สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 8

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 8
ภายใต้โครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน (13 เขต)
รหัสโครงการ 65-P1-0205
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2567
แหล่งทุน
ไม่ระบุ
งบประมาณ 200,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์ประสานงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนคร
ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.ปทุมทิพย์ ม่านโคกสูง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0921415536
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ supasit.rac@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ ดร.ปทุมทิพย์ ม่านโคกสูง นายศุภศิษฐ์ ราชกรม นายธวัชชัย จันทร์แจ่มศรี นางนลินภัสร์ เอกสุภาพันธ์ นางวิริยา นาคพันธ์ นางสาวมนต์ธนรัตน์ ศรีวัฒน์ธนวงษ์ นางสาวภัทรียากร คะอังกุ นางสาวนงพงา จันทรัตนา
พื้นที่ดำเนินการ เทศบาลนครสกลนคร เทศบาลตำบลธาตุนาเวง เทศบาลตำบลงิ้วด่อน เทศบาลตำบลท่าแร่ และองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร
ละติจูด-ลองจิจูด 17.164613,104.143162place
stars
2. พื้นที่เป้าหมาย
จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
ภาคใต้ place directions
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
2 0.00
3 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (200,000.00 บาท)

stars
4. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันและแก้ปัญหาภาวะคุกคามสุขภาพของประเทศไทย เน้นกรอบการดำเนินภายใต้นโยบาย 3 อ. 2 ส. คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ไม่สูบบุหรี่ และลดการดื่มแอลกอฮอล์ และถูกส่งผ่านให้เกิดกิจกรรมทั้งด้านส่งเสริม ป้องกันและรักษาทั้งในระดับบุคคลและประ
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้กลไกการขับเคลื่อนระดับพื้นที่มีประสิทธิผล ประกอบด้วย 1) การสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพ (Health Literacy) ให้กับภาคีหลักหรือภาคียุทธศาสตร์ โดยเฉพาะคณะกรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบกองทุน และผู้ขอทุนสนับสนุนโครงการ 2) การมีแผนกองทุนที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาและแก้ปัญหาประเด็นสุขภาพของชุมชน โดยเน้นการเพิ่มสุขภาวะและการเพิ่มคุณภาพชีวิตจากการแก้ปัญหาสาเหตุของภาระโรค ความพิการ และการตายก่อนวัยอันควร โดยการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ดีและมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ การลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ (เหล้า บุหรี่ สารเสพติด) สุขภาพจิต ความปลอดภัยทางถนน มลพิษจากสิ่งแวดล้อม และปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ 3) การมีโครงการที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์การจัดการปัญหาในพื้นที่ และมุ่งผลสัมฤทธิ์ต่อสุขภาวะ

stars
6. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
7. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
  1. มีการเก็บข้อมูลโดยแบบสำรวจประเด็นยุทธศาสตร์ด้าน อาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุทางถนน สุขภาพจิต ขยะ สิ่งแวดล้อม โดยแบ่งเป็น 1.1 รายบุคคล จำนวนตำบลละ 200+ คน 1.2 รายครัวเรือน จำนวนตำบลละ 100+ ครัวเรือน 1.3 รายกองทุน จำนวนตำบลละ 1 กองทุน
    1. จัดทำแผนงานขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ในโปรแกรมออนไลน์ อย่างน้อย 2 แผนงานต่อกองทุน (แผนปีงบประมาณ 2566 และปีงบประมาณ 2567)
    2. พัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาวะในโปรแกรมออนไลน์อย่างน้อย 2 โครงการต่อแผน (รวมอย่างน้อย 4 โครงการต่อกองทุน)
    3. ได้รับอนุมัติงบระมาณจากกองทุน และมีการติดตาม ประเมินผลโครงการในโปรแกรมออนไลน์ (รวมอย่างน้อย 4 โครงการต่อกองทุน) กิจกรรมดำเนินการ
    4. ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (พี่เลี้ยงระดับอำเภอ) (ครั้งที่ 1: เมื่อ 9 ธ.ค.65) เพื่อวางแผน เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (Action Plan) คัดเลือกพื้นที่ตำบลเป้าหมาย
    5. คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล 5 ตำบลเป้าหมาย
    6. เก็บข้อมูลระดับตำบลตามแบบสำรวจ พื้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล
    7. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล กลุ่มเป้าหมาย / พื้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล (รวม 4 ครั้ง) 4.1 ครั้งที่ 1 เดือน กุมภาพันธ์ 2566 4.2 ครั้งที่ 2 เดือน มีนาคม 2566 4.3 ครั้งที่ 3 เดือน มิถุนายน 2566 4.4 ครั้งที่ 4 เดือน กันยายน 2566
    8. สรุปบทเรียนการดำเนินงานและวางแนวทางการพัฒนากองทุนตำบลเป้าหมาย 5 ตำบล
0.00
stars
8. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
9. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 1) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 47 32,570.00 2 32,570.00
9 ธ.ค. 65 ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (ครั้งที่ 1) เพื่อวางแผน/เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (action plan) 11 12,770.00 12,770.00
10 - 26 พ.ค. 66 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 3-7) 36 19,800.00 19,800.00
26 ม.ค. 66 คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล (ครั้งที่ 1) 35 37,904.00 37,904.00
72 56,404.00 2 56,404.00
7 ก.พ. 66 คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล (ครั้งที่ 2) 37 18,500.00 18,500.00
21 เม.ย. 66 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 2) 20 10,100.00 10,100.00
20 10,100.00 1 10,100.00

 

stars
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. พี่เลี้ยงที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนฯ รวม 10 คน
stars
11. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ธ.ค. 2565 16:35 น.