แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ ”
สามจังหวัดชายแดนใต้
หัวหน้าโครงการ
ดร.ซอฟียะห์ นิมะ
ชื่อโครงการ การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้
ที่อยู่ สามจังหวัดชายแดนใต้ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-00835 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สามจังหวัดชายแดนใต้
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้
บทคัดย่อ
โครงการ " การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนใต้ รหัสโครงการ 66-00835 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัยรุ่นถือเป็นช่วงวัยที่มีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมแวดล้อม (bio-psycho-social-development) การตั้งครรภ์วัยรุ่นและการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นอาจนำไปสู่การทำแท้งที่อันตรายได้ ซึ่งจากการเปรียบเทียบรายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 12 พบว่า จังหวัดปัตตานี มีอัตราการคลอดซ้ำของวัยรุ่นสูงสุด ร้อยละ 19.83 รองลงมา จังหวัดสงขลา ร้อยละ 17.91 จังหวัดยะลา ร้อยละ 17.02 และจังหวัดนราธิวาส ร้อยละ 13.15 โดยปรากฏการณ์ของการตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้นั้น เกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ เช่น ด้านปัจเจกบุคคล (ตัวเด็กและวัยรุ่น) ค่านิยมหรือความต้องการของพ่อแม่หรือผู้ปกครองที่มีความเชื่อส่วนบุคคล หรือ วัฒนธรรมเฉพาะกลุ่ม (social norms) ที่อ้างการเชื่อมโยงไปยังหลักความเชื่อทางศาสนา รวมทั้ง การถูกล่วงละเมิดทางเพศจากบุคคลภายในและภายนอกครอบครัวที่เป็นคดีความและหลีกเลี่ยงการเป็นคดีความต่าง ๆ เป็นต้น ด้านกลไกการดำเนินงานด้านป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยมีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับเขต และระดับจังหวัด ที่มีการดำเนินงาน การส่งเสริมการเข้าถึงบริการด้าน อนามัยการเจริญพันธ์ุ การประเมินรับรองมาตรฐานสถานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน การรับรองตามเกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ งานวางแผนครอบครัวโดยเฉพาะ
จากการดำเนินงานของสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต่อประเด็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในสามจังหวัดชายแดนใต้โดยอาศัยกลไก พชอ. ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณดำเนินงานจาก สสส. ในระยะที่ 1 (ตุลาคม 2562-มีนาคม 2564) จำนวน 4 อำเภอ พบว่า สมรรถนะของ พชอ. ยังต้องการหนุนเสริมการพัฒนาในหลาย ๆ ด้าน ในระยะที่ 2 (ตุลาคม 2564 - พฤษภาคม 2566) พบว่า เกิดผลผลิตด้านองค์ความรู้และการพัฒนาคู่มือที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของ พชอ. ทั้ง 19 อำเภอ ผ่านกระบวนการระดมสมอง สนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลักคือ นายอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ ปลัดอำเภออาวุโส พี่เลี้ยงระดับอำเภอ ผู้รับผิดชอบงานวัยรุ่นระดับอำเภอ และ ภาคีเครือข่ายในระดับตำบล จำนวน 195 คน ที่ได้แสดงความคิดเห็นต่อการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น
ดังนั้น ในระยะที่ 3 ของการดำเนินงาน ทางสถาบันนโยบายสาธารณะ จึงได้ออกแบบโครงการร่วมกับผู้ว่าราชการประจำจังหวัดและตัวแทนผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัดอีกครั้งโดยใช้อำเภอเป็นฐาน (District-based design) เพื่อกำหนดยุทธวิธีการดำเนินงานผ่านทุนของพื้นที่เป็นรายอำเภอ ตั้งแต่ทุนทางสังคม (วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของพื้นที่) ทุนการดำเนินงาน (งบประมาณและบุคลากรของพื้นที่) ทุนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์วัยรุ่น และทุนนโยบายโดยเฉพาะนโยบายสาธารณะต่อการขับเคลื่อนป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้ โดยมีจุดมุ่งหมายหลัก คือ พชอ. สามารถปฏิบัติการขับเคลื่อนพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และการนํายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2570 อย่างเป็นรูปธรรมโดยสามารถวัดได้และประเมินผลลัพธ์ การดำเนินงานได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของพชอ. 19 อำเภอ (เดิม) ต่อกระบวนการในการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา พัฒนา และค้นหาศักยภาพให้กับอำเภออื่น ๆ ในด้านการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้
- เพื่อพัฒนาศักยภาพพชอ. ในพื้นที่ขยายผล 14 อำเภอ (ใหม่) ให้มีแนวทางในการขับเคลื่อนจากการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติ ในจังหวัดชายแดนใต้
- เพื่อประเมินผลลัพธ์ ในการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติโดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ: กรณีศึกษา 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้
- เพื่อรณรงค์สื่อสารทางสังคม (Media Advocacy) ต่อการดำเนินงานประเด็นครรภ์วัยรุ่นของ พชอ. 33 อำเภอในจังหวัดชายแดนใต้
- เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้ ต่อการผลักดันนโยบาย (Policy advocacy) ในการขับเคลื่อนประเด็นครรภ์วัยรุ่นต่อองค์กรที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมทีมงานหลัก (Core Team)
- ประชุมติดตามผล MoU และ Policy Advocacy
- การรณรงค์สื่อสารทางสังคม
- ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน
- ประชุมเชิงปฏิบัติการ
- เวทีนำเสนอแผน พชอ.
- District Policy Advocacy
- การติดตามเสริมพลัง
- การประเมินผลลัพธ์รวบยอด
- เวทีถอดบทเรียนการดำเนินงานของ พชอ. 33 อำเภอ
- เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายในจังหวัดชายแดนใต้
- เวทีนำเสนอข้อมูลต่อคณะกรรมการอิสระระดับชาติ
- ประชุมทีมงานหลัก (Core Team) ครั้งที่ 1
- ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน ครั้งที่ 1
- ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน ครั้งที่ 2
- ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน ครั้งที่ 3
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ มีศักยภาพในการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติตามห่วงโซ่คุณค่า (Value chain)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมทีมงานหลัก (Core Team) ครั้งที่ 1
วันที่ 12 กันยายน 2566 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โครงการการพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ เป็นโครงการต่อเนื่องในระยะที่ 3 เริ่มดำเนินโครงการตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2566 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 (18 เดือน) โดยมี ดร. ซอฟียะห์ นิมะ ผู้รับผิดชอบโครงการ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริม พชอ. โดยการนำ พรบ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติตามห่วงโซ่คุณค่า
สำหรับ ทีมงานหลัก (Core Team) มีแผนการประชุมร่วมกัน ดังนี้
- ประชุม ทีมงานหลัก (Core Team) ทุกเดือน ตลอดโครงการ
- ประชุม BAR-AAR เพิ่มเตรียมการและสรุปผลการจัดอบรม ตลอดโครงการ
- ประขุมทีมที่ปรึกษาโครงการ (Board) 3 ครั้ง
- ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2 ครั้ง
โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ พชอ. รวมทั้งสิ้น 33 อำเภอ (ทั้งนี้ เพิ่มขึ้น 14 อำเภอ รวมกับอำเภอเดิม 19 อำเภอ) และใช้การจัดโครงสร้างด้วย Buddy Model
สำหรับ โครงการ ระยะที่ 3 มีหน้าที่หลักในการจัดกระบวนการประเมินความพร้อมของ พชอ. 19 อำเภอต่การเพิ่มขีดความสามารถในการแนะนำให้คำปรึกษาแก่อำเภออื่นและประเมินแนวทางในการขยายผลในอำเภอใหม่ 14 อำเภอ เพื่อให้ พชอ. ได้วิเคราะห์ปัญหาและทุนของพื้นที่สู่การออกแบบแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามยุทธศาสตร์ 5 ด้าน นำแผนไปสู่การปฏิบัติ โดยเน้นการทำงานบูรณาการ 6 กระทรวงหลัก (ปัจจุบันพบว่างานจะเน้นหนักที่กระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น) รวมทั้ง มีการประเมินผลลัพธ์และคืนข้อมูลให้ พชอ. ผู้ว่าราชการจังหวัด และคณะกรรมการจังหวัด
ข้อเสนอแนะ/ระดมสมอง
- ควรกำหนดบทบาทของทีมทำงานส่วนต่าง ๆ ให้ชัดเจน ทั้งแม่ข่ายและลูกข่าย ให้พื้นที่ได้รู้เพื่อทำงานได้ตรงตามเป้าหมายที่โครงการวางไว้ เมื่อกำหนดบทบาทได้ชัดเจนแล้วโครงการก็สามารถให้การสนับสนุนได้เต็มที่
- ควรจัดระบบการประสานงานของสำนักงานกลาง (เจ้าหน้าที่ธุรการและประสานงาน) ให้ชัดเจน เพราะมีทีมทำงานหลากหลาย ทั้งทีมจังหวัดและทีมพื้นที่
- การดำเนินโครงการที่ผ่านมา มีเอกสารที่เป็นเครื่องมือต่าง ๆ จำนวนมาก ทั้ง 1) แนวทางปฏิบัติงานของวิทยากรรายจังหวัด และ 2) คู่มือหลักสูตรโมดูลต่าง ๆ ควรออกแบบเนื้อหาให้น่าสนใจ ใช้งานได้ง่ายขึ้น
- ผลลัพธ์ของโครงการฯ ไม่เห็นด้วยที่ สสส. มองว่าศาสนาไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นครรภ์วัยรุ่น เพราะในกระบวนการขับเคลื่อนต้องมีศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้อง
- โครงสร้างการทำงาน ในส่วนทีมทำงานหลัก (Core team) 3 จังหวัด ต้องหาพี่เลี้ยงรายจังหวัดเพิ่มอีก 1 คน และทีมโค้ชชิ่งระดับอำเภอ ต้องหาให้ครบทั้ง 8 กลุ่มแม่ข่าย
- การออกแบบเครื่องมือต่างๆ ที่โครงการฯ เคยทำไปแล้วนั้น เครื่องมือของ 19 อำเภอเดิม มีครบแล้ว ส่วน 14 อำเภอใหม่ ยังไม่มีเครื่องมือ ซึ่งอาจให้มีการสะท้อนการทำงานในเวที Assessment เพื่อเป็นข้อมูลนำเข้า
แผนการทำงานต่อไป (ก.ย.-ต.ค. 2566)
- กำหนดวันลงพื้นที่จังหวัดยะลา เพื่อลงนามใน MOU ที่ยังขาดไปให้ครบถ้วน
- กำหนดวันพบผู้ว่าราชการจังหวัด และคณะกรรมการระดับจังหวัดทั้ง 3 จังหวัด
- กำหนดปฏิทินกิจกรรมตลอดโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ทีมทำงานหลัก (Core Team) จำนวน 10 คน ประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
10
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของพชอ. 19 อำเภอ (เดิม) ต่อกระบวนการในการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา พัฒนา และค้นหาศักยภาพให้กับอำเภออื่น ๆ ในด้านการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ 5 ด้านทั้ง 33 อำเภอ
2. มีกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีจาก 6 กระทรวงหลักตาม พรบ. พ.ศ. 2559
2
เพื่อพัฒนาศักยภาพพชอ. ในพื้นที่ขยายผล 14 อำเภอ (ใหม่) ให้มีแนวทางในการขับเคลื่อนจากการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติ ในจังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ 5 ด้านทั้ง 33 อำเภอ
2. มีกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีจาก 6 กระทรวงหลักตาม พรบ. พ.ศ. 2559
3
เพื่อประเมินผลลัพธ์ ในการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติโดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ: กรณีศึกษา 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 3. มีฐานข้อมูลการดูแลช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายครรภ์วัยรุ่นโดยกลไก พชอ. และ ภาคีเครือข่าย
4
เพื่อรณรงค์สื่อสารทางสังคม (Media Advocacy) ต่อการดำเนินงานประเด็นครรภ์วัยรุ่นของ พชอ. 33 อำเภอในจังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 4. มีการรณรงค์ขับเคลื่อนและสื่อสารสังคมประเด็นครรภ์วัยรุ่น
5
เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้ ต่อการผลักดันนโยบาย (Policy advocacy) ในการขับเคลื่อนประเด็นครรภ์วัยรุ่นต่อองค์กรที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 5. มีนวัตกรรมการบูรณาการทรัพยากรเพื่อการดูแลและให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายครรภ์วัยรุ่น
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-00835
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ดร.ซอฟียะห์ นิมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ ”
สามจังหวัดชายแดนใต้หัวหน้าโครงการ
ดร.ซอฟียะห์ นิมะ
ชื่อโครงการ การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้
ที่อยู่ สามจังหวัดชายแดนใต้ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-00835 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สามจังหวัดชายแดนใต้
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้
บทคัดย่อ
โครงการ " การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนใต้ รหัสโครงการ 66-00835 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัยรุ่นถือเป็นช่วงวัยที่มีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมแวดล้อม (bio-psycho-social-development) การตั้งครรภ์วัยรุ่นและการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นอาจนำไปสู่การทำแท้งที่อันตรายได้ ซึ่งจากการเปรียบเทียบรายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 12 พบว่า จังหวัดปัตตานี มีอัตราการคลอดซ้ำของวัยรุ่นสูงสุด ร้อยละ 19.83 รองลงมา จังหวัดสงขลา ร้อยละ 17.91 จังหวัดยะลา ร้อยละ 17.02 และจังหวัดนราธิวาส ร้อยละ 13.15 โดยปรากฏการณ์ของการตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้นั้น เกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ เช่น ด้านปัจเจกบุคคล (ตัวเด็กและวัยรุ่น) ค่านิยมหรือความต้องการของพ่อแม่หรือผู้ปกครองที่มีความเชื่อส่วนบุคคล หรือ วัฒนธรรมเฉพาะกลุ่ม (social norms) ที่อ้างการเชื่อมโยงไปยังหลักความเชื่อทางศาสนา รวมทั้ง การถูกล่วงละเมิดทางเพศจากบุคคลภายในและภายนอกครอบครัวที่เป็นคดีความและหลีกเลี่ยงการเป็นคดีความต่าง ๆ เป็นต้น ด้านกลไกการดำเนินงานด้านป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยมีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับเขต และระดับจังหวัด ที่มีการดำเนินงาน การส่งเสริมการเข้าถึงบริการด้าน อนามัยการเจริญพันธ์ุ การประเมินรับรองมาตรฐานสถานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน การรับรองตามเกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ งานวางแผนครอบครัวโดยเฉพาะ
จากการดำเนินงานของสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต่อประเด็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในสามจังหวัดชายแดนใต้โดยอาศัยกลไก พชอ. ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณดำเนินงานจาก สสส. ในระยะที่ 1 (ตุลาคม 2562-มีนาคม 2564) จำนวน 4 อำเภอ พบว่า สมรรถนะของ พชอ. ยังต้องการหนุนเสริมการพัฒนาในหลาย ๆ ด้าน ในระยะที่ 2 (ตุลาคม 2564 - พฤษภาคม 2566) พบว่า เกิดผลผลิตด้านองค์ความรู้และการพัฒนาคู่มือที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของ พชอ. ทั้ง 19 อำเภอ ผ่านกระบวนการระดมสมอง สนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลักคือ นายอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ ปลัดอำเภออาวุโส พี่เลี้ยงระดับอำเภอ ผู้รับผิดชอบงานวัยรุ่นระดับอำเภอ และ ภาคีเครือข่ายในระดับตำบล จำนวน 195 คน ที่ได้แสดงความคิดเห็นต่อการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น
ดังนั้น ในระยะที่ 3 ของการดำเนินงาน ทางสถาบันนโยบายสาธารณะ จึงได้ออกแบบโครงการร่วมกับผู้ว่าราชการประจำจังหวัดและตัวแทนผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัดอีกครั้งโดยใช้อำเภอเป็นฐาน (District-based design) เพื่อกำหนดยุทธวิธีการดำเนินงานผ่านทุนของพื้นที่เป็นรายอำเภอ ตั้งแต่ทุนทางสังคม (วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของพื้นที่) ทุนการดำเนินงาน (งบประมาณและบุคลากรของพื้นที่) ทุนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์วัยรุ่น และทุนนโยบายโดยเฉพาะนโยบายสาธารณะต่อการขับเคลื่อนป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้ โดยมีจุดมุ่งหมายหลัก คือ พชอ. สามารถปฏิบัติการขับเคลื่อนพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และการนํายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2570 อย่างเป็นรูปธรรมโดยสามารถวัดได้และประเมินผลลัพธ์ การดำเนินงานได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของพชอ. 19 อำเภอ (เดิม) ต่อกระบวนการในการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา พัฒนา และค้นหาศักยภาพให้กับอำเภออื่น ๆ ในด้านการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้
- เพื่อพัฒนาศักยภาพพชอ. ในพื้นที่ขยายผล 14 อำเภอ (ใหม่) ให้มีแนวทางในการขับเคลื่อนจากการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติ ในจังหวัดชายแดนใต้
- เพื่อประเมินผลลัพธ์ ในการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติโดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ: กรณีศึกษา 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้
- เพื่อรณรงค์สื่อสารทางสังคม (Media Advocacy) ต่อการดำเนินงานประเด็นครรภ์วัยรุ่นของ พชอ. 33 อำเภอในจังหวัดชายแดนใต้
- เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้ ต่อการผลักดันนโยบาย (Policy advocacy) ในการขับเคลื่อนประเด็นครรภ์วัยรุ่นต่อองค์กรที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมทีมงานหลัก (Core Team)
- ประชุมติดตามผล MoU และ Policy Advocacy
- การรณรงค์สื่อสารทางสังคม
- ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน
- ประชุมเชิงปฏิบัติการ
- เวทีนำเสนอแผน พชอ.
- District Policy Advocacy
- การติดตามเสริมพลัง
- การประเมินผลลัพธ์รวบยอด
- เวทีถอดบทเรียนการดำเนินงานของ พชอ. 33 อำเภอ
- เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายในจังหวัดชายแดนใต้
- เวทีนำเสนอข้อมูลต่อคณะกรรมการอิสระระดับชาติ
- ประชุมทีมงานหลัก (Core Team) ครั้งที่ 1
- ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน ครั้งที่ 1
- ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน ครั้งที่ 2
- ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน ครั้งที่ 3
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ มีศักยภาพในการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติตามห่วงโซ่คุณค่า (Value chain)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมทีมงานหลัก (Core Team) ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 12 กันยายน 2566 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำโครงการการพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ เป็นโครงการต่อเนื่องในระยะที่ 3 เริ่มดำเนินโครงการตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2566 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 (18 เดือน) โดยมี ดร. ซอฟียะห์ นิมะ ผู้รับผิดชอบโครงการ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริม พชอ. โดยการนำ พรบ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติตามห่วงโซ่คุณค่า สำหรับ ทีมงานหลัก (Core Team) มีแผนการประชุมร่วมกัน ดังนี้
โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ พชอ. รวมทั้งสิ้น 33 อำเภอ (ทั้งนี้ เพิ่มขึ้น 14 อำเภอ รวมกับอำเภอเดิม 19 อำเภอ) และใช้การจัดโครงสร้างด้วย Buddy Model สำหรับ โครงการ ระยะที่ 3 มีหน้าที่หลักในการจัดกระบวนการประเมินความพร้อมของ พชอ. 19 อำเภอต่การเพิ่มขีดความสามารถในการแนะนำให้คำปรึกษาแก่อำเภออื่นและประเมินแนวทางในการขยายผลในอำเภอใหม่ 14 อำเภอ เพื่อให้ พชอ. ได้วิเคราะห์ปัญหาและทุนของพื้นที่สู่การออกแบบแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามยุทธศาสตร์ 5 ด้าน นำแผนไปสู่การปฏิบัติ โดยเน้นการทำงานบูรณาการ 6 กระทรวงหลัก (ปัจจุบันพบว่างานจะเน้นหนักที่กระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น) รวมทั้ง มีการประเมินผลลัพธ์และคืนข้อมูลให้ พชอ. ผู้ว่าราชการจังหวัด และคณะกรรมการจังหวัด ข้อเสนอแนะ/ระดมสมอง
แผนการทำงานต่อไป (ก.ย.-ต.ค. 2566)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของพชอ. 19 อำเภอ (เดิม) ต่อกระบวนการในการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา พัฒนา และค้นหาศักยภาพให้กับอำเภออื่น ๆ ในด้านการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้ ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ 5 ด้านทั้ง 33 อำเภอ 2. มีกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีจาก 6 กระทรวงหลักตาม พรบ. พ.ศ. 2559 |
||||
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพพชอ. ในพื้นที่ขยายผล 14 อำเภอ (ใหม่) ให้มีแนวทางในการขับเคลื่อนจากการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติ ในจังหวัดชายแดนใต้ ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ 5 ด้านทั้ง 33 อำเภอ 2. มีกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีจาก 6 กระทรวงหลักตาม พรบ. พ.ศ. 2559 |
||||
3 | เพื่อประเมินผลลัพธ์ ในการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติโดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ: กรณีศึกษา 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ ตัวชี้วัด : 3. มีฐานข้อมูลการดูแลช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายครรภ์วัยรุ่นโดยกลไก พชอ. และ ภาคีเครือข่าย |
||||
4 | เพื่อรณรงค์สื่อสารทางสังคม (Media Advocacy) ต่อการดำเนินงานประเด็นครรภ์วัยรุ่นของ พชอ. 33 อำเภอในจังหวัดชายแดนใต้ ตัวชี้วัด : 4. มีการรณรงค์ขับเคลื่อนและสื่อสารสังคมประเด็นครรภ์วัยรุ่น |
||||
5 | เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้ ต่อการผลักดันนโยบาย (Policy advocacy) ในการขับเคลื่อนประเด็นครรภ์วัยรุ่นต่อองค์กรที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัด : 5. มีนวัตกรรมการบูรณาการทรัพยากรเพื่อการดูแลและให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายครรภ์วัยรุ่น |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-00835
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ดร.ซอฟียะห์ นิมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......