้อยละ 15.5 ด้านการปรับใช้ระบบเกษตรผสมผสานหรือพืชร่วมยางอยู่ในระดับการปรับใช้ไม่เกินระดับ 4 นั้นคือ เกษตรกรเพิ่งเริ่มต้นมีความสนใจ ทดลอง และกำลังปรับใช้ระบบเกษตรผสมผสานหรือพืชร่วมยาง แต่ข้อจำกัดที่สำคัญของการปรับใช้ระบบเกษตร คือ ความเพียงพอของแหล่งนํ้า การระบาดของโรคและศัตรูพืช/สัตว์ และขาดความรู้ทักษะทางการเกษตร และข้อจำกัดอื่น ๆ เช่น ที่ตั้งไม่เหมาะสม ดินเสื่อมโทรม ขาดพันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์ที่เหมาะสม ที่ดินขนาดเล็ก ขาดแคลนเงินทุน ขาดตลาดรองรับ ขาดแคลนแรงงาน และนโยบายสนับสนุนไม่แน่นอน
    1. ภาคใต้ประสบปัญหาความยากจนรุนแรงที่สุด โดยมีสัดส่วนคนจนสูงสุดที่ร้อยละ 10.94 ซึ่งจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาสยังเป็นจังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนสูงสุด 10 อันดับแรกของประเทศไทย ในปี 2564 จังหวัดปัตตานีมีสัดส่วนคนจนติดในอันดับสูงสุด 10 อันดับแรกมาตั้งแต่ปี 2549 และต่อเนื่องมาจนถึงปี 2564 รวมระยะเวลา 16 ปีติดต่อกัน โดยพบว่าภาคเกษตรกรรมเป็นภาคเศรษฐกิจที่มีปัญหาความยากจนสูงที่สุด โดยสัดส่วนแรงงานยากจนในภาคเกษตรกรรมปี 2564 สูงถึงร้อยละ 11.43 สำหรับการว่างงานโดยปี 2558-2562 อัตราการว่างงานกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สถานการณ์ความยากจนของประชากรยังอยู่ในระดับสูงมาก เนื่องมาจากผลกระทบจากราคาสินค้าเกษตรตกตํ่า โดยเฉพาะยางพาราและปาล์มนํ้ามัน โดยพบว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนรวมมูลค่า 139,173 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.82 ของประเทศและร้อยละ 9.44 ของภาคใต้ โดยในปี 2562 มูลค่าผลิตภัณฑ์รวมมวลภาคการเกษตรมีสัดส่วนร้อยละ 29.00
    2. สถานการณ์เชิงลบด้านโภชนาการของเด็กในชายแดนภาคใต้ยังมีหลายด้านที่ควรเร่งแก้ปัญหา คือ พื้นที่ชายแดนใต้นับเป็นกลุ่มที่มีปัญหาทุพโภชนาการมากที่สุดในประเทศ ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กในระยะยาว ผลสำรวจพบว่า ประมาณร้อยละ 23 ของเด็กที่มีอายุตํ่ากว่า 5 ปีในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส กำลังเผชิญกับภาวะเตี้ยแคระแกร็น (มีส่วนสูงตํ่ากว่าเกณฑ์อายุ) ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศที่ร้อยละ 13 เกือบสองเท่า โดยจังหวัดนราธิวาสมีเด็กอายุตํ่ากว่า 5 ปีที่มีภาวะผอมแห้งสูงสุดใน 17 จังหวัดที่ทำการสำรวจแบบเจาะลึก โดยอยู่ที่ประมาณร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยประเทศที่ไม่ถึงร้อยละ 8 ขณะเดียวกัน ภาวะผอมแห้งของเด็กอายุตํ่ากว่า 5 ปีในจังหวัดปัตตานีก็เป็นที่น่ากังวลเช่นกัน โดยอยู่ที่ร้อยละ 10
      ต้นทุน องค์ความรู้ ผลงานที่ผ่านมาของสถาบันนโยบายสาธารณะ ระยะที่ 1 ตัวอย่างเกษตรผสมผสานในสวนยางพาราของอำเภอควนเนียง 12 ราย และแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์บ้านเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ ในรูปแบบเกษตร 1 ไร่ 1 แสน การยกระดับตลาดเกษตร ม.อ. เป็นอุทยานอาหารปลอดภัย โดยพัฒนาศักยภาพเกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค เกิดข้อมูลสุขภาวะเด็ก 6-14 ปี นำไปสู่แผนบูรณาการความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยตำบลชะแล้ และตำบลควนรู และเกิดยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา ระยะที่ 2 รูปแบบเกษตรผสมผสานในสวนยาง 10 แบบ องค์ความรู้การทำ 1 ไร่ 1 แสนในพื้นที่ทำนา เกิดรูปแบบการเชื่อมโยงผลผลิตระหว่างเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.ไปสู่ร้านอาหาร และผู้บริโภค การขยายผลและตำบลบูรณาการความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยไปสู่ตำบลรัตภูมิ เชิงแส และเทศบาลสิงหนคร การผลักดันยุทธศาสตร์ระบบอาหารสู่แผนปฏิบัติราชการจังหวัดสงขลา ได้แก่ โครงการแก้ปัญหาโภชนาการ โดย วพบ.สงขลา และสถาบันนโยบายสาธารณะ
      ระยะที่ 3 รูปแบบเกษตรผสมผสานไปส่งเสริมเกษตรกรใน 5 อำเภอของจังหวัดสงขลา จำนวน 44 แปลง และประเมินมูลค่าด้านเศรษฐศาสตร์จำนวน 20 แปลงคัดเลือกเป็นแหล่งเรียนรู้จำนวน 8 แปลง จัดทำคู่มือ หลักสูตรการทำสวนยางยั่งยืน ยกระดับชุมชนบ้านคูวาเป็นรูปแบบ 1 ไร่หลายแสน โดยมีแหล่งเรียนรู้ย่อยของชุมชนจำนวน 10 แห่ง การขยายผลรูปแบบตลาดอาหารปลอดภัยไปสู่ห้างสรรพสินค้า ตลาดเอกชน และตลาดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทำแผนอาหารและโภชนาการจำนวน 79 แห่งเพื่อใช้งบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล การบูรณาการแผนยุทธศาสตร์จังหวัดสงขลาเข้าสู่แผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จังหวัดสงขลา ระยะที่ 4 แหล่งเรียนรู้จำนวน 8 แปลงของจังหวัดสงขลา ขยายผลรูปแบบเกษตรผสมผสาน 4 รูปแบบ คือ 1) ระบบเกษตรหลากหลายแบบแยกแปลง 2) ระบบเกษตรหลากหลายแบบร่วมยาง 3) ระบบเกษตรผสมผสาน 4) ระบบวนเกษตร สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาขยายผล 1 ไร่หลายแสนอย่างต่อเนื่องโดยใช้รูปแบบบ้านคูวา ส่วนสามจังหวัดภาคใต้ชายแดนไม่สามารถขยายผลได้เพราะเป็นนาร้าง โรงพยาบาลจำนวน 8 แห่งของจังหวัดสงขลาเกิดการเชื่อมโยงผลผลิตอาหารชุมชน การเกิดพื้นที่ตลาดอาหารปลอดภัยในตลาดจะบังติกอ เทศบาลเมืองปัตตานี เกิดแผนงานระบบอาหารและโภชนาการรวมทั้งโครงการส่งเสริมโภชนาการ จำนวน 11โครงการโดยใช้งบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลนครยะลา เกิดแผนระบบอาหารจังหวัดนราธิวาส ระยะที่ 5 ได้รูปแบบเกษตรกรรมในสวนยางพาราจำนวน 3 รูปแบบที่เหมาะสมกับสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1) ระบบเกษตรหลากหลายแบบแยกแปลง (ยางพารา ทุเรียน ปาล์มนํ้ามัน สละ กล้วย เป็นต้น) 2) ระบบการปลูกพืชร่วมยาง (ยางพาราร่วมกับผักกูด ผักเหรียง ไม้เศรษฐกิจ กาแฟ) 3) ระบบเกษตรผสมผสาน (ยางพารา ไม้ผล ไม้เศรษฐกิจ ผักกินใบแพะ วัว หมู เป็ด ไก่ ปลา) ถอดบทเรียนและประเมินมูลค่าด้านเศรษฐศาสตร์จำนวน 16 ราย ได้ Best practice จำนวน 5 ราย ซึ่งมีศักยภาพพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ เกิดการเชื่อมโยงผลผลิต (Matching Model) อาหารชุมชนไปยัง รพ. 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลบางกลํ่า และโรงพยาบาลควนเนียง ในจังหวัดสงขลา และโรงเรียน 3 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านดอนรัก โรงเรียนบ้านปะกาจินอ ในจังหวัดปัตตานี โรงเรียนบ้านแขยง จังหวัดนราธิวาส และร้านอาหาร 1 แห่ง คือ โรงแรม CS ปัตตานี จ.ปัตตานี และการสื่อสารเรื่องอาหารปลอดภัยจังหวัดปัตตานี โดยแนวคิดเรื่อง ความสะอาดเป็นส่วนนึงของความศรัทธา แนวคิดอาหารฮาลาล ตอยยีบัน(การนำสิ่งดีๆสู่ชีวิต ความบารอกัตในชีวิต) เผยแพร่สู่สาธารณะ 10 ช่องทาง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวน 17 แห่งของจังหวัดยะลา มีโครงการระบบอาหารและโภชนาการปีงบประมาณ 2565 จำนวน 14 โครงการ ปีงบประมาณ 2566 จำนวน 16 โครงการโครงการเกี่ยวกับฟัน ปีงบประมาณ 2565 จำนวน 2 โครงการ และปีงบประมาณ 2566 จำนวน 2 โครงการ เกิดตำบลต้นแบบการจัดการระบบอาหารอย่างครบวงจรให้กับกลุ่มเปราะบาง ในระดับ อปท. (COVID-19) จังหวัดปัตตานี 5 แห่ง จังหวัดยะลา 1 แห่ง และระดับ รพ.สต.ในจังหวัดนราธิวาส 6 แห่ง แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดชายแดนใต้ ปีงบประมาณ 2566- 2567 มีการดำเนินงานเรื่องระบบอาหารและโภชนาการที่ครบวงจร ปีพ.ศ. 2566 มีโครงการสร้างความมั่นคงทางอาหารในครัวเรื่อนยากจน 3 จังหวัด จำนวน 1 โครงการ ปีพ.ศ. 2567 จำนวน 5 โครงการ คือ 1) โครงการยกระดับไม้ผลที่มีประสิทธิภาพในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน งบ 20 ล้าน กิจกรรมสำคัญ ขยายผลทักษะการผลิตไม้ผลตามมาตรฐาน GAP การผลิตไม้ผลตามอัตลักษณ์ 2) พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแปรรูป งบ 2.4 ล้านบาท 3) ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์นํ้าเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร งบ 10 ล้านบาท 4) ยกระดับการเลี้ยงปศุสัตว์เพื่อสร้างอาชีพ เพิ่มรายได้เศรษฐกิจฐานราก เพื่อความมั่นคง มั่นคั่ง งบ 49 ล้านบาท 5) โครงการยกระดับการแก้ไขปัญหาความยากจนและเสริมสร้างสุขภาวะครัวเรือนชายแดนใต้อย่างยั่งยืน ระยะที่ 2 งบ 10.2 ล้านบาท
stars
4. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
5. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.พัฒนายกระดับต้นแบบการทําเกษตรกรรมยั่งยืนใน พื้นที่เป้าหมายและขับเคลื่อนให้เกิดการขยายผล (Model for Scaling up)
  1. มีต้นแบบที่ยกระดับการทําเกษตรกรรมยั่งยืนในพื้นที่จํานวน 10 แห่งพร้อมถอดบทเรียนกระบวนการทํางานเป็นเอกสาร สําหรับนําไปใช้เสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการขยายผล (Modelfor Scaling up) ในพื้นที่เป้าหมาย
  2. มีชุดความรู้/แนวทางปฏิบัติ/คู่มือ ในการยกระดับการทําเกษตรกรรมยั่งยืนอย่างน้อย 1 เรื่องคือ Model เกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยางพารากรณีสามจังหวัดภาคใต้ชายแดน พร้อมทั้งนําไปใช้ขับเคลื่อนการดําเนินงาน และเผยแพร่สู่สาธารณะ
2 2.ขับเคลื่อนและยกระดับ โมเดล (good practice) ใน การกระจาย เชื่อมโยง ผลผลิต อาหารเพื่อสุข ภาวะให้กับ ประชาชนใน ชุมชน ผ่าน กลไกต่างๆ ไปสู่การขยาย ผล (Model for Scaling up)
  1. เกิดรูปแบบการกระจายเชื่อมโยงผลผลิตอาหารที่เพิ่มการเข้าถึงอาหารเพื่อสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ Model forScaling up (โมเดลที่พร้อมขยายผล) อย่างน้อย 1 กรณีเช่น กลไกหน่วยงาน สหกรณ์การเกษตร ตลาดสีเขียวในชุมชนทั้งในรูปแบบออนไลน์และ onsiteพร้อมทั้งถอดบทเรียนกระบวนการทํางานเป็นเอกสาร และนําบทเรียนกระบวนการทํางานไปใช้ เสนอต่อผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณากําหนดเป็นนโยบาย
  2. มีชุดความรู้/แนวทางปฏิบัติ/คู่มือ ในการกระจาย เชื่อมโยงผลผลิตอาหารที่เพิ่มการเข้าถึงอาหารเพื่อสุขภาวะอย่างน้อย 1 เรื่อง คือ Modelตลาดอาหารปลอดภัยในระดับโรงงานอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา พร้อมทั้งนําไปขับเคลื่อนการดําเนินงานและใช้เผยแพร่สู่สาธารณะ
3 3.พัฒนา ต้นแบบการ ส่งเสริมความ รอบรู้ด้านอาหารเพื่อสุข ภาวะ (ความ มั่นคงอาหาร/ อาหาร ปลอดภัย/ โภชนาการ) ให้กับ ประชาชนใน พื้นที่เพื่อปรับ พฤติกรรม การบริโภค และร่วมพลัง เป็นพลเมือง อาหาร

มีต้นแบบการส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารเพื่อสุขภาวะ (ความมั่นคงอาหาร/อาหารปลอดภัย/โภชนาการ) ในพื้นที่ตําบลสุคิริน จังหวัดนราธิวาส และมีรายงานติดตามผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชนในพื้นที่เป้าหมายที่เกิดขึ้นจากการสร้างความรอบรู้ด่านอาหารเพื่อสุขภาวะ โดยนําผลไปปรับปรุงการดําเนินงานและจัดทําแผนยุทธศาสตร์ท้องถิ่น พร้อม ทั้งเผยแพร่ความรู้ด้านอาหารเพื่อสุขภาวะสู่สาธารณะ

4 4.พัฒนา ระบบ/กลไก เฝhาระวัง ผลผลิต ปลอดภัย เทศบาลนคร ยะลา จ.ยะลา

ร่วมกับเครือข่ายพัฒนาระบบ/กลไกเฝ้าระวังการจัดการผลผลิตปลอดภัยอย่างน้อย 1 กรณี คือระบบเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยเทศบาลนครยะลา จ. ยะลา พร้อมทั้งติดตามประเมินผลระบบ/กลไกเฝ้าระวังฯ โดยระบบ/กลไกเฝ้าระวังฯถูกนําไปใช้เสนอต่อผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณากําหนดเป็นนโยบาย

5 5.พัฒนา ต้นแบบ ระบบอาหารเพื่อสุขภาวะ ตลอดห่วงโซ่ ที่แก้ปัญหา ภาวะ โภชนาการใน กลุ่มเด็กเล็ก เด็กนักเรียน และกลุ่ม เปราะบาง

มีต้นแบบระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในชุมชนอย่างน้อย 6 แห่ง (ใหม่) ได้แก่ ตําบลยะหริ่ง ตําบลปานาแระตําบลสะดาแวะ ตําบลนํ้าดํา ตําบลนาเกตุ ตําบลดอนรัก ที่่แก้ปัญหาภาวะโภชนาการในกลุ่มเด็กเล็กนักเรียน และกลุ่มเปราะบาง โดยมีรายงานการติดตามผลการเชื่อมโยงระบบอาหารตั้งแต่การผลิต (ต้นทาง) การกระจาย/การจําหน่าย(กลางทาง) และการบริโภค (ปลายทาง) พร้อมนําไปใช้สื่อสารสู่สาธารณะ เพื่อให้เกิดการขยายผล

6 6.พัฒนาและ ขับเคลื่อน นโยบาย สาธารณะ เพื่อส่งเสริม บริโภค อาหารเพื่อสุข ภาวะ/ระบบ อาหารที่ ยั่งยืน
  1. มีข้อเสนอนโยบายสาธารณะที่ส่งเสริมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะ โดยผ่านกลไกงบประมาณกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน (จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส)อย่างน้อย 1 เรื่อง คือประเด็นความมั่นคงทางอาหาร พร้อมทั้งนํามาใช้สื่อสารสู่สาธารณะเพื่อให้เกิดกระแสสังคมในการขับเคลื่อนนโยบาย และผลักดันต่อผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณากําหนดเป็นนโยบาย
  2. มีข้อเสนอนโยบายสาธารณะด้านอาหารปลอดภัยในระดับจังหวัดปัตตานี พร้อมทั้งนํามาใช้สื่อสารสู่สาธารณะเพื่อให้เกิดกระแสสังคมในการขับเคลื่อนนโยบาย และผลักดันต่อผู้บริหารหน่วยงานเพื่อพิจารณาการกําหนดเป็นนโยบาย
  3. มีข้อเสนอนโยบายสาธารณะเพื่อแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กนักเรียนอย่างน้อย 1 เรื่อง คือนโยบายแก้ปัญหาเด็กเตี้ยเด็กผอมจังหวัดปัตตานีพร้อมทั้งนํามาใช้สื่อสารสูสาธารณะเพื่อให้เกิดกระแสสังคมในการขับเคลื่อนนโยบาย และผลักดันต่อผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาการกําหนดเป็นนโยบาย
7 7.พัฒนาฐาน ข้อมูลและ แผนภาพ เพื่อใช้ขับ เคลื่อนและ บูรณาการทํา งานระบบ อาหารตลอด ห่วงโซ่

เกิด Mapping ที่แสดงให้เห็นต้นทุนการทํางานและการเชื่อมโยงระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ จํานวน 4จังหวัด ได้แก่ สงขลาปัตตานี ยะลา และนราธิวาส (ซึ่งประกอบไปด้วยองค์ความรู้ พื้นที่ดําเนินงาน ภาคีเครือข่าการขับเคลื่อนนโยบายการเชื่อมโยงระหว่างการผลิต การกระจาย/ตลาดการบริโภค) เพื่อใช้บูรณาการทํางานและสื่อสารสู่สาธารณะ

stars
6. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67ต.ค. 67
1 1. ขับเคลื่อนรูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืนให้เกิด การขยายผลในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ชายแดนเพื่อนําไปสู้การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะ(1 พ.ย. 2566-31 ต.ค. 2567) 0.00                        
2 2. พัฒนาต้นแบบระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ที่แก้ปัญหาภาวะโภชนาการในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กนักเรียน และกลุ่มเปราะบาง ตำบลสุคิริน จังหวัดนราธิวาส โดยส่งเสริมความรอบรู้และสร้างปฏิบัติการด้านอาหาร (ความมั่นคงอาหาร/อาหารปลอดภัย/ โภชนาการ)(1 พ.ย. 2566-30 ก.ย. 2567) 0.00                        
3 1.2 ทีมนักวิชาการออกแบบหลักสูตรเกษตรกรรมยั่งยืนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ จากเกษตรกร 10 แห่ง และออกแบบเครื่องมือประเมินความมั่นคงทางอาหาร ระดับครัวเรือน (นำไปใช้ประเมินกลุ่มเป้าหมาย 200 คน)(1 พ.ย. 2566-30 พ.ย. 2566) 0.00                        
4 2.1 เตรียมความพร้อมการทำงานตำบลต้นแบบบูรณาการระบบอาหาร ประสาน อบต. คัดเลือกแกนนำตำบล ตำบลละ 5 คน (รพ.สต.,ผญ.,ครู,แกนนำเกษตรกร กลุ่มอาชีพ,อสม.) ประชุมชี้แจงการทำงานตำบลบูรณาการระบบอาหาร รวมทั้งสร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือ CHIA ประเมินระบบอาหารตลอดห่วงโ(1 พ.ย. 2566-30 พ.ย. 2566) 0.00                        
5 3. พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมบริโภคอาหารเพื่อสุข ภาวะ/ระบบอาหารที่ยั่งยืน โดยกลไกกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน (จังหวัด ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) กลไกผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี กลไกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี(1 ธ.ค. 2566-30 ก.ย. 2567) 0.00                        
6 4. กิจกรรมการสื่อสารสาธารณะและการสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย(1 ธ.ค. 2566-31 มี.ค. 2567) 0.00                        
7 5. การติดตามประเมินผลภายนอก(1 ธ.ค. 2566-31 ต.ค. 2567) 0.00                        
8 1.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความร่วมมือการยกระดับต้นแบบการทำเกษตรกรรมยั่งยืนในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส(1 ธ.ค. 2566-31 ธ.ค. 2566) 0.00                        
9 1.3 สนส. และทีมวิชาการสร้างปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแหล่งเรียนรู้ทั้ง 10 แห่งให้มีความพร้อมเป็นจุดถ่ายทอดการทำเกษตรกรรมยั่งยืน การเป็นทีมวิทยากร(1 ธ.ค. 2566-31 ธ.ค. 2566) 0.00                        
10 2.2 ทีมนักวิชาการ จาก Thailand Policy lab, ม.อ.ปัตตานี, วสส.ยะลา ดำเนินการ Training แกนนำตำบล มีขีดความสามารถใช้แครื่องมือ CHIA ประเมินระบบอาหารตลอดห่วงโซ่, การวิเคราะห์ข้อมูล, การจัดทำแผนที่ต้นทุนระบบอาหารชุมชน, การจัดทำแผนงานโครงการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่(1 ธ.ค. 2566-31 ม.ค. 2567) 0.00                        
11 3.1 ประชุมทีมคณะเศรษฐศาสตร์มอ. เพื่อวางแผนประเมินโครงการที่อยู่ในแผนพัฒนากลุ่มจังหวักภาคใต้ชายแดน และแผนของอบจ. แผนปี 65และ66 เพื่อประเมินถึงความคุ้มค่าในมิติทางด้านเศรษฐกิจและสังคม(1 ธ.ค. 2566-31 ธ.ค. 2566) 0.00                        
12 3.4 การประชุมกำหนดวาระนโยบายเรื่องความมั่นคงทางอาหาร เรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร นโยบายการแก้ปัญหาโภชนาการเด็ก ให้อยู่ในแผนของกลุ่มจังหวัดและอบจ. ปัตตานี(1 ธ.ค. 2566-30 ก.ย. 2567) 0.00                        
13 4.1 ประสานกับวิทยุมอ.88 หาดใหญ่ มอ.ปัตตานี เอามาออกแบบการพัฒนาประเด็นสื่อสาร ข้อเสนอเชิงนโยบายความมั่นคงทางอาหาร การทำเกษตรกรรมยั่งยืน ตลาดสีเขียวในชุมชน อาหารปลอดภัย นโยบายแก้ปัญหาด้านโภชนาการ เช่นเด็กเตี้ย เด็กผอม(1 ธ.ค. 2566-31 ธ.ค. 2566) 0.00                        
14 5.1 ติดตามประเมินผลภายในโครงการ เพื่อติดตามความก้าวหน้าตามตัวชี้วัดและให้ข้อเสนอแนะต่อผู้รับผิดชอบโครงการรวมทั้งช่วยประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ เช่นค่าใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลประโยชน์(1 ธ.ค. 2566-31 ต.ค. 2567) 0.00                        
15 6. ติดตามผลความรอบรู้ด้านอาหารเพื่อสุขภาวะ รวมทั้งจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ท้องถิ่นตําบลสุคิริน จังหวัดนราธิวาส(1 ม.ค. 2567-31 ต.ค. 2567) 0.00                        
16 1.4 จัด workshop ให้เกษตรกร 200 คน ในพื้นที่แปลงเรียนรู้ของเกษตรกรต้นแบบ พร้อมกับประเมินความมั่นคงทางอาหาร ของกลุ่มเป้าหมาย 200 คน(1 ม.ค. 2567-29 ก.พ. 2567) 0.00                        
17 2.3 แกนนำตำบล ดำเนินการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล(1 ม.ค. 2567-31 มี.ค. 2567) 0.00                        
18 2.7 อบต. สปสช. โหนด สสส. ทีมวิชาการ ประชุมพิจารณาโครงการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ จัดกลุ่มชุดโครงการที่ใช้งบประมาณจาก สปสช., ชุดโครงการที่ใช้งบประมาณจากแผนงานร่วมทุน สสสและ อบจ.,ชุดโครงการที่ใช้งบประมาณกับสำนักอื่นๆของ สสส.(1 ม.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 0.00                        
19 2.8 โครงการสร้างปฏิบัติการในพื้นที่(1 ม.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 0.00                        
20 2.9 จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพเครือข่ายอาหารให้มีความสามารถดำเนินงานการจัดการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ (หลักสูตร non degree)(1 ม.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 0.00                        
21 3.2 ทีมนักวิชาการลงพื้นที่ประเมินโครงการ(1 ม.ค. 2567-29 ก.พ. 2567) 0.00                        
22 6.1 ทีมวิชาการ ม.อ. ปัตตานี ,วสส.ยะลา ,ติดตามประเมินผลแบบเสริมพลังให้กับตำบลสุคิริน โดยประเมินผลผลัพธ์ เรื่อง ความสามารถของคน ความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ความรู้ที่เกิดขั้นจากการทำงาน มาตรนโยบาย (อาจจะเอาเครื่องมือการประเมินโครงการของ ชุมชนน่าอยู่)(1 ม.ค. 2567-31 ต.ค. 2567) 0.00                        
23 1.5 ระบบติดตามสนับสนุนให้คำปรึกษาการทำเกษตรกรรมยั่งยืน (กลุ่มไลน์) ให้กับแหล่งเรียนรู้ทั้ง 10 แห่ง และแกนนำเกษตรกร 200 คน(1 ก.พ. 2567-31 ต.ค. 2567) 0.00                        
24 2.4 นักวิชาการ แกนนำตำบลจัดทำแผนที่ต้นทุนระบบอาหารชุมชน(1 ก.พ. 2567-31 มี.ค. 2567) 0.00                        
25 2.5 นักวิชาการ แกนนำตำบล workshop การเขียนแผนงาน โครงการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่(1 ก.พ. 2567-31 มี.ค. 2567) 0.00                        
26 3.3 นักวิชาการนำผลการประเมินคืนให้กับส่วนราชการที่ดำเนินโครงการ พร้อมกับworkshop การยกระดับการทำแผนงานโครงการที่ตอบความคุ้มค่าในมิติเศรษฐกิจและสังคม(1 มี.ค. 2567-31 พ.ค. 2567) 0.00                        
27 4.2 จัดเวทีนโยบายในพื้นที่(คลายๆ Thai pbs)(1 มี.ค. 2567-31 มี.ค. 2567) 0.00                        
28 2.6 ทีมนักวิชาการ แกนนำตำบล อสม. ออกแบบการทำกลไกติดตามด้านโภชนาการในพื้นที่ - โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ - หลักสูตรพัฒนาศักยภาพ อสม. ครูพี่เลี้ยง ครูในโรงเรียน ผู้ปกครอง ให้สามารถเฝ้าระวังโภชนาการ(1 เม.ย. 2567-31 ก.ค. 2567) 0.00                        
29 1.6 เดือน ก.ค.ประเมินความมั่นคงทางอาหารในครัวเรือน เกษตรกร 200 คน (ประเมินหลังการเข้าร่วมกิจกรรม)(1 พ.ค. 2567-31 พ.ค. 2567) 0.00                        
30 7. การพัฒนาชุดความรู้ แนวทางปฏิบัติ และคู่มือ Model เกษตรกรรมยั่งยืนใน สวนยางพารา ขยายผลกับการยางแห่งประเทศไทยสามจังหวัดภาคใต้ชายแดน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(1 มิ.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 0.00                        
31 6.2 นักวิชาการ แกนนำตำบล สรุปบทเรียน และจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตลอดห่วงโซ่(1 มิ.ย. 2567-31 ส.ค. 2567) 0.00                        
32 7.1 นักวิชาการลงพื้นที่ ประเมินแหล่งเรียนรู้ทั้ง 10 แห่ง ถอดบทเรียนการเป็นแหล่งเรียนรู้ และจัดทำ model แหล่งเรียนรู้ฯ จัดทำเป็นแนวทางปฏิบัติการทำเกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยางพารา(1 มิ.ย. 2567-31 ก.ค. 2567) 0.00                        
33 7.2 จัดประชุมแลกเปลี่ยนการทำเกษตรกรรมยั่งยืน ในรูปแบบการจัดประชุมวิชาการ หรือการจัดสมัชชาเรื่องสวนยางยั่งยืน ทั้ง onsite และ online(1 ส.ค. 2567-31 ต.ค. 2567) 0.00                        
รวม 0.00
1 1. ขับเคลื่อนรูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืนให้เกิด การขยายผลในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ชายแดนเพื่อนําไปสู้การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 2. พัฒนาต้นแบบระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ที่แก้ปัญหาภาวะโภชนาการในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กนักเรียน และกลุ่มเปราะบาง ตำบลสุคิริน จังหวัดนราธิวาส โดยส่งเสริมความรอบรู้และสร้างปฏิบัติการด้านอาหาร (ความมั่นคงอาหาร/อาหารปลอดภัย/ โภชนาการ) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 0.00
14 ธ.ค. 66 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการฯกับผู้บริหารท้องถิ่น และแกนนำชุมชน 0 0.00 0.00
3 1.2 ทีมนักวิชาการออกแบบหลักสูตรเกษตรกรรมยั่งยืนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ จากเกษตรกร 10 แห่ง และออกแบบเครื่องมือประเมินความมั่นคงทางอาหาร ระดับครัวเรือน (นำไปใช้ประเมินกลุ่มเป้าหมาย 200 คน) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
4 2.1 เตรียมความพร้อมการทำงานตำบลต้นแบบบูรณาการระบบอาหาร ประสาน อบต. คัดเลือกแกนนำตำบล ตำบลละ 5 คน (รพ.สต.,ผญ.,ครู,แกนนำเกษตรกร กลุ่มอาชีพ,อสม.) ประชุมชี้แจงการทำงานตำบลบูรณาการระบบอาหาร รวมทั้งสร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือ CHIA ประเมินระบบอาหารตลอดห่วงโ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
5 3. พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมบริโภคอาหารเพื่อสุข ภาวะ/ระบบอาหารที่ยั่งยืน โดยกลไกกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน (จังหวัด ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) กลไกผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี กลไกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
6 4. กิจกรรมการสื่อสารสาธารณะและการสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
7 5. การติดตามประเมินผลภายนอก กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
8 1.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความร่วมมือการยกระดับต้นแบบการทำเกษตรกรรมยั่งยืนในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
9 1.3 สนส. และทีมวิชาการสร้างปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแหล่งเรียนรู้ทั้ง 10 แห่งให้มีความพร้อมเป็นจุดถ่ายทอดการทำเกษตรกรรมยั่งยืน การเป็นทีมวิทยากร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
10 2.2 ทีมนักวิชาการ จาก Thailand Policy lab, ม.อ.ปัตตานี, วสส.ยะลา ดำเนินการ Training แกนนำตำบล มีขีดความสามารถใช้แครื่องมือ CHIA ประเมินระบบอาหารตลอดห่วงโซ่, การวิเคราะห์ข้อมูล, การจัดทำแผนที่ต้นทุนระบบอาหารชุมชน, การจัดทำแผนงานโครงการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
11 3.1 ประชุมทีมคณะเศรษฐศาสตร์มอ. เพื่อวางแผนประเมินโครงการที่อยู่ในแผนพัฒนากลุ่มจังหวักภาคใต้ชายแดน และแผนของอบจ. แผนปี 65และ66 เพื่อประเมินถึงความคุ้มค่าในมิติทางด้านเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
12 3.4 การประชุมกำหนดวาระนโยบายเรื่องความมั่นคงทางอาหาร เรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร นโยบายการแก้ปัญหาโภชนาการเด็ก ให้อยู่ในแผนของกลุ่มจังหวัดและอบจ. ปัตตานี กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
13 4.1 ประสานกับวิทยุมอ.88 หาดใหญ่ มอ.ปัตตานี เอามาออกแบบการพัฒนาประเด็นสื่อสาร ข้อเสนอเชิงนโยบายความมั่นคงทางอาหาร การทำเกษตรกรรมยั่งยืน ตลาดสีเขียวในชุมชน อาหารปลอดภัย นโยบายแก้ปัญหาด้านโภชนาการ เช่นเด็กเตี้ย เด็กผอม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
14 5.1 ติดตามประเมินผลภายในโครงการ เพื่อติดตามความก้าวหน้าตามตัวชี้วัดและให้ข้อเสนอแนะต่อผู้รับผิดชอบโครงการรวมทั้งช่วยประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ เช่นค่าใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลประโยชน์ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
15 6. ติดตามผลความรอบรู้ด้านอาหารเพื่อสุขภาวะ รวมทั้งจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ท้องถิ่นตําบลสุคิริน จังหวัดนราธิวาส กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
16 1.4 จัด workshop ให้เกษตรกร 200 คน ในพื้นที่แปลงเรียนรู้ของเกษตรกรต้นแบบ พร้อมกับประเมินความมั่นคงทางอาหาร ของกลุ่มเป้าหมาย 200 คน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
17 2.3 แกนนำตำบล ดำเนินการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
18 2.7 อบต. สปสช. โหนด สสส. ทีมวิชาการ ประชุมพิจารณาโครงการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ จัดกลุ่มชุดโครงการที่ใช้งบประมาณจาก สปสช., ชุดโครงการที่ใช้งบประมาณจากแผนงานร่วมทุน สสสและ อบจ.,ชุดโครงการที่ใช้งบประมาณกับสำนักอื่นๆของ สสส. กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
19 2.8 โครงการสร้างปฏิบัติการในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
20 2.9 จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพเครือข่ายอาหารให้มีความสามารถดำเนินงานการจัดการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ (หลักสูตร non degree) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
21 3.2 ทีมนักวิชาการลงพื้นที่ประเมินโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
22 6.1 ทีมวิชาการ ม.อ. ปัตตานี ,วสส.ยะลา ,ติดตามประเมินผลแบบเสริมพลังให้กับตำบลสุคิริน โดยประเมินผลผลัพธ์ เรื่อง ความสามารถของคน ความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ความรู้ที่เกิดขั้นจากการทำงาน มาตรนโยบาย (อาจจะเอาเครื่องมือการประเมินโครงการของ ชุมชนน่าอยู่) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
23 1.5 ระบบติดตามสนับสนุนให้คำปรึกษาการทำเกษตรกรรมยั่งยืน (กลุ่มไลน์) ให้กับแหล่งเรียนรู้ทั้ง 10 แห่ง และแกนนำเกษตรกร 200 คน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
24 2.4 นักวิชาการ แกนนำตำบลจัดทำแผนที่ต้นทุนระบบอาหารชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
25 2.5 นักวิชาการ แกนนำตำบล workshop การเขียนแผนงาน โครงการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
26 3.3 นักวิชาการนำผลการประเมินคืนให้กับส่วนราชการที่ดำเนินโครงการ พร้อมกับworkshop การยกระดับการทำแผนงานโครงการที่ตอบความคุ้มค่าในมิติเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
27 4.2 จัดเวทีนโยบายในพื้นที่(คลายๆ Thai pbs) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
28 2.6 ทีมนักวิชาการ แกนนำตำบล อสม. ออกแบบการทำกลไกติดตามด้านโภชนาการในพื้นที่ - โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ - หลักสูตรพัฒนาศักยภาพ อสม. ครูพี่เลี้ยง ครูในโรงเรียน ผู้ปกครอง ให้สามารถเฝ้าระวังโภชนาการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
29 1.6 เดือน ก.ค.ประเมินความมั่นคงทางอาหารในครัวเรือน เกษตรกร 200 คน (ประเมินหลังการเข้าร่วมกิจกรรม) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
30 7. การพัฒนาชุดความรู้ แนวทางปฏิบัติ และคู่มือ Model เกษตรกรรมยั่งยืนใน สวนยางพารา ขยายผลกับการยางแห่งประเทศไทยสามจังหวัดภาคใต้ชายแดน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
31 6.2 นักวิชาการ แกนนำตำบล สรุปบทเรียน และจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
32 7.1 นักวิชาการลงพื้นที่ ประเมินแหล่งเรียนรู้ทั้ง 10 แห่ง ถอดบทเรียนการเป็นแหล่งเรียนรู้ และจัดทำ model แหล่งเรียนรู้ฯ จัดทำเป็นแนวทางปฏิบัติการทำเกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยางพารา กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
33 7.2 จัดประชุมแลกเปลี่ยนการทำเกษตรกรรมยั่งยืน ในรูปแบบการจัดประชุมวิชาการ หรือการจัดสมัชชาเรื่องสวนยางยั่งยืน ทั้ง onsite และ online กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 พ.ย. 2566 10:44 น.