การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าว โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง
เพื่อทบทวนรายละเอียดของแผนงาน โครงการ กิจกรรม ของโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง และทบทวนโครงการลักษณะที่คล้ายกัน เพื่อคาดการณ์ผลกระทบเบื้องต้นจากแผนงาน/โครงการ และใช้ผลการประเมินในการปรับแผนงาน /โครงการ ให้เหมาะสมมากขึ้น
- สรุปข้อมูลแรงงานนอกระบบพื้นที่เป้าหมาย
- จัดทำข้อเสนอเพื่อแนะนำโครงการ
- มีข้อเสนอเพื่อแนะนำโครงการใน phase ต่อไป
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ
- ขาดข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการวางแผนพัฒนาแรงงานนอกระบบ
-
- ศึกษาข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมาย
เพื่อทบทวนรายละเอียดของแผนงาน โครงการ กิจกรรม ของโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง และทบทวนโครงการลักษณะที่คล้ายกัน เพื่อคาดการณ์ผลกระทบเบื้องต้นจากแผนงาน/โครงการ และใช้ผลการประเมินในการปรับแผนงาน /โครงการ ให้เหมาะสมมากขึ้น
- วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบ
- วางแผนการดำเนินงานในขั้นตอนต่อไป
- มีแผนดำเนินงานในขั้นตอนต่อไป
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ
- ขาดข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการจัดทำแผนพัฒนาแรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมาย
-
- เร่งดำเนินการศึกษาข้อมูลแรงงานนอกระบบพื้นที่เป้าหมาย
เพื่อทบทวนรายละเอียดของแผนงาน โครงการ กิจกรรม ของโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง และทบทวนโครงการลักษณะที่คล้ายกัน เพื่อคาดการณ์ผลกระทบเบื้องต้นจากแผนงาน/โครงการ และใช้ผลการประเมินในการปรับแผนงาน /โครงการ ให้เหมาะสมมากขึ้น
-
1) ทราบปัญหาการกำหนดกิจกรรมสำคัญของโครงการ ตัวชี้วัด และข้อจำกัดการดำเนินโครงการ
2) ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมรับรู้และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอโครงการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
- ขาดข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง
-
- ควรทำการศึกษาข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง และข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบของพื้นที่เป้าหมาย
เพื่อทบทวนรายละเอียดของแผนงาน โครงการ กิจกรรม ของโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง และทบทวนโครงการลักษณะที่คล้ายกัน เพื่อคาดการณ์ผลกระทบเบื้องต้นจากแผนงาน/โครงการ และใช้ผลการประเมินในการปรับแผนงาน /โครงการ ให้เหมาะสมมากขึ้น
1) ประสานงานกับผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนจัดกิจกรรม 2) จัดเตรียมพื้นที่และประสานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 3) ดำเนินการจัดกิจกรรมเวทีรับฟังความคิดเห็น เพื่อนำเสนอร่างตัวชี้วัดที่จัดทำขึ้น 4) สรุปกิจกรรม
- ภาคีเครื่อข่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบตรงกัน
- มีการกำหนดแผนงานกิจกรรมร่วมกัน
- เกิดแนวทางในการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมาย
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
1) คณะทำงาน 15 คน โดยประกอบไปด้วยผู้แทนจาก 6 ภาคส่วน คือ (1) ภาคราชการ
(2) ภาควิชาการ
(3) ภาคประชาสังคม
(4) ภาคเอกชน
(5) ภาคสื่อมวลชน
(6) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
7) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองระนอง 21 คน
8) ผู้แทนกองทุนฯ 7 กองทุนๆละ 2 คน รวม 14 คน
- ขาดข้อมูลสถานการณ์ปัญหาแรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมาย
-
- ทำการศึกษาข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มเติม
เพื่อทบทวนรายละเอียดของแผนงาน โครงการ กิจกรรม ของโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง และทบทวนโครงการลักษณะที่คล้ายกัน เพื่อคาดการณ์ผลกระทบเบื้องต้นจากแผนงาน/โครงการ และใช้ผลการประเมินในการปรับแผนงาน /โครงการ ให้เหมาะสมมากขึ้น
1) ประสานผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อสำรวจข้อมูลแรงงานนอกระบบพื้นที่เป้าหมายเพิ่มเติม 2) สรุปข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบพื้นที่เป้าหมาย
-
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ
- ไม่มีข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบของพื้นที่เป้าหมาย
-
- ควรเร่งดำเนินการศึกษาข้อมูลสถานการณ์แรงงานนอกระบบของพื้นที่เป้าหมาย
-
1) ประสานงานพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมกิจกรรม
2) ดำเนินการ Public Screening
3) สรุปกิจกรรม
- ได้ทราบข้อมูลสภาพปัญหาและข้อจำกัดของการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ
- Stake holder เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหาแรงงานนอกระบบ
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ
- ขาดข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบในพื้นที่ทำการศึกษา
- ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาสถานการณ์ปัญหาแรงงานนอกระบบในพื้นที่ทำการศึกษาเพิ่มเติม
- ควรทำการศึกษาสถานการณ์ปัญหาแรงงานนอกระบบของพื้นที่เป้าหมายให้ชัดเจน ก่อนวางแผนแก้ไขปัญหาดังกล่าว
เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลและคาดการณ์ผลกระทบเบื้องต้นที่เกิดจากโครงการ
1) รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรงงานนอกระบบ
2) รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบริบทพื้นที่ และข้อมูลแรงงานนอกระบบของพื้นที่ศึกษา
3) ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล
1) ทำให้ทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรงงานนอกระบบ
2) ทราบข้อมูลบริบทพื้นที่ และสภาพปัญหาของการดำเนินงานโครงการ
2) ทราบสภาพปัญหาของโครงการ และแนวทางแก้ไขเพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ
- ขาดข้อมูลแรงงานนอกระบบในพื้นที่ทำการศึกษา ทำให้ไม่สามารถวางแผนดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- แนวทางแก้ไข ควรทำการศึกษาข้อมูลสภานการณ์แรงงานนอกระบบของพื้นที่ก่อนวางแผนดำเนินงาน
- ควรกำหนดให้พื้นที่ศึกษาข้อมูลและระบุสถานการณ์ปัญหาให้ชัดเจน ก่อนสนับสนุนโครงการ
-
เพื่อทบทวนรายละเอียดของแผนงาน โครงการ กิจกรรม ของโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง และทบทวนโครงการลักษณะที่คล้ายกัน เพื่อคาดการณ์ผลกระทบเบื้องต้นจากแผนงาน/โครงการ และใช้ผลการประเมินในการปรับแผนงาน /โครงการ ให้เหมาะสมมากขึ้น
1) ประสานพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง 2) สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับผิดชอบโครงการ (indept interview) 3) สนทนากลุ่ม (Focus group)
1) ทำให้ทราบบริบทของโครงการ และสภาพปัญหาของการดำเนินงานโครงการ 2) คณะทำงานได้ทบทวน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้เข้าร่วมจำนวน 12 คน ประกอบด้วย ตัวแทนจาก
1) คณะทำงาน
2) หน่วยงานราชการ
3) หน่วยงานภาคประชาสังคม
- ขาดข้อมูลตั้งต้นในการวิเคราะห์ภาพรวมของโครงการ เช่น ข้อมูลสภาพปัญหา และสถานการณ์ปัญหาของแรงงานนอกระบบในจังหวัดระนอง
- กลุ่มเป้าหมาย ยังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่ม
- แนวทางแก้ไข ควรศึกษาข้อมูลภาพรวมของโครงการ และสถานการณ์แรงงานนอกระบบของพื้นที่ศึกษา เพิ่มเติม และพิจารณากลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มเข้าร่วมกิจกรรม
ข้อมูลรายละเอียดของโครงการ
เพื่อทบทวนเอกสาร (Documentary review)
- ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับแรงงานนอกระบบ และแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง
- ศึกษารายละเอียดของโครงการและกิจกรรมสำคัญที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
- สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ
- เกิดการทบทวนรายละเอียดโครงการ กิจกรรม รวมถึงการทบทวนนิยามความหมายของแรงงานนอกระบบ
- คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบ ในบริบทของโครงการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
นายพิเชตวุฒิ นิลละออ
มีข้อมูลกิจกรรมที่ทำ แต่ขาดข้อมูลรายละเอียดของโครงการและรายละเอียดกิจกรรมสำคัญ ซึ่งส่งผลต่อการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ดังนั้นพื้นที่ควรมีการดำเนินการเขียนโครงการเพื่อแสดงให้เห็นสถานการณ์ปัญหา ข้อมูลเชิงสถิติต่างๆ เกี่ยวกับแรงงานนอกระบบจังหวัดสุราษฎร์ธานี และรายละเอียดอื่นๆ
-
- ทบทวนความหมายของแรงงานนอกระบบ
- รวบรวมข้อมูลแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง
- เพิ่มเติมรายละเอียดโครงการลดปัจจัยเสี่ยงแรงงานนอกระบบ