สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของพชอ. 19 อำเภอ (เดิม) ต่อกระบวนการในการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา พัฒนา และค้นหาศักยภาพให้กับอำเภออื่น ๆ ในด้านการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ 5 ด้านทั้ง 33 อำเภอ 2. มีกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีจาก 6 กระทรวงหลักตาม พรบ. พ.ศ. 2559

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพพชอ. ในพื้นที่ขยายผล 14 อำเภอ (ใหม่) ให้มีแนวทางในการขับเคลื่อนจากการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติ ในจังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ 5 ด้านทั้ง 33 อำเภอ 2. มีกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีจาก 6 กระทรวงหลักตาม พรบ. พ.ศ. 2559

 

3 เพื่อประเมินผลลัพธ์ ในการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติโดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ: กรณีศึกษา 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 3. มีฐานข้อมูลการดูแลช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายครรภ์วัยรุ่นโดยกลไก พชอ. และ ภาคีเครือข่าย

 

4 เพื่อรณรงค์สื่อสารทางสังคม (Media Advocacy) ต่อการดำเนินงานประเด็นครรภ์วัยรุ่นของ พชอ. 33 อำเภอในจังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 4. มีการรณรงค์ขับเคลื่อนและสื่อสารสังคมประเด็นครรภ์วัยรุ่น

 

5 เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้ ต่อการผลักดันนโยบาย (Policy advocacy) ในการขับเคลื่อนประเด็นครรภ์วัยรุ่นต่อองค์กรที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 5. มีนวัตกรรมการบูรณาการทรัพยากรเพื่อการดูแลและให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายครรภ์วัยรุ่น

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของพชอ. 19 อำเภอ (เดิม) ต่อกระบวนการในการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา พัฒนา และค้นหาศักยภาพให้กับอำเภออื่น ๆ ในด้านการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพพชอ. ในพื้นที่ขยายผล 14 อำเภอ (ใหม่) ให้มีแนวทางในการขับเคลื่อนจากการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติ ในจังหวัดชายแดนใต้ (3) เพื่อประเมินผลลัพธ์ ในการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติโดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ: กรณีศึกษา 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้ (4) เพื่อรณรงค์สื่อสารทางสังคม (Media Advocacy) ต่อการดำเนินงานประเด็นครรภ์วัยรุ่นของ พชอ. 33 อำเภอในจังหวัดชายแดนใต้ (5) เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้ ต่อการผลักดันนโยบาย (Policy advocacy) ในการขับเคลื่อนประเด็นครรภ์วัยรุ่นต่อองค์กรที่เกี่ยวข้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานหลัก (Core Team) (2) ประชุมติดตามผล MoU และ Policy Advocacy (3) การรณรงค์สื่อสารทางสังคม (4) ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน (5) ประชุมเชิงปฏิบัติการ (6) เวทีนำเสนอแผน พชอ. (7) District Policy Advocacy (8) การติดตามเสริมพลัง (9) การประเมินผลลัพธ์รวบยอด (10) เวทีถอดบทเรียนการดำเนินงานของ พชอ. 33 อำเภอ (11) เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายในจังหวัดชายแดนใต้ (12) เวทีนำเสนอข้อมูลต่อคณะกรรมการอิสระระดับชาติ (13) ประชุมทีมงานหลัก (Core Team) ครั้งที่ 1 (14) ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน ครั้งที่ 1 (15) ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน ครั้งที่ 2 (16) ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศภายใน ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh