โครงการการขยายผลรูปแบบการดำเนินงานบูรณาการระบบอาหารปลอดภัยใน ต.นาท่อม อ.เมือง จ.พัทลุง
ชื่อโครงการ | โครงการการขยายผลรูปแบบการดำเนินงานบูรณาการระบบอาหารปลอดภัยใน ต.นาท่อม อ.เมือง จ.พัทลุง |
ภายใต้โครงการ | แผนงานโซนใต้กลาง |
ภายใต้องค์กร | สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 มิถุนายน 2561 - 14 มิถุนายน 2562 |
งบประมาณ | 150,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายถาวร คงศรี |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ต.นาท่อม อ.เมือง จ.พัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 15 มิ.ย. 2561 | 31 ธ.ค. 2561 | 1 มิ.ย. 2561 | 31 ส.ค. 2562 | 100,000.00 | |
2 | 1 ม.ค. 2562 | 30 เม.ย. 2562 | 40,000.00 | |||
3 | 1 พ.ค. 2562 | 14 มิ.ย. 2562 | 10,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 150,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากข้อมูลการสังเคราะห์ผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงของชุมชนบ้านหูยาน หมู่ที่ 8 ตำบลนาท่อม อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง พบรูปธรรมการจัดการอาหารปลอดภัยโดยชุมชนแบบมีส่วนร่วม เกิดจากการระเบิดจากภายในของคนในชุมชน จนค่อย ๆ เติบโตเกิดพัฒนาการกิจกรรมเสริมพลังมาสนับสนุนการแก้ปัญหาด้านสุขภาพในระดับชุมชน ที่เริ่มจากการพบสารเคมีตกค้างในร่างกาย 97 % เกิดการรับรู้ มีความตะหนักสร้างกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น ครัวเรือนต้นแบบปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน 20 ชนิด รณรงค์ลด ละ เลิกใช้ยาฆ่าหญ้า เลิกใช้ยาฆ่าแมลง ส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งจากภูมิปัญญา ผลิตปุ๋ยใช้เอง ใช้ปิ่นโตสุขภาพจากพืชผักที่ปลูกเองต้อนรับแขกผู้มาเยือน สร้างตลาดเขียวในชุมชนรองรับผลผลิตที่เหลือกิน รวมกลุ่มแปรรูปผลผลิตอาหารปลอดภัยที่มีเครื่องหมาย Q รองรับ และยังมีหน่วยงานเทศบาลตำบลนาท่อม รพ.สต.ตำบล นาท่อมเห็นสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกับวิสัยทัศน์ “วัฒนธรรมเลิศล้ำ เกษตรกรรมยั่งยืนชุมชนน่าอยู่ สู่ตำบลสุขภาวะ” ได้สนับสนุนกิจกรรมหนุนเสริมเพิ่มเพื่อขยายผล ได้แก่ โครงการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การปลูกผักปลอดสารพิษ ส่งเสริมการเลี้ยงผึ้ง ตลาดของดีตำบลนาท่อม ฯลฯ ซึ่งมีเป้าหมายระยะยาว เป็นตำบลที่ทำเกษตรกรรมยั่งยืน การสังเคราะห์กรณี กรณีชุมชนบ้านหูยาน พบว่า การผลิตอาหารปลอดภัยของชุมชนบ้านหูยานนั้นไม่เพียงพอต่อความต้องการของคนตำบลนาท่อม ที่มี 8 หมู่บ้าน ประชากร 4,777 คน จำเป็นอย่างยิ่งต้องขยายผลการดำเนินงานของชุมชนต้นแบบ คือ ชุมชนบ้านหูยานนำไปปรับใช้ ขยายพื้นที่ และสร้างครอบครัวต้นแบบ ให้ครอบคลุมทั้งตำบลขยายสู่ 7 พื้นที่ในตำบลนาท่อม
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการอาหารที่ปลอดภัยในชุมชนบ้านหูยาน (Model หูยาน) และขยายผลสู่พื้นที่อื่น ๆ ในตำบลนาท่อม
|
||
2 | เพื่อหารูปแบบแนวทางการจัดการระบบอาหารปลอดภัยระดับตำบลนาท่อม ในประเด็น ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย อย่างมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
|
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ส.ค. 2561 11:16 น.