แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง ”
1) บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2)บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3)บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4)เกาะลิบง ต.เกาะลิบง อ.กันตัง
หัวหน้าโครงการ
เชภาดร จันทร์หอม
ชื่อโครงการ ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
ที่อยู่ 1) บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2)บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3)บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4)เกาะลิบง ต.เกาะลิบง อ.กันตัง จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง ุ61-ข-045
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 1) บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2)บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3)บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4)เกาะลิบง ต.เกาะลิบง อ.กันตัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ 1) บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2)บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3)บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4)เกาะลิบง ต.เกาะลิบง อ.กันตัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 พฤษภาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 110 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจก่อให้เกิดการลงทุนภาคธุรกิจการท่องเที่ยวเกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพให้กับประชาชนมีรายได้ ประเทศไทยได้ตระหนักถึงความสำคัญของการท่องเที่ยวในการเป็นกลไกสำคัญในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจประเทศ ในสถานการณ์ความไม่แน่นอนทั้งภัยธรรมชาติ ด้านเศรษฐกิจ และการเมือง โดยภาครัฐมีทิศทางในการสนับสนุนการท่องเที่ยวทั้งเชิงนโยบาย แผนงานทั้งในระดับชาติ อาทิ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) แผนพัฒนาการท่องเที่ยว ฉบับที่ 2 พ.ศ.2560-2564 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมามีความสำเร็จระดับหนึ่งทั้งในเชิงจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยปี พ.ศ.2559 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทยรวมทั้งสิ้น 32,573,545 คน ขยายตัวร้อยละ 8.86 จากปีที่ผ่านมา มีรายได้จากการท่องเที่ยว 1,637,832 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 12.40 รวมทั้งจำนวนผู้มาเยี่ยมเยียนชาวไทยเที่ยวไทยรวม 148.03 ล้านคน-ครั้ง ขยายตัวร้อยละ 6.49 จากปีที่ผ่านมา ก่อเกิดรายได้ทั้งสิ้น 869,510.63 ล้านบาท(สำนักงานปลัดกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา, 2559)
ทั้งนี้ภายใต้การพัฒนาและการส่งเสริมการท่องเที่ยวกระแสหลักกลับพบว่าส่งผลกระทบอีกด้านนำไปสู่การพัฒนาที่ไม่สมดุล ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย การกระจุกตัวของรายได้ และแรงงานออกนอกพื้นที่ ในขณะเดียวกันกระแสการพัฒนายั่งยืนของโลกในการประชุมสุดยอดสิ่งแวดล้อมโลก หรือ “Earth Summit ” เมื่อปี 2535 ที่เมืองริโอ เดอ จาเนโร ยังมีส่วนผลักดันกระแสการพัฒนาการ 3 ประการ ได้แก่ 1) กระแสความต้องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 2) กระแสความต้องการของตลาดการท่องเที่ยวในการด้านการศึกษาเรียนรู้ และ 3) กระแสความต้องการพัฒนาคน จากกระแสทั้ง 3 ส่งผลให้เกิดการปรับตัวของระบบการท่องเที่ยวในการแสวงหาทางเลือกใหม่(Alternative tourism) (สินธุ์ สโรบล, 2546) จึงทำให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(Ecotourism)เป็นกระแสใหม่ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในช่วงปี พ.ศ.2535-2540 โดยการผลักดันของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวโดยชุมชน(Community Based Tourism) เป็นความพยายามหนึ่งของการสร้างทางเลือกในการพัฒนาประเด็นการท่องเที่ยวที่ให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมทั้งได้รับผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวและมีบทบาทในการกำหนดทิศทางการพัฒนา ประเทศไทยมีการก่อตัวการท่องเที่ยวโดยชุมชนคู่ขนานการท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายใต้การทำงานในระดับพื้นที่ของโครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ(REST)(สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน, 2560) และในหลายปีที่ผ่านมาการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลัง พ.ศ.2558 รัฐบาลประกาศให้เป็นปีท่องเที่ยววิถีไทยนำเสนอภาพลักษณ์มุมมองใหม่ให้นักท่องเที่ยว เริ่มมีการตลาดที่สนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชนหลากหลายช่องทางทำให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นที่รู้จักกว้างขวางขึ้นของนักท่องเที่ยว และในปี พ.ศ. 2560 มีการประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน พ.ศ. 2559-2563 รวมถึงนโยบายรัฐบาลขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เน้นการสร้างรายได้ในชุมชนเลือกสนับสนุนประเด็นการท่องเที่ยวโดยชุมชนทำให้หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานสนับสนุนต่างๆ สถาบันการศึกษา มีแผนงานโครงการสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชน ยิ่งทำให้เกิดกระแสการตื่นตัวของชุมชนในหลายพื้นที่ลุกขึ้นมาพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนมากยิ่งขึ้น
จังหวัดตรังมีชุมชนที่ริเริ่มดำเนินการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 และมีการขยายแนวคิดไปอีกหลายชุมชน ทั้งนี้พบว่ามีทั้งชุมชนที่สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง และบางชุมชนหยุดชะงักรอปรับตัว บ้างยุติการดำเนินงาน และหลายชุมชนให้ความสนใจการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ทั้งนี้แผนงานสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชนของหน่วยงานภาครัฐในระดับจังหวัดเป็นลักษณะกิจกรรม โครงการของแต่ละหน่วยงาน ขาดการบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขาดแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เป็นทิศทาง นโยบายร่วมกันของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคประชาชน
ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มีหนึ่งในเครื่องมือสำหรับการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ได้แก่ กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health impact assessment) เป็นรูปแบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพที่มุ่งคาดการณ์ หรือศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดำเนินนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรม ต่อประชาชน เป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมตัดสินใจหรือเสนอทางเลือกสำหรับการดำเนินงานตามแผนงานหรือโครงการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
จากสถานการณ์ดังกล่าวเพื่อให้การกำหนดทิศทางนโยบายและการวางแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดตรังมุ่งเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนป้องกันผลกระทบระยะยาว ผู้วิจัยเห็นจึงเห็นว่าควรใช้กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ(Health impact assessment)มาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน และพัฒนาข้อเสนอแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรังต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) เพื่อศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
- 2) เพื่อเสนอแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (screening)
วันที่ 16 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- การทบทวนแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้งในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด ระดับชาติ แผนพัฒนาจังหวัด และข้อมูลทุติยภูมิ จากสำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานตรัง และสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดตรัง
- การทบทวนรวบรวมเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ การประเมินผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน และการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง ความเชื่อมโยงสอดคล้องของนโยบายการท่องเที่ยวโดยชุมชนตั้งแต่ระดับชาติ ระดับภาค ถึงระดับจังหวัด ผลคาดการณ์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน และรายชื่อโครงการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามแผนพัฒนาจังหวัดยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ให้มีคุณภาพเพื่อสร้างรายได้ให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง
- ได้ผลกระทบเบื้องต้นต่อปัจจัยกำหนดสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม
0
0
2. การกลั่นกรองและกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public screening and Public scoping)
วันที่ 5 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ศึกษาข้อมูลเชิงเอกสาร (Documentary Review) จากเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างเป็นระบบ โดยสืบค้นเอกสารทางวิชาการที่มีการศึกษาในประเด็นการจัดการท่องเที่ยว โดยระบุประเด็นหลัก ชื่องานวิจัยที่ศึกษา มิติการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง และตัวชี้วัดสำคัญตามมิติที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาเป็นร่างตัวชี้วัดสำหรับการประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- การกลั่นกรองโดยสาธารณะ โดยนำผลการทบทวนสถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง และแผนความเชื่อมโยงการท่องเที่ยวโดยชุมชนตั้งแต่ระดับชาติจนถึงระดับพื้นที่มานำเสนอให้แกนนำชุมชนท่องเที่ยวและภาคีเครือข่ายฯร่วมแลกเปลี่ยนให้เพิ่มเติมข้อมูล
- การกำหนดขอบเขตโดยสาธารณะ (Public Scoping) โดยนำร่างรายงานการพัฒนาตัวชี้วัดสำหรับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนมาประชุมกับแกนนำและสมาชิกกลุ่มชุมชนท่องเที่ยวเพื่อพิจารณาถึงผลกระทบของกิจกรรมต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยกำหนดสุขภาพ (ปัจจัยด้านคน สภาพแวดล้อม และระบบกลไก)ที่เกิดจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม ปัญหาและอุปสรรค
- ร่างรายตัวชี้วัดในการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
25
33
3. ลงประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาหมื่นศรี (Assessing)
วันที่ 20 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การลงพื้นที่เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพตามตัวชี้วัด
โดยใช้การประชุมกลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ข้อมูลผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาหมื่นศรี
20
18
4. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง (Assessing)
วันที่ 9 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ทีมวิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ ตามตัวชี้วัดและเครื่องมือที่กำหนด
- การประชุมกลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ข้อมูลผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง
20
19
5. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน (Assessing)
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ทีมวิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ ตามตัวชี้วัดและเครื่องมือที่กำหนด
- ใช้การประชุมกลุ่มย่อย และสัมภาษณ์เชิงลึก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ข้อมูลผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง
20
19
6. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก (Assessing)
วันที่ 20 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ทีมวิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ ตามตัวชี้วัดและเครื่องมือที่กำหนด
- การประชุมกลุ่มย่อย และสัมภาษณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อมูลผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก
20
15
7. ทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review)
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การทบทวนร่างรายงานโดยสาธารณะ (Public review ) โดยนักวิจัยจัดเวทีรับฟังความเห็นร่างรายงานผลการประเมินผลกระทบฯ โดยนำเสนอต่อกลุ่มประชุมกลุ่มย่อย ได้แก่ ผู้แทนองค์กรชุมชนท่องเที่ยวและกลุ่มจัดตั้งอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการท่องเที่ยวในชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ สื่อมวลชน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของร่างรายงานการประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน และรับฟังข้อเสนอแนะในการปรับปรุงยุทธศาสตร์ โดยการอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร่างรายงานการประเมินผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
25
28
8. การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
วันที่ 15 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-คณะทำงานวิจัยและภาคีที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยชุมชนร่วมระดมความคิดเห็น แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง และยกร่างเป็นแผนพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร่างเป็นแผนพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
10
5
9. เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
วันที่ 25 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดเวทีข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง โดยนำเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและหาฉันทามติต่อข้อเสนอเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ระหว่างผู้แทนภาครัฐ แกนนำชุมชนท่องเที่ยวโดยชุมชน และคณะทำงานวิจัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรังที่สามารถนำไปแปลงเข้าสู่แผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
15
6
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1) เพื่อศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
ตัวชี้วัด : 1) ข้อมูลสถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชน แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้งในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัดอันดามัน และระดับชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
2) ตัวชี้วัดการประเมินผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน
3) ผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน 4 ชุมชน
2
2) เพื่อเสนอแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
ตัวชี้วัด : 1) แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( เชภาดร จันทร์หอม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง ”
1) บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2)บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3)บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4)เกาะลิบง ต.เกาะลิบง อ.กันตังหัวหน้าโครงการ
เชภาดร จันทร์หอม
ชื่อโครงการ ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
ที่อยู่ 1) บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2)บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3)บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4)เกาะลิบง ต.เกาะลิบง อ.กันตัง จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง ุ61-ข-045
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 1) บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2)บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3)บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4)เกาะลิบง ต.เกาะลิบง อ.กันตัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ 1) บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2)บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3)บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4)เกาะลิบง ต.เกาะลิบง อ.กันตัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 พฤษภาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 110 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจก่อให้เกิดการลงทุนภาคธุรกิจการท่องเที่ยวเกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพให้กับประชาชนมีรายได้ ประเทศไทยได้ตระหนักถึงความสำคัญของการท่องเที่ยวในการเป็นกลไกสำคัญในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจประเทศ ในสถานการณ์ความไม่แน่นอนทั้งภัยธรรมชาติ ด้านเศรษฐกิจ และการเมือง โดยภาครัฐมีทิศทางในการสนับสนุนการท่องเที่ยวทั้งเชิงนโยบาย แผนงานทั้งในระดับชาติ อาทิ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) แผนพัฒนาการท่องเที่ยว ฉบับที่ 2 พ.ศ.2560-2564 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมามีความสำเร็จระดับหนึ่งทั้งในเชิงจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยปี พ.ศ.2559 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทยรวมทั้งสิ้น 32,573,545 คน ขยายตัวร้อยละ 8.86 จากปีที่ผ่านมา มีรายได้จากการท่องเที่ยว 1,637,832 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 12.40 รวมทั้งจำนวนผู้มาเยี่ยมเยียนชาวไทยเที่ยวไทยรวม 148.03 ล้านคน-ครั้ง ขยายตัวร้อยละ 6.49 จากปีที่ผ่านมา ก่อเกิดรายได้ทั้งสิ้น 869,510.63 ล้านบาท(สำนักงานปลัดกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา, 2559)
ทั้งนี้ภายใต้การพัฒนาและการส่งเสริมการท่องเที่ยวกระแสหลักกลับพบว่าส่งผลกระทบอีกด้านนำไปสู่การพัฒนาที่ไม่สมดุล ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย การกระจุกตัวของรายได้ และแรงงานออกนอกพื้นที่ ในขณะเดียวกันกระแสการพัฒนายั่งยืนของโลกในการประชุมสุดยอดสิ่งแวดล้อมโลก หรือ “Earth Summit ” เมื่อปี 2535 ที่เมืองริโอ เดอ จาเนโร ยังมีส่วนผลักดันกระแสการพัฒนาการ 3 ประการ ได้แก่ 1) กระแสความต้องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 2) กระแสความต้องการของตลาดการท่องเที่ยวในการด้านการศึกษาเรียนรู้ และ 3) กระแสความต้องการพัฒนาคน จากกระแสทั้ง 3 ส่งผลให้เกิดการปรับตัวของระบบการท่องเที่ยวในการแสวงหาทางเลือกใหม่(Alternative tourism) (สินธุ์ สโรบล, 2546) จึงทำให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(Ecotourism)เป็นกระแสใหม่ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในช่วงปี พ.ศ.2535-2540 โดยการผลักดันของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวโดยชุมชน(Community Based Tourism) เป็นความพยายามหนึ่งของการสร้างทางเลือกในการพัฒนาประเด็นการท่องเที่ยวที่ให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมทั้งได้รับผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวและมีบทบาทในการกำหนดทิศทางการพัฒนา ประเทศไทยมีการก่อตัวการท่องเที่ยวโดยชุมชนคู่ขนานการท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายใต้การทำงานในระดับพื้นที่ของโครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ(REST)(สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน, 2560) และในหลายปีที่ผ่านมาการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลัง พ.ศ.2558 รัฐบาลประกาศให้เป็นปีท่องเที่ยววิถีไทยนำเสนอภาพลักษณ์มุมมองใหม่ให้นักท่องเที่ยว เริ่มมีการตลาดที่สนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชนหลากหลายช่องทางทำให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นที่รู้จักกว้างขวางขึ้นของนักท่องเที่ยว และในปี พ.ศ. 2560 มีการประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน พ.ศ. 2559-2563 รวมถึงนโยบายรัฐบาลขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เน้นการสร้างรายได้ในชุมชนเลือกสนับสนุนประเด็นการท่องเที่ยวโดยชุมชนทำให้หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานสนับสนุนต่างๆ สถาบันการศึกษา มีแผนงานโครงการสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชน ยิ่งทำให้เกิดกระแสการตื่นตัวของชุมชนในหลายพื้นที่ลุกขึ้นมาพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนมากยิ่งขึ้น
จังหวัดตรังมีชุมชนที่ริเริ่มดำเนินการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 และมีการขยายแนวคิดไปอีกหลายชุมชน ทั้งนี้พบว่ามีทั้งชุมชนที่สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง และบางชุมชนหยุดชะงักรอปรับตัว บ้างยุติการดำเนินงาน และหลายชุมชนให้ความสนใจการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ทั้งนี้แผนงานสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชนของหน่วยงานภาครัฐในระดับจังหวัดเป็นลักษณะกิจกรรม โครงการของแต่ละหน่วยงาน ขาดการบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขาดแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เป็นทิศทาง นโยบายร่วมกันของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคประชาชน ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มีหนึ่งในเครื่องมือสำหรับการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ได้แก่ กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health impact assessment) เป็นรูปแบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพที่มุ่งคาดการณ์ หรือศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดำเนินนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรม ต่อประชาชน เป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมตัดสินใจหรือเสนอทางเลือกสำหรับการดำเนินงานตามแผนงานหรือโครงการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
จากสถานการณ์ดังกล่าวเพื่อให้การกำหนดทิศทางนโยบายและการวางแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดตรังมุ่งเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนป้องกันผลกระทบระยะยาว ผู้วิจัยเห็นจึงเห็นว่าควรใช้กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ(Health impact assessment)มาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน และพัฒนาข้อเสนอแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรังต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) เพื่อศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
- 2) เพื่อเสนอแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (screening) |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. การกลั่นกรองและกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public screening and Public scoping) |
||
วันที่ 5 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
25 | 33 |
3. ลงประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาหมื่นศรี (Assessing) |
||
วันที่ 20 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการลงพื้นที่เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพตามตัวชี้วัด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นข้อมูลผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาหมื่นศรี
|
20 | 18 |
4. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง (Assessing) |
||
วันที่ 9 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 19 |
5. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน (Assessing) |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 19 |
6. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก (Assessing) |
||
วันที่ 20 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อมูลผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก
|
20 | 15 |
7. ทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review) |
||
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการทบทวนร่างรายงานโดยสาธารณะ (Public review ) โดยนักวิจัยจัดเวทีรับฟังความเห็นร่างรายงานผลการประเมินผลกระทบฯ โดยนำเสนอต่อกลุ่มประชุมกลุ่มย่อย ได้แก่ ผู้แทนองค์กรชุมชนท่องเที่ยวและกลุ่มจัดตั้งอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการท่องเที่ยวในชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ สื่อมวลชน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของร่างรายงานการประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน และรับฟังข้อเสนอแนะในการปรับปรุงยุทธศาสตร์ โดยการอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร่างรายงานการประเมินผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
|
25 | 28 |
8. การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง |
||
วันที่ 15 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-คณะทำงานวิจัยและภาคีที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยชุมชนร่วมระดมความคิดเห็น แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง และยกร่างเป็นแผนพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร่างเป็นแผนพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
|
10 | 5 |
9. เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง |
||
วันที่ 25 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 6 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1) เพื่อศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง ตัวชี้วัด : 1) ข้อมูลสถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชน แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้งในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัดอันดามัน และระดับชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2) ตัวชี้วัดการประเมินผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน 3) ผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน 4 ชุมชน |
||||
2 | 2) เพื่อเสนอแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง ตัวชี้วัด : 1) แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ประเมินผลกระทบเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( เชภาดร จันทร์หอม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......