แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง ”
อำเภอเมือง 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ และ ตำบลปากน้ำ
หัวหน้าโครงการ
ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ
ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง
ที่อยู่ อำเภอเมือง 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ และ ตำบลปากน้ำ จังหวัด ระนอง
รหัสโครงการ 61-ข-051 เลขที่ข้อตกลง 61-ข-051
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 เมษายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง จังหวัดระนอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมือง 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ และ ตำบลปากน้ำ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง
บทคัดย่อ
โครงการ " การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมือง 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ และ ตำบลปากน้ำ รหัสโครงการ 61-ข-051 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยโครงการศูนย์ประสานงานวิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.) มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพ และยกระดับการทำงานทางวิชาการด้านการสร้างเสริมสุขภาวะ ตลอดจนการสร้างกระบวนการพัฒนาโยบายสาธารณะในระดับภาค จังหวัด และระดับพื้นที่ รวมถึงการสร้างกระบวนการสร้างการทำงานแบบเครือข่าย อันนำไปสู่การผลักดันให้เกิดข้อเสนอเชิงนโยบาย รูปแบบ (Model) การทำงาน การสร้างเครือข่าย การเสริมสร้างศักยภาพคนทำงาน และผลงานด้านองค์ความรู้วิชาการที่นำไปสู่การแก้ปัญหาต่างๆในพื้นที่ภาคใต้อย่างกว้างขวาง (สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559)
ในปีงบประมาณ 2561 ศวสต. ได้กำหนดเป้าหมายดำเนินการในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางมนุษย์ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ โดยความร่วมมือกับเครือข่ายคือสำนักหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 11 และภาคีเครือข่ายอื่นที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน โดยใช้กลไกกองทุนสุขภาพตำบลและใช้เครื่องมือเรื่องการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเชิงสร้างสรรค์ กระบวนสมัชชาสุขภาพ และธรรมนูญสุขภาพ โดยโซนภาคใต้ตอนบน ประกอบด้วย ความมั่นคงทางมนุษย์ เด็ก เยาวชน ครอบครัว (ภาวะคุกคาม) และผู้ด้อยโอกาส แรงงานนอกระบบ เกิดกลไกการทำงานร่วมกันระหว่างภาคีต่างๆ โดย 1) ยกระดับแผนสุขภาพตำบลที่จัดทำโดยกองทุนสุขภาพตำบลไปสู่แผนสุขภาพระดับอำเภอให้สอดคล้องกับการดำเนินงานเขตสุขภาพระดับอำเภอ (DHS/DHB) 2) บูรณาการกลไกการทำงานของ สสส .สปสช และ สช เข้ากับคณะกรรมการคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ (District Health Board) 3) เพื่มขีดความสามารถของทีมพี่เลี้ยง พื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อการขยายผลให้ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น 4) ผลักดันให้เกิดยุทธศาสตร์ด้านปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด เอดส์ อุติเหตุ เด็ก เยาวชน ในระดับพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ของเครือข่ายคนทำงาน และ 5) สนับสนุนกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ระดับจังหวัดในพื้นที่นำร่องภาคใต้ตอนบน (สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559)
ภายใต้โครงการดังกล่าวของ ศวสต. จังหวัดระนองได้จัดทำโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง โดยมีวัตถุประสงค์หลัก ได้แก่ 1) เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านแรงงานนอกระบบและปัจจัยเสี่ยง 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 3) เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่ และ 4) เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพพร้อมสื่อสารสู่สังคม โดยมีระยะเวลาดำเนินงานโครงการประมาณ 15 เดือน ตั้งแต่ มกราคม พ.ศ.2561 – มีนาคม พ.ศ. 2562 ดำเนินการในพื้นที่ 4 ตำบลของอำเภอเมืองระนอง ได้แก่ ตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ และ ตำบลปากน้ำ (สมาคมชุมชนสร้างสุขจังหวัดระนอง, 2559)
เพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการข้างต้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องมีกลไกติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการอย่างเป็นระบบ ผู้วิจัยจึงได้จัดทำโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนองขึ้น โดยการประยุกต์ใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment : HIA) 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) กลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (Public screening) 2) กำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) 3) ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) และ 4) ทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review) มาทำการประเมินผลกระทบของโครงการ เพื่อหนุนเสริมการทำงานโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง ให้สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธ์ตามวัตถุประสงค์ของโครงการต่อไป นอกจากนี้ ผลการวิจัยนี้จะสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการแรงงานนอกระบบของจังหวัดระนองต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (Public screening)
- เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)
- เพื่อประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1) ทบทวนเอกสาร (Documentary review) แผนงาน/โครงการหลักและโครงการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
วันที่ 31 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับแรงงานนอกระบบ และแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง
- ศึกษารายละเอียดของโครงการและกิจกรรมสำคัญที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
- สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เกิดการทบทวนรายละเอียดโครงการ กิจกรรม รวมถึงการทบทวนนิยามความหมายของแรงงานนอกระบบ
- คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบ ในบริบทของโครงการ
20
1
2. 2) สัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) หรือทำ Focus group ผู้รับผิดชอบโครงการย่อยและพี่เลี้ยงจังหวัด
วันที่ 31 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1) ประสานพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง 2) สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับผิดชอบโครงการ (indept interview) 3) สนทนากลุ่ม (Focus group)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1) ทำให้ทราบบริบทของโครงการ และสภาพปัญหาของการดำเนินงานโครงการ
2) คณะทำงานได้ทบทวน
20
12
3. 3) วิเคราะห์ข้อมูลและคาดการณ์ผลกระทบเบื้องต้นที่เกิดจากโครงการ
วันที่ 31 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1) รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรงงานนอกระบบ
2) รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบริบทพื้นที่ และข้อมูลแรงงานนอกระบบของพื้นที่ศึกษา
3) ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1) ทำให้ทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรงงานนอกระบบ
2) ทราบข้อมูลบริบทพื้นที่ และสภาพปัญหาของการดำเนินงานโครงการ
2) ทราบสภาพปัญหาของโครงการ และแนวทางแก้ไขเพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1
1
4. 1) วิเคราะห์กิจกรรมสำคัญของโครงการจากการทบทวนเอกสาร
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
1) ประสานงานพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมกิจกรรม
2) ดำเนินการ Public Screening
3) สรุปกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ทราบข้อมูลสภาพปัญหาและข้อจำกัดของการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ
- Stake holder เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหาแรงงานนอกระบบ
0
1
5. 4) ติดตาม ข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบของพื้นที่จังหวัดระนอง
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1) ประสานผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อสำรวจข้อมูลแรงงานนอกระบบพื้นที่เป้าหมายเพิ่มเติม
2) สรุปข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบพื้นที่เป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
1
1
6. 2) เวทีรับฟังความคิดเห็น Public Screening and Scoping
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1) ประสานงานกับผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนจัดกิจกรรม
2) จัดเตรียมพื้นที่และประสานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
3) ดำเนินการจัดกิจกรรมเวทีรับฟังความคิดเห็น เพื่อนำเสนอร่างตัวชี้วัดที่จัดทำขึ้น
4) สรุปกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ภาคีเครื่อข่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบตรงกัน
- มีการกำหนดแผนงานกิจกรรมร่วมกัน
- เกิดแนวทางในการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมาย
50
50
7. 3) จัดทำร่างตัวชี้วัด และเครื่องมือในการสำรวจข้อมูลผลกระทบทางสุขภาพของโครงการ
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1) ทราบปัญหาการกำหนดกิจกรรมสำคัญของโครงการ ตัวชี้วัด และข้อจำกัดการดำเนินโครงการ
2) ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมรับรู้และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอโครงการ
0
0
8. 5) จัดประชุมถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานทีมประเมิน
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบ
- วางแผนการดำเนินงานในขั้นตอนต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีแผนดำเนินงานในขั้นตอนต่อไป
3
1
9. ุ6) จัดทำข้อเสนอแนะโครงการ
วันที่ 31 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สรุปข้อมูลแรงงานนอกระบบพื้นที่เป้าหมาย
- จัดทำข้อเสนอเพื่อแนะนำโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีข้อเสนอเพื่อแนะนำโครงการใน phase ต่อไป
1
1
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (Public screening)
ตัวชี้วัด : 1. มีข้อมูลรายละเอียดโครงการ/แผนการดำเนินงาน (Full proposal) และโครงการอื่นๆที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน
2. มีข้อมูลผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นเบื้องต้น
2
เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)
ตัวชี้วัด : 1. กิจกรรมสำคัญของโครงการมีความครอบคลุม มีตัวชี้วัดที่ชัดเจน และมีข้อมูลข้อจำกัดการดำเนินโครงการ
2. มีการกำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/ส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ (Stakeholder analysis) ครบทุกภาคส่วน
3. มี mapping กิจกรรมหลักของโครงการและปัจจัยกำหนดสุขภาพ (Social Determinant of Health; SDH) ที่ส่งผลกระทบถึงสุขภาวะทั้ง 4 มิติ
4. มีข้อมูลสรุป SDH ที่สำคัญจัดทำร่างตัวชี้วัดการประเมิน
5. ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมรับรู้และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอร่างตัวชี้วัดตาม SDH ที่จัดทำขึ้น
6. มีเครื่องมือรวบรวมข้อมูลตามตัวที่วัดที่กำหนด
3
เพื่อประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing)
ตัวชี้วัด : 1. มีข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ ตามตัวชี้วัดและเครื่องมือที่กำหนด
2. มีการวิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำร่างรายงานการประเมินผลกระทบซึ่ง ซึ่งครอบคลุม
2.1 ตัวชี้วัดหลักของโครงการ และปัจจัยกำหนดสุขภาพ
2.2 วิธีการขับเคลื่อนการผ่านกองทุนตำบล คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ(DHB) คณะกรรมการระดับจังหวัด
(PHB) และคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป)
2.3 มีข้อมูลปัจจัยความสำเร็จ อุปสรรค และโอกาสการพัฒนาโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง จังหวัด ระนอง
รหัสโครงการ 61-ข-051
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง ”
อำเภอเมือง 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ และ ตำบลปากน้ำหัวหน้าโครงการ
ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ
ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง
ที่อยู่ อำเภอเมือง 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ และ ตำบลปากน้ำ จังหวัด ระนอง
รหัสโครงการ 61-ข-051 เลขที่ข้อตกลง 61-ข-051
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 เมษายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง จังหวัดระนอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมือง 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ และ ตำบลปากน้ำ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง
บทคัดย่อ
โครงการ " การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมือง 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ และ ตำบลปากน้ำ รหัสโครงการ 61-ข-051 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยโครงการศูนย์ประสานงานวิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.) มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพ และยกระดับการทำงานทางวิชาการด้านการสร้างเสริมสุขภาวะ ตลอดจนการสร้างกระบวนการพัฒนาโยบายสาธารณะในระดับภาค จังหวัด และระดับพื้นที่ รวมถึงการสร้างกระบวนการสร้างการทำงานแบบเครือข่าย อันนำไปสู่การผลักดันให้เกิดข้อเสนอเชิงนโยบาย รูปแบบ (Model) การทำงาน การสร้างเครือข่าย การเสริมสร้างศักยภาพคนทำงาน และผลงานด้านองค์ความรู้วิชาการที่นำไปสู่การแก้ปัญหาต่างๆในพื้นที่ภาคใต้อย่างกว้างขวาง (สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559)
ในปีงบประมาณ 2561 ศวสต. ได้กำหนดเป้าหมายดำเนินการในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางมนุษย์ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ โดยความร่วมมือกับเครือข่ายคือสำนักหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 11 และภาคีเครือข่ายอื่นที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน โดยใช้กลไกกองทุนสุขภาพตำบลและใช้เครื่องมือเรื่องการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเชิงสร้างสรรค์ กระบวนสมัชชาสุขภาพ และธรรมนูญสุขภาพ โดยโซนภาคใต้ตอนบน ประกอบด้วย ความมั่นคงทางมนุษย์ เด็ก เยาวชน ครอบครัว (ภาวะคุกคาม) และผู้ด้อยโอกาส แรงงานนอกระบบ เกิดกลไกการทำงานร่วมกันระหว่างภาคีต่างๆ โดย 1) ยกระดับแผนสุขภาพตำบลที่จัดทำโดยกองทุนสุขภาพตำบลไปสู่แผนสุขภาพระดับอำเภอให้สอดคล้องกับการดำเนินงานเขตสุขภาพระดับอำเภอ (DHS/DHB) 2) บูรณาการกลไกการทำงานของ สสส .สปสช และ สช เข้ากับคณะกรรมการคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ (District Health Board) 3) เพื่มขีดความสามารถของทีมพี่เลี้ยง พื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อการขยายผลให้ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น 4) ผลักดันให้เกิดยุทธศาสตร์ด้านปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด เอดส์ อุติเหตุ เด็ก เยาวชน ในระดับพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ของเครือข่ายคนทำงาน และ 5) สนับสนุนกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ระดับจังหวัดในพื้นที่นำร่องภาคใต้ตอนบน (สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559)
ภายใต้โครงการดังกล่าวของ ศวสต. จังหวัดระนองได้จัดทำโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง โดยมีวัตถุประสงค์หลัก ได้แก่ 1) เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านแรงงานนอกระบบและปัจจัยเสี่ยง 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 3) เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่ และ 4) เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพพร้อมสื่อสารสู่สังคม โดยมีระยะเวลาดำเนินงานโครงการประมาณ 15 เดือน ตั้งแต่ มกราคม พ.ศ.2561 – มีนาคม พ.ศ. 2562 ดำเนินการในพื้นที่ 4 ตำบลของอำเภอเมืองระนอง ได้แก่ ตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ และ ตำบลปากน้ำ (สมาคมชุมชนสร้างสุขจังหวัดระนอง, 2559) เพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการข้างต้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องมีกลไกติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการอย่างเป็นระบบ ผู้วิจัยจึงได้จัดทำโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนองขึ้น โดยการประยุกต์ใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment : HIA) 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) กลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (Public screening) 2) กำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) 3) ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) และ 4) ทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review) มาทำการประเมินผลกระทบของโครงการ เพื่อหนุนเสริมการทำงานโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง ให้สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธ์ตามวัตถุประสงค์ของโครงการต่อไป นอกจากนี้ ผลการวิจัยนี้จะสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการแรงงานนอกระบบของจังหวัดระนองต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (Public screening)
- เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)
- เพื่อประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1) ทบทวนเอกสาร (Documentary review) แผนงาน/โครงการหลักและโครงการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน |
||
วันที่ 31 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 1 |
2. 2) สัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) หรือทำ Focus group ผู้รับผิดชอบโครงการย่อยและพี่เลี้ยงจังหวัด |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1) ประสานพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง 2) สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับผิดชอบโครงการ (indept interview) 3) สนทนากลุ่ม (Focus group) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1) ทำให้ทราบบริบทของโครงการ และสภาพปัญหาของการดำเนินงานโครงการ 2) คณะทำงานได้ทบทวน
|
20 | 12 |
3. 3) วิเคราะห์ข้อมูลและคาดการณ์ผลกระทบเบื้องต้นที่เกิดจากโครงการ |
||
วันที่ 31 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1) รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรงงานนอกระบบ 2) รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบริบทพื้นที่ และข้อมูลแรงงานนอกระบบของพื้นที่ศึกษา 3) ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1) ทำให้ทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรงงานนอกระบบ 2) ทราบข้อมูลบริบทพื้นที่ และสภาพปัญหาของการดำเนินงานโครงการ 2) ทราบสภาพปัญหาของโครงการ และแนวทางแก้ไขเพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
1 | 1 |
4. 1) วิเคราะห์กิจกรรมสำคัญของโครงการจากการทบทวนเอกสาร |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ1) ประสานงานพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมกิจกรรม 2) ดำเนินการ Public Screening 3) สรุปกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 1 |
5. 4) ติดตาม ข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบของพื้นที่จังหวัดระนอง |
||
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1) ประสานผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อสำรวจข้อมูลแรงงานนอกระบบพื้นที่เป้าหมายเพิ่มเติม 2) สรุปข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบพื้นที่เป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
1 | 1 |
6. 2) เวทีรับฟังความคิดเห็น Public Screening and Scoping |
||
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1) ประสานงานกับผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนจัดกิจกรรม 2) จัดเตรียมพื้นที่และประสานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 3) ดำเนินการจัดกิจกรรมเวทีรับฟังความคิดเห็น เพื่อนำเสนอร่างตัวชี้วัดที่จัดทำขึ้น 4) สรุปกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 50 |
7. 3) จัดทำร่างตัวชี้วัด และเครื่องมือในการสำรวจข้อมูลผลกระทบทางสุขภาพของโครงการ |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1) ทราบปัญหาการกำหนดกิจกรรมสำคัญของโครงการ ตัวชี้วัด และข้อจำกัดการดำเนินโครงการ
|
0 | 0 |
8. 5) จัดประชุมถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานทีมประเมิน |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
3 | 1 |
9. ุ6) จัดทำข้อเสนอแนะโครงการ |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
1 | 1 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (Public screening) ตัวชี้วัด : 1. มีข้อมูลรายละเอียดโครงการ/แผนการดำเนินงาน (Full proposal) และโครงการอื่นๆที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน 2. มีข้อมูลผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นเบื้องต้น |
||||
2 | เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) ตัวชี้วัด : 1. กิจกรรมสำคัญของโครงการมีความครอบคลุม มีตัวชี้วัดที่ชัดเจน และมีข้อมูลข้อจำกัดการดำเนินโครงการ 2. มีการกำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/ส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ (Stakeholder analysis) ครบทุกภาคส่วน 3. มี mapping กิจกรรมหลักของโครงการและปัจจัยกำหนดสุขภาพ (Social Determinant of Health; SDH) ที่ส่งผลกระทบถึงสุขภาวะทั้ง 4 มิติ 4. มีข้อมูลสรุป SDH ที่สำคัญจัดทำร่างตัวชี้วัดการประเมิน 5. ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมรับรู้และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอร่างตัวชี้วัดตาม SDH ที่จัดทำขึ้น 6. มีเครื่องมือรวบรวมข้อมูลตามตัวที่วัดที่กำหนด |
||||
3 | เพื่อประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) ตัวชี้วัด : 1. มีข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ ตามตัวชี้วัดและเครื่องมือที่กำหนด 2. มีการวิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำร่างรายงานการประเมินผลกระทบซึ่ง ซึ่งครอบคลุม 2.1 ตัวชี้วัดหลักของโครงการ และปัจจัยกำหนดสุขภาพ 2.2 วิธีการขับเคลื่อนการผ่านกองทุนตำบล คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ(DHB) คณะกรรมการระดับจังหวัด (PHB) และคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป) 2.3 มีข้อมูลปัจจัยความสำเร็จ อุปสรรค และโอกาสการพัฒนาโครงการ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง จังหวัด ระนอง
รหัสโครงการ 61-ข-051
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......