แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ Matching Model ตันหยงลุโละ ”
ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
1.นางสาวอธิตา ทิพย์ยอแล๊ะ 2.นางสาวซูนียะห์ วะตะกี 3.นางสาวฟาดารียะ บาราเฮ็ง 4.นางสาวรูไวดา มะมิงเลาะ 5.นางสาวกูมัสวารี เจะมามะ
ชื่อโครงการ Matching Model ตันหยงลุโละ
ที่อยู่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"Matching Model ตันหยงลุโละ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
Matching Model ตันหยงลุโละ
บทคัดย่อ
โครงการ " Matching Model ตันหยงลุโละ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจลงพื้นที่ผู้ผลิตที่สนใจเข้าร่วมเคือยข่ายตลาดสีเขียว
- การดำเนินงานจัดโครงการ (ตลาด onsite และ ตลาดออนไลน์)
- ประชาสัมพันธ์ให้กับผู้บริโภค
- ติดตามและประเมินผล
- ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการภายในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการตลาดสีเขียว
- ประชุมนำเสนอและประชุมระดมความคิดเห็นการพัฒนารูปแบบการจัดการระบบอาหารร่วมกับทีมองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ
- ลงพื้นที่สำรวจผู้ผลิตภายในตำบลและพื้นที่ใกล้เคียง
- วิเคราะห์และสรุปข้อมูลผู้ผลิตและผู้ที่จะเข้าร่วมในตลาดที่ได้จากการสำรวจ
- ออกแบบแผ่นพับและโปสเตอร์
- ชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียว
- อบรมชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียวและอบรมเกี่ยวกับตลาดออนไลน์
- ประชุมทีมงานออบแบบรูปแบบตลาด onsite และตลาดออนไลน์
- เชิญชวนผู้บริโภคทั่วไปทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่มาจับจ่าย
- ตลาด online
- เปิดตลาด onsite
- จัดตั้งตลาด onsite ในงานอาซูรอ ตำบลตันหยงลุโละ
- ทางสนส.ได้ลงพื้นที่เยี่ยมเกษตกรในตำบลตันหยงลุโละ
- การจัดทำวีดีโอโครงการการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชนตันหยงลุโละ
- เปิดตลาด onsite สัปดาห์ที่ 4
- การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมพัฒนาระบบกระจายผลผลิตอาหารชุมชน
- ลงพื้นที่สำรวจผลผลิต
- อบรมเพิ่มศักยภาพเกษตรกรในตำบล
- เกษตรกรตำบลตันหยงลุโละเปิดตลาดขายผักปลอดภัยในตลาดเช้าพื้นที่ใกล้เคียง
- เกษตรกรในพื้นที่ได้ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพเกษตรกรในตำบล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการเปิดช่องทางการขายตลาดออนไลน์ ตลาด onsite
2.ผู้บริโภคได้รับพืชผักปลอดสารพิษ
3.ผู้บริโภคในพื้นที่และนอกพื้นที่ เกิดความสะดวกสบายในการซื้อผักปลอดสารพิษมากยิ่งขึ้น
4.โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้ผักปลอดสารพิษมาประกอบอาหารให้แก่เด็กๆ ได้ทาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการภายในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการตลาดสีเขียว
วันที่ 31 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ปรึกษาหารือออกแบบรูปแบบโครงการตลาดสีเขียว จากการระดมความคิดเห็นของทีมงาน
รูปแบบที่ 1 คือตลาดเคลื่อนที่
รูปแบบที่ 2 คือเปิดตลาดใหม่ " ตลาดสีเขียว ถนนคนเดิน"
รูปแบบที่ 3 คือตลาดออนไลน์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปรูปแบบที่ 2 คือตลาดเคลื่อนที่
5
0
2. ประชุมนำเสนอและประชุมระดมความคิดเห็นการพัฒนารูปแบบการจัดการระบบอาหารร่วมกับทีมองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ
วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
เข้าร่วมประชุมการพัฒนารูปแบบการจัดการระบบอาหารร่วมกับทีมองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมดังนี้
- ทีมงานอบต.
- รพ.สต.
- ผอ.โรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ ผอ.โรงเรียนชุมชนบ้านกรือเซะ
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกรือเซะ
- ผู้นำศาสนา
- ตัวแทนเกษตรกรในพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทางทีมงานนำเสนอรูปแบบตลาดสีเขียว คือตลาด onsite และตลาดออนไลน์ ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบ
ทางผู้เข้าร่วมประชุมมีความสนใจในโครงการตลาดสีเขียวนี้
0
0
3. ลงพื้นที่สำรวจผู้ผลิตภายในตำบลและพื้นที่ใกล้เคียง
วันที่ 5 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่สำรวจเกษตรกรที่ปลูกผักปลอดภัยในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับการตอบรับที่ดีจากเกษตรกร และมีเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการตลาดสีเขียวจำนวน 16 ราย
ได้แก่ หมู่ที่ 1 ตำบลตันหยงลุโละ 1 ราย
หมู่ที่ 2 ตำบลตันหยงลุโละ 4 ราย
หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านกรือเซะ 8 ราย
พื้นที่ใกล้เคียง ตำบลบานา 1 ราย
ตำบลปิยามุมัง 1 ราย
ตำบลคลองมานิง 1 ราย
0
0
4. วิเคราะห์และสรุปข้อมูลผู้ผลิตและผู้ที่จะเข้าร่วมในตลาดที่ได้จากการสำรวจ
วันที่ 10 สิงหาคม 2565 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จากการลงพื้นที่พบว่าเกษตรกรในพื้นที่และพื้นที่ข้างเคียงปลูกผักแบบปลอดสารพิษ และมีความสนใจที่จะเข้าร่วมโครงการตลาดสีเขียว เนื่องจากเกษตรกรมีการส่งผลผลิตตามบ้านเรือน พ่อค้าคนกลางบ้างและร้านค้าในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกษตรกรหมู่ที่ 1 ปลูกตะไคร้
เกษตรกรหมู่ที่ 2 ปลูกตะไคร้ กล้วยน้ำหว้า มะเขือเปราะ อ้อย
เกษตรกรหมู่ที่ 3 ปลูกผักบุ้ง ถั่วฝักยาว ผักกาดขาว กวางตุ้ง ผักสลัด ขึ้นฉ่าย ผักชี พริกขี้หนู
เกษตรกรตำบลคลองมานิง ปลูกแตงกวา
เกษตรกรตำบลบานา ปลูกมะนาว
เกษตรกรตำบลปิยามุมัง ปลูกผักคะน้า ชะอม เห็ดนางฟ้า ข้าวโพดอ่อน ต้นอ่อนทานตะวัน ยาร่วง
0
0
5. ออกแบบแผ่นพับและโปสเตอร์
วันที่ 12 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชาสัมพันธ์สําหรับแผ่นพับที่ออกแบบในปัจจุบันจะเน้นการออกแบบและการผลิตที่ใช้ต้นทุนตํ่าเป็นหลักและการออบแบบสําหรับงานพิมพ์ในรูปแบบหรูหรา เป็นอีกข้อได้เปรียบอีกประเภทหนึ่ง คือ รูปแบบสวย สะดุดตา เป็นงานพิมพ์ขั้นสูง ราคาก็สูงตามไปด้วย องค์ประกอบของภาพโปสเตอร์โฆษณาและแผ่นพับ รูปภาพ พาดหัว พาดหัวรอง ข้อความบอกรายละเอียด ข้อความปิดท้าย ผู้พิมพ์และช่องทางการติดต่อ ทีมงานได้มีการออกแบบแผ่นพับและโปสเตอร์ตลาดสีเขียว โดยมีข้อมูลเป็นการประชาสัมพันธ์การเปิดตลาดและข้อมูลผลผลิตของเกษตรกร เช่น แตงกวา ผักบุ้ง ถั่วฝักยาว คะน้า เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รูปแบบแผ่นพับออกมาสวยงามตามที่ต้องการและเป็นที่น่าดึงดูดให้กับผู้คนที่ได้พบเห็น ข้อความเข้าใจง่าย สีสันสวยงาม สะดุดตา
0
0
6. ชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียว
วันที่ 13 สิงหาคม 2565 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ชี้แจงการดำเนินโครงการให้กับหน่วยงานภาครัฐภายในชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รพ.สต และอบต. ที่มีความประสงค์จะเข้าร่วมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หลังจากเข้าพบ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รพ.สต และอบต. มีความสนใจในโครงการที่ทางทีมงานได้เข้าไปนำเสนอ คือการทำตลาดออนไลน์ และตลาดonsite
0
0
7. อบรมชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียวและอบรมเกี่ยวกับตลาดออนไลน์
วันที่ 19 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียว
- ชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียวให้กับผู้ผลิต
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ
- Work shop กิจกรรมตลาดสีเขียวโดยแลกเปลี่ยนความคิดการทำเกษตร
อบรมเกี่ยวกับตลาดออนไลน์
- สร้างกลุ่มไลน์ สอนการใช้งานและการใช้ social media
- สร้าง connection ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค
- แจกแผ่นพับประกอบการอธิบายรายละเอียดโครงการตลาดสีเขียว
- ขั้นตอนการสแกนเข้ากลุ่มไลน์
- กฏกติกาในการใช้ไลน์ร่วมกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้รับการตอบรับจากเกษตรกรและผู้บริโภคเป็นอย่างดี
- เกษตรกรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดภัยในรูปแบบที่หลากหลาย
- เกษตรกรได้เรียนรู้การใช้ social media ในการโพสขายสินค้าในกลุ่มไลน์
- เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการตลาดสีเขียวได้มีการขยายช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้น
0
0
8. ประชุมทีมงานออบแบบรูปแบบตลาด onsite และตลาดออนไลน์
วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สรุปรูปแบบในการจัดตลาดเป็นตลาด onsite และตลาดออนไลน์
- ให้ผู้ผลิตนอกพื้นที่เข้าร่วมโครงการเดินสำรวจตลาด onsite ในพื้นที่
- สรุปจำนวนผู้สนใจวางขายผลผลิตในตลาด onsite ในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง
- จัดเตรียมพื้นที่ขายในตลาดให้กับผู้ผลิต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เกษตรกรผู้ผลิตให้ความสนใจในรูปแบบการจัดตลาดเป็นตลาด onsite และตลาดออนไลน์
- ได้พื้นที่จัดวางเพื่อขายสินค้าให้กับผู้ผลิตในแผงรักสุขภาพ "โครงการตลาดสีเขียว"
0
0
9. เชิญชวนผู้บริโภคทั่วไปทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่มาจับจ่าย
วันที่ 24 สิงหาคม 2565 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
• โพสต์ทางเฟสบุคเพจ Tanyonglulok เพจ kampung kersik
• ติดโปสเตอร์ตามร้านน้ำชา มัสยิด ร้านขายของชำ
• ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย
• โพสต์ประชาสัมพันธ์ผ่านไลน์กลุ่มที่สร้างไว้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนให้ความสนใจเกี่ยวกับตลาดสีเขียวเป็นอย่างมากที่มีผลผลิตปลอดภัยนำมาจำหน่ายภายในชุมชน และมีผลตอบรับอย่างดีทั้งในตลาดออนไลน์และตลาด onsite
0
0
10. ตลาด online
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ทีมงานได้มีการโพสขายผลผลิตของเกษตรกรในกลุ่มไลน์ตลาดสีเขียวตันหยงลุโละ
- มีการประชาสัมพันธ์การเปิดตลาด onsite ในวันอังคาร เพื่อให้เกษตรกรนำผลผลิตมาวางขายในแผงรักสุขภาพที่ทางทีมได้จัดเตรียมไว้
- หากมีการซื้อขายผ่านกลุ่มไลน์ตลาดสีเขียวตันหยงลุโละ เกษตรกรจะทำการขายและจัดส่งผลผลิตโดยตรงให้กับผู้บริโภค
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เกษตรได้มีช่องทางในการจัดจำหน่ายผลผลิตและมีรายได้เพิ่มขึ้น
- ผู้บริโภคได้เข้าถึงผู้ผลิตโดยตรงและสะดวกมากขึ้น
- ประหยัดเวลาในการออกไปจ่ายตลาด เลือกซื้อผักปลอดสารพิษได้ทุกที่ทุกเวลา
0
0
11. เปิดตลาด onsite
วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ทีมงานได้มีการเปิดแผงรักสุขภาพ ในตลาดนัดมัสยิดกรือเซะ 400 ปี ทุกๆวันอังคารช่วงเช้าเวลา 7.30 - 12.00 น. ภายในแผงได้มีการตกแต่งป้ายผ้าเป็นชื่อแผงรักสุขภาพ และป้ายไวนิลเกี่ยวกับการรณรงค์กินผักปลอดสารพิษ และป้ายโครงการตลาดสีเขียว
- ทางทีมได้โปรโมทโดยการบรรจุผลผลิตถุงละ 10 บาททั้งร้าน เพื่อดึงดูดลูกค้า
- มีการแจกแผ่นพับให้กับผู้บริโภคที่เข้ามาอุดหนุนผักปลอดสารพิษ
- เชิญชวนให้ผู้บริโภคสแกนคิวอาร์โค้ดเข้ากลุ่มไลน์ตลาดสีเขียวตันหยงลุโละ ที่ทางทีมได้จัดทำไว้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้บริโภคมีความสนใจและให้การตอบรับกับแผงรักสุขภาพเป็นอย่างดี
- กลุ่มไลน์ตลาดสีเขียวตันหยงลุโละได้ผู้บริโภคเพิ่ม
- ผู้บริโภคได้ทานผักปลอดสารพิษในราคาที่ถูก หาซื้อได้ง่าย
0
0
12. จัดตั้งตลาด onsite ในงานอาซูรอ ตำบลตันหยงลุโละ
วันที่ 7 กันยายน 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ได้ออกบูธจัดตั้งแผงรักสุขภาพในงานอาซูรอ โดยตกแต่งบูธให้โดดเด่นและน่าสนใจ ใช้รูปแบบ สีสัน การจัดวาง การเลือกอุปกรณ์โต๊ะ ที่สวยและน่าดึงดูด เพิ่มเติมด้วยป้ายไวนิล ที่ทำให้ลูกค้ามองเห็น ได้มีการแพคผลผลิตใส่ถุงพลาสติก โดยจำหน่ายถุงละ 10 บาทและยังมีการเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่วยในการออกบูธ เช่น โพสเตอร์ โบร์ชัวร์ มีจำนวนมากพอที่จะแจกจ่ายให้กับผู้คนที่มาร่วมงาน เพราะมันคือสิ่งที่ช่วยดึงดูดความสนใจได้ในอันดับต้นๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้คนทั้งในและนอกพื้นที่ ที่มาร่วมงานมีให้ความสนใจเกี่ยวกับบูธตลาดสีเขียวเป็นอย่างมาก ราคาสินค้าสามารถจับต้องได้ ทั้งยังสนใจในผลผลิตผักปลอดภัยทีทางทีมงานมาจำหน่าย ผลผลิตหมดทุกอย่างเกินเป้าที่กำหนดไว้
- แผงรักสุขภาพเป็นที่รู้จักของคนนอกพิ้นที่มากขึ้น
0
0
13. ทางสนส.ได้ลงพื้นที่เยี่ยมเกษตกรในตำบลตันหยงลุโละ
วันที่ 8 กันยายน 2565 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทางทีมงานสนส.ร่วมกับทีมงานตำบลตันหยงลุโละ ได้ลงพื้นที่เยี่ยมชมสวนและสำรวจผลผลิตของเกษตรกรในพื้นที่ตำบลตันหยงลุโละ
โดยเข้าเยี่ยมชมผลผลิตเกษตรกรในพื้นที่ 3 ราย ได้แก่
-หมู่ที่ 2 สวนโตะกู มีการปลูก ตะไคร้ กล้วยน้ำหว้า อ้อย มันเทศ มะเขือเปราะ
-หมู่ที่ 3 สวนแบลี มีการปลูก ผักกาด
-หมู่ที่ 3 สวนโครงการส่งเสริมเกษตรกรแปลงใหญ่ มีการปลูก ผักบุ้ง ถั่วฝักยาว พริก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เกษตรกรมีความเชื่อมั่นในทีมงานและโครงการตลาดสีเขียวเพิ่มขี้น
- เกษตรกรมีความกระตือรืนร้นที่จะปลูกพืชผักปลอดสารพิษให้มีความหลากหลายมากขึ้น
0
0
14. การจัดทำวีดีโอโครงการการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชนตันหยงลุโละ
วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทีมงานได้ถ่ายทำวีดีโอนำเสนอโครงการการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชนตันหยงลุโละ
- โดยมีการสัมภาษณ์เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการตลาดสีเขียว
- สัมภาษณ์ผู้บริโภคที่ซื้อผักปลอดภัยจากแผงรักสุขภาพ
- สัมภาษณ์ผอ.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ เรื่องการนำผักปลอดสารพิษมาทำอาหารกลางวันให้เด็กๆได้รับประทาน
- ได้ถ่ายทำบรรยากาศการจำหน่ายสินค้าในแผงรักสุขภาพ ณ ตลาดนัดกรือเซะและในงานอาซูรอ
- ตัดต่อวิดีโอ เพื่อให้ได้ตามที่สนส.ต้องการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- วีดีโอเรียบร้อยสมบูรณ์ตามความต้องการเเละเป็นที่พึงพอใจของทางทีม สนส.เเละทางทีมงานตันหยงลุโละ
- ได้นำเสนอรูปเเบบตลาดสีเขียวและพรีเซนตำบลตันหยงลุโละผ่านทางวีดีโอให้เป็นที่รู้จักอย่างเเพร่หลาย
0
0
15. เปิดตลาด onsite สัปดาห์ที่ 4
วันที่ 20 กันยายน 2565 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
เปิดตลาด onsite วันอังคาร ณ ตลาดนัด 400 ปี โดยตกแต่งบูธให้โดดเด่นและน่าสนใจ ใช้รูปแบบ สีสัน การจัดวาง การเลือกอุปกรณ์โต๊ะ ที่สวยและน่าดึงดูด เพิ่มเติมด้วยป้ายไวนิล ที่ทำให้ลูกค้ามองเห็น ได้มีการบรรจุแพคเกจจิ้งผลผลิตแบบธรรมชาติโดยการใช้ใบตองในการห่อผักและทำเป็นรูปทรงต่าง ๆ และจำหน่ายถุงละ 10 บาท และยังมีการเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่วยในการออกบูธ เช่น โปสเตอร์ แผ่นพับ มีจำนวนมากพอที่จะแจกจ่ายให้กับผู้คนที่มาร่วมงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- แพคเกจจิ้งที่ทำจากใบตองนั้น มีความดึงดูดต่อผู้บริโภคเป็นอย่างมาก
- ผู้คนที่มาจ่ายตลาดให้ความสนใจแผงรักสุขภาพตลาดสีเขียวตันหยงลุโละ เป็นอย่างมาก
- ราคาสินค้าสามารถจับต้องได้ ผลผลิตหมดทุกอย่างเกินเป้าหมายที่กำหนดไว้
- ผู้บริโภคมีความสนใจในผลผลิตผักปลอดภัยที่ทางทีมงานจำหน่าย
0
0
16. การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมพัฒนาระบบกระจายผลผลิตอาหารชุมชน
วันที่ 5 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทางทีมงานตำบลตันหยงลุโละได้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เเละร่วมพัฒนาระบบกระจายผลผลิตอาหารชุมชน ณ.โรงเเรงซีเอสปัตตานี
ทางทีมตำบลตันหยงลุโละได้นำเสนอการขับเคลื่อนกิจกรรมการพัฒนาระบบ กระจายผลผลิตอาหารชุมชนให้กับ ดร.สง่า ดามาพงษ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สสส.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและทิศทางการขับเคลื่อนการกระจายอาหารในชุมชน โดย ดร.สง่า ดามาพงษ์
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สสส.
- ได้แลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นการดําเนินงานกับทางตำบลอื่นๆในเรื่องการพัฒนาระบบการกระจายผลผลิตอาหารชุมชน สู่ความยั่งยืน
- ได้นําเสนอผลการระดมความคิดเห็น สรุป
- ได้แนวคิดจากตำบลต่างๆ ในการปรับปรุง VDO ตามที่อาจารย์ต้องการ
0
0
17. ลงพื้นที่สำรวจผลผลิต
วันที่ 9 ตุลาคม 2565 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ทีมงานลงพื้นที่สำรวจเกษตรกรที่มีผลผลิตพร้อมจัดจำหน่าย พร้อมส่งและพูดคุยเกี่ยวกับการปลูกผักที่หลากหลายเพิ่มขึ้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผักสลัดจากแปลงนายฮาซัน กาเซ็ง มีทางเกษตรอำเภอติดต่อทางโรงแรมซีเอส เพื่อนำไปประกอบอาหารของโรงแรม
เห็ดนางฟ้าจากแปลงนางสาวฟาตีเมาะ เจะยอ นำผลผลิตให้ตัวแทนเกษตรกรที่ต่อยอดตลาดสีเขียวนำไปขายที่ตลาดนัดกรือเซะ
0
0
18. อบรมเพิ่มศักยภาพเกษตรกรในตำบล
วันที่ 12 ตุลาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ทีมงานตำบลตันหยงลุโละ ได้จัดอบรมเพิ่มศักยภาพเกษตรกรในตำบล เพื่อผลผลิตที่ยั่งยืนให้กับผู้ผลิตในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีเกษตรกรหลายรายที่พร้อมจะต่อยอดโครงการการพัฒนารูปแบบตลาดกระจายอาหารชุมชน โดยต่อยอดการเปิดตลาดพื้นที่ใกล้เคียง ทางทีมงานได้ให้การสนับสนุนอุปกรณ์ต่างๆ ในการเปิดตลาด
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
Matching Model ตันหยงลุโละ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( 1.นางสาวอธิตา ทิพย์ยอแล๊ะ 2.นางสาวซูนียะห์ วะตะกี 3.นางสาวฟาดารียะ บาราเฮ็ง 4.นางสาวรูไวดา มะมิงเลาะ 5.นางสาวกูมัสวารี เจะมามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ Matching Model ตันหยงลุโละ ”
ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานีหัวหน้าโครงการ
1.นางสาวอธิตา ทิพย์ยอแล๊ะ 2.นางสาวซูนียะห์ วะตะกี 3.นางสาวฟาดารียะ บาราเฮ็ง 4.นางสาวรูไวดา มะมิงเลาะ 5.นางสาวกูมัสวารี เจะมามะ
ชื่อโครงการ Matching Model ตันหยงลุโละ
ที่อยู่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"Matching Model ตันหยงลุโละ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
Matching Model ตันหยงลุโละ
บทคัดย่อ
โครงการ " Matching Model ตันหยงลุโละ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจลงพื้นที่ผู้ผลิตที่สนใจเข้าร่วมเคือยข่ายตลาดสีเขียว
- การดำเนินงานจัดโครงการ (ตลาด onsite และ ตลาดออนไลน์)
- ประชาสัมพันธ์ให้กับผู้บริโภค
- ติดตามและประเมินผล
- ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการภายในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการตลาดสีเขียว
- ประชุมนำเสนอและประชุมระดมความคิดเห็นการพัฒนารูปแบบการจัดการระบบอาหารร่วมกับทีมองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ
- ลงพื้นที่สำรวจผู้ผลิตภายในตำบลและพื้นที่ใกล้เคียง
- วิเคราะห์และสรุปข้อมูลผู้ผลิตและผู้ที่จะเข้าร่วมในตลาดที่ได้จากการสำรวจ
- ออกแบบแผ่นพับและโปสเตอร์
- ชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียว
- อบรมชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียวและอบรมเกี่ยวกับตลาดออนไลน์
- ประชุมทีมงานออบแบบรูปแบบตลาด onsite และตลาดออนไลน์
- เชิญชวนผู้บริโภคทั่วไปทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่มาจับจ่าย
- ตลาด online
- เปิดตลาด onsite
- จัดตั้งตลาด onsite ในงานอาซูรอ ตำบลตันหยงลุโละ
- ทางสนส.ได้ลงพื้นที่เยี่ยมเกษตกรในตำบลตันหยงลุโละ
- การจัดทำวีดีโอโครงการการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชนตันหยงลุโละ
- เปิดตลาด onsite สัปดาห์ที่ 4
- การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมพัฒนาระบบกระจายผลผลิตอาหารชุมชน
- ลงพื้นที่สำรวจผลผลิต
- อบรมเพิ่มศักยภาพเกษตรกรในตำบล
- เกษตรกรตำบลตันหยงลุโละเปิดตลาดขายผักปลอดภัยในตลาดเช้าพื้นที่ใกล้เคียง
- เกษตรกรในพื้นที่ได้ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพเกษตรกรในตำบล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการเปิดช่องทางการขายตลาดออนไลน์ ตลาด onsite 2.ผู้บริโภคได้รับพืชผักปลอดสารพิษ 3.ผู้บริโภคในพื้นที่และนอกพื้นที่ เกิดความสะดวกสบายในการซื้อผักปลอดสารพิษมากยิ่งขึ้น 4.โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้ผักปลอดสารพิษมาประกอบอาหารให้แก่เด็กๆ ได้ทาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการภายในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการตลาดสีเขียว |
||
วันที่ 31 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำปรึกษาหารือออกแบบรูปแบบโครงการตลาดสีเขียว จากการระดมความคิดเห็นของทีมงาน รูปแบบที่ 1 คือตลาดเคลื่อนที่ รูปแบบที่ 2 คือเปิดตลาดใหม่ " ตลาดสีเขียว ถนนคนเดิน" รูปแบบที่ 3 คือตลาดออนไลน์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปรูปแบบที่ 2 คือตลาดเคลื่อนที่
|
5 | 0 |
2. ประชุมนำเสนอและประชุมระดมความคิดเห็นการพัฒนารูปแบบการจัดการระบบอาหารร่วมกับทีมองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำเข้าร่วมประชุมการพัฒนารูปแบบการจัดการระบบอาหารร่วมกับทีมองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมดังนี้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทางทีมงานนำเสนอรูปแบบตลาดสีเขียว คือตลาด onsite และตลาดออนไลน์ ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบ ทางผู้เข้าร่วมประชุมมีความสนใจในโครงการตลาดสีเขียวนี้
|
0 | 0 |
3. ลงพื้นที่สำรวจผู้ผลิตภายในตำบลและพื้นที่ใกล้เคียง |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่สำรวจเกษตรกรที่ปลูกผักปลอดภัยในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับการตอบรับที่ดีจากเกษตรกร และมีเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการตลาดสีเขียวจำนวน 16 ราย
|
0 | 0 |
4. วิเคราะห์และสรุปข้อมูลผู้ผลิตและผู้ที่จะเข้าร่วมในตลาดที่ได้จากการสำรวจ |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2565 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำจากการลงพื้นที่พบว่าเกษตรกรในพื้นที่และพื้นที่ข้างเคียงปลูกผักแบบปลอดสารพิษ และมีความสนใจที่จะเข้าร่วมโครงการตลาดสีเขียว เนื่องจากเกษตรกรมีการส่งผลผลิตตามบ้านเรือน พ่อค้าคนกลางบ้างและร้านค้าในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกษตรกรหมู่ที่ 1 ปลูกตะไคร้ เกษตรกรหมู่ที่ 2 ปลูกตะไคร้ กล้วยน้ำหว้า มะเขือเปราะ อ้อย เกษตรกรหมู่ที่ 3 ปลูกผักบุ้ง ถั่วฝักยาว ผักกาดขาว กวางตุ้ง ผักสลัด ขึ้นฉ่าย ผักชี พริกขี้หนู เกษตรกรตำบลคลองมานิง ปลูกแตงกวา เกษตรกรตำบลบานา ปลูกมะนาว เกษตรกรตำบลปิยามุมัง ปลูกผักคะน้า ชะอม เห็ดนางฟ้า ข้าวโพดอ่อน ต้นอ่อนทานตะวัน ยาร่วง
|
0 | 0 |
5. ออกแบบแผ่นพับและโปสเตอร์ |
||
วันที่ 12 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชาสัมพันธ์สําหรับแผ่นพับที่ออกแบบในปัจจุบันจะเน้นการออกแบบและการผลิตที่ใช้ต้นทุนตํ่าเป็นหลักและการออบแบบสําหรับงานพิมพ์ในรูปแบบหรูหรา เป็นอีกข้อได้เปรียบอีกประเภทหนึ่ง คือ รูปแบบสวย สะดุดตา เป็นงานพิมพ์ขั้นสูง ราคาก็สูงตามไปด้วย องค์ประกอบของภาพโปสเตอร์โฆษณาและแผ่นพับ รูปภาพ พาดหัว พาดหัวรอง ข้อความบอกรายละเอียด ข้อความปิดท้าย ผู้พิมพ์และช่องทางการติดต่อ ทีมงานได้มีการออกแบบแผ่นพับและโปสเตอร์ตลาดสีเขียว โดยมีข้อมูลเป็นการประชาสัมพันธ์การเปิดตลาดและข้อมูลผลผลิตของเกษตรกร เช่น แตงกวา ผักบุ้ง ถั่วฝักยาว คะน้า เป็นต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรูปแบบแผ่นพับออกมาสวยงามตามที่ต้องการและเป็นที่น่าดึงดูดให้กับผู้คนที่ได้พบเห็น ข้อความเข้าใจง่าย สีสันสวยงาม สะดุดตา
|
0 | 0 |
6. ชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียว |
||
วันที่ 13 สิงหาคม 2565 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำชี้แจงการดำเนินโครงการให้กับหน่วยงานภาครัฐภายในชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รพ.สต และอบต. ที่มีความประสงค์จะเข้าร่วมโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังจากเข้าพบ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รพ.สต และอบต. มีความสนใจในโครงการที่ทางทีมงานได้เข้าไปนำเสนอ คือการทำตลาดออนไลน์ และตลาดonsite
|
0 | 0 |
7. อบรมชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียวและอบรมเกี่ยวกับตลาดออนไลน์ |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียว
- ชี้แจงการดำเนินโครงการตลาดสีเขียวให้กับผู้ผลิต
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ
- Work shop กิจกรรมตลาดสีเขียวโดยแลกเปลี่ยนความคิดการทำเกษตร
อบรมเกี่ยวกับตลาดออนไลน์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
8. ประชุมทีมงานออบแบบรูปแบบตลาด onsite และตลาดออนไลน์ |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
9. เชิญชวนผู้บริโภคทั่วไปทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่มาจับจ่าย |
||
วันที่ 24 สิงหาคม 2565 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ• โพสต์ทางเฟสบุคเพจ Tanyonglulok เพจ kampung kersik
• ติดโปสเตอร์ตามร้านน้ำชา มัสยิด ร้านขายของชำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนให้ความสนใจเกี่ยวกับตลาดสีเขียวเป็นอย่างมากที่มีผลผลิตปลอดภัยนำมาจำหน่ายภายในชุมชน และมีผลตอบรับอย่างดีทั้งในตลาดออนไลน์และตลาด onsite
|
0 | 0 |
10. ตลาด online |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
11. เปิดตลาด onsite |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำทีมงานได้มีการเปิดแผงรักสุขภาพ ในตลาดนัดมัสยิดกรือเซะ 400 ปี ทุกๆวันอังคารช่วงเช้าเวลา 7.30 - 12.00 น. ภายในแผงได้มีการตกแต่งป้ายผ้าเป็นชื่อแผงรักสุขภาพ และป้ายไวนิลเกี่ยวกับการรณรงค์กินผักปลอดสารพิษ และป้ายโครงการตลาดสีเขียว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
12. จัดตั้งตลาด onsite ในงานอาซูรอ ตำบลตันหยงลุโละ |
||
วันที่ 7 กันยายน 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำได้ออกบูธจัดตั้งแผงรักสุขภาพในงานอาซูรอ โดยตกแต่งบูธให้โดดเด่นและน่าสนใจ ใช้รูปแบบ สีสัน การจัดวาง การเลือกอุปกรณ์โต๊ะ ที่สวยและน่าดึงดูด เพิ่มเติมด้วยป้ายไวนิล ที่ทำให้ลูกค้ามองเห็น ได้มีการแพคผลผลิตใส่ถุงพลาสติก โดยจำหน่ายถุงละ 10 บาทและยังมีการเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่วยในการออกบูธ เช่น โพสเตอร์ โบร์ชัวร์ มีจำนวนมากพอที่จะแจกจ่ายให้กับผู้คนที่มาร่วมงาน เพราะมันคือสิ่งที่ช่วยดึงดูดความสนใจได้ในอันดับต้นๆ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
13. ทางสนส.ได้ลงพื้นที่เยี่ยมเกษตกรในตำบลตันหยงลุโละ |
||
วันที่ 8 กันยายน 2565 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำทางทีมงานสนส.ร่วมกับทีมงานตำบลตันหยงลุโละ ได้ลงพื้นที่เยี่ยมชมสวนและสำรวจผลผลิตของเกษตรกรในพื้นที่ตำบลตันหยงลุโละ โดยเข้าเยี่ยมชมผลผลิตเกษตรกรในพื้นที่ 3 ราย ได้แก่ -หมู่ที่ 2 สวนโตะกู มีการปลูก ตะไคร้ กล้วยน้ำหว้า อ้อย มันเทศ มะเขือเปราะ -หมู่ที่ 3 สวนแบลี มีการปลูก ผักกาด -หมู่ที่ 3 สวนโครงการส่งเสริมเกษตรกรแปลงใหญ่ มีการปลูก ผักบุ้ง ถั่วฝักยาว พริก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
14. การจัดทำวีดีโอโครงการการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชนตันหยงลุโละ |
||
วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทีมงานได้ถ่ายทำวีดีโอนำเสนอโครงการการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชนตันหยงลุโละ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
15. เปิดตลาด onsite สัปดาห์ที่ 4 |
||
วันที่ 20 กันยายน 2565 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำเปิดตลาด onsite วันอังคาร ณ ตลาดนัด 400 ปี โดยตกแต่งบูธให้โดดเด่นและน่าสนใจ ใช้รูปแบบ สีสัน การจัดวาง การเลือกอุปกรณ์โต๊ะ ที่สวยและน่าดึงดูด เพิ่มเติมด้วยป้ายไวนิล ที่ทำให้ลูกค้ามองเห็น ได้มีการบรรจุแพคเกจจิ้งผลผลิตแบบธรรมชาติโดยการใช้ใบตองในการห่อผักและทำเป็นรูปทรงต่าง ๆ และจำหน่ายถุงละ 10 บาท และยังมีการเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่วยในการออกบูธ เช่น โปสเตอร์ แผ่นพับ มีจำนวนมากพอที่จะแจกจ่ายให้กับผู้คนที่มาร่วมงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
16. การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมพัฒนาระบบกระจายผลผลิตอาหารชุมชน |
||
วันที่ 5 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทางทีมงานตำบลตันหยงลุโละได้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เเละร่วมพัฒนาระบบกระจายผลผลิตอาหารชุมชน ณ.โรงเเรงซีเอสปัตตานี ทางทีมตำบลตันหยงลุโละได้นำเสนอการขับเคลื่อนกิจกรรมการพัฒนาระบบ กระจายผลผลิตอาหารชุมชนให้กับ ดร.สง่า ดามาพงษ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
17. ลงพื้นที่สำรวจผลผลิต |
||
วันที่ 9 ตุลาคม 2565 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำทีมงานลงพื้นที่สำรวจเกษตรกรที่มีผลผลิตพร้อมจัดจำหน่าย พร้อมส่งและพูดคุยเกี่ยวกับการปลูกผักที่หลากหลายเพิ่มขึ้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผักสลัดจากแปลงนายฮาซัน กาเซ็ง มีทางเกษตรอำเภอติดต่อทางโรงแรมซีเอส เพื่อนำไปประกอบอาหารของโรงแรม เห็ดนางฟ้าจากแปลงนางสาวฟาตีเมาะ เจะยอ นำผลผลิตให้ตัวแทนเกษตรกรที่ต่อยอดตลาดสีเขียวนำไปขายที่ตลาดนัดกรือเซะ
|
0 | 0 |
18. อบรมเพิ่มศักยภาพเกษตรกรในตำบล |
||
วันที่ 12 ตุลาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำทีมงานตำบลตันหยงลุโละ ได้จัดอบรมเพิ่มศักยภาพเกษตรกรในตำบล เพื่อผลผลิตที่ยั่งยืนให้กับผู้ผลิตในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีเกษตรกรหลายรายที่พร้อมจะต่อยอดโครงการการพัฒนารูปแบบตลาดกระจายอาหารชุมชน โดยต่อยอดการเปิดตลาดพื้นที่ใกล้เคียง ทางทีมงานได้ให้การสนับสนุนอุปกรณ์ต่างๆ ในการเปิดตลาด
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
Matching Model ตันหยงลุโละ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( 1.นางสาวอธิตา ทิพย์ยอแล๊ะ 2.นางสาวซูนียะห์ วะตะกี 3.นางสาวฟาดารียะ บาราเฮ็ง 4.นางสาวรูไวดา มะมิงเลาะ 5.นางสาวกูมัสวารี เจะมามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......