สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ กองทุนฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (กลไกจังหวัด) ”

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

หัวหน้าโครงการ
ดร.ศิริพร เพ็งจันทร์,

ชื่อโครงการ กองทุนฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (กลไกจังหวัด)

ที่อยู่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ 65-00336 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"กองทุนฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (กลไกจังหวัด) จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กองทุนฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (กลไกจังหวัด)



บทคัดย่อ

โครงการ " กองทุนฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (กลไกจังหวัด) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ 65-00336 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,000,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล

จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของภาคใต้ ห่างจากกรุงเทพฯโดยทางรถยนต์ ประมาณ 645 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 13,079.61 ตารางกิโลเมตร หรือ 8,181,076 ไร่ มีเนื้อที่มากเป็นอันดับ 6 ของประเทศ และมีพื้นที่มากที่สุดในภาคใต้ ฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความยาวประมาณ 156 กิโลเมตร มีเกาะขนาดใหญ่ ได้แก่ เกาะสมุย เนื้อที่ 227.25 ตารางกิโลเมตร เกาะพะงัน มีเนื้อที่ 194.2 ตารางกิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีหมู่เกาะอ่างทอง และเกาะบริวาร 42 เกาะ เกาะสมุยเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัด ห่างจากฝั่งทะเลประมาณ 20 กิโลเมตร และห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 80 กิโลเมตร มีจำนวนครัวเรือน 344,766 ครัวเรือน จำนวนประชากร 1,068,960 คน ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
สภาพปัญหาและสถานการณ์การขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานีเป็นจังหวัดที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในทุกด้านโดยเฉพาะเศรษฐกิจมีความมั่นคง ประชากรจึงมีรายได้ค่อนข้างสูง (คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดสุราษฎร์ธานี, 2557) จากการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ขนาดใหญ่ตามอัตราประชากร อัตราของความเจริญทางเศรษฐกิจของสุราษฎร์ธานี เมื่ออาศัยความร่วมมือ การมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ การพัฒนาองค์ความรู้อยู่เสมอ การพัฒนาการประกอบอาชีพ การดูแลสุขภาพ และการหาปัจจัย 4 ที่จะช่วยให้มีชีวิตของประชาชนดีขึ้น สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ธานี 20 ปี ในยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และคุณภาพชีวิตเพื่อให้ความสมบูรณ์สร้างสังคมน่าอยู่ที่เน้นประชาชนมีสุขภาวะ ทั้งนี้ด้วยการการพัฒนาการมีส่วนร่วมและความสามารถในการพึ่งพาตนเองของชุมชนได้ อีกทั้งเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในฐานะจังหวัดที่มีขนาดใหญ่ของภาคใต้ มีอาณาเขตติดชายฝั่งทะเลอ่าวไทยอุดมไปด้วยทรัพยากรทางธรรมชาติมีพื้นที่การเกษตรขนาดใหญ่ มีประมงชายฝั่งเป็นดินแดนที่มีอารยธรรมอันสำคัญมาแต่โบราณ อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย จากความหลากหลายทางกายภาพของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประกอบกับความหลากหลายทางด้านทรัพยากรและวัฒนธรรม อาทิ แหล่งโบราณคดี โบราณสถานโบราณวัตถุ วิถีชุมขน วิถีชาติพันธุ์ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปัญญาด้านการสร้างที่อยู่อาศัย การผลิตสิ่งทอ พื้นถิ่น อาหารพื้นถิ่น และยารักษาโรค อันเกิดจากพัฒนาการที่มีความสืบเนื่องมายาวนาน นับพันปีของชุมชนทำให้สุราษฎร์ธานีเป็นพื้นที่โดดเด่นมีศักยภาพที่สามารถพัฒนาและการจัดการการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ในเส้นทางอารยธรรมศรีวิชัย ตามนโยบายประชารัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อผลักดันให้มีการกระจายโอกาสและรายได้สู่แหล่งท่องเที่ยวที่มีความหลากหลาย สุราษฎร์ธานีมีเขตการปกครองทั้งหมด 19 อำเภอ 131 ตำบล 1,075 หมู่บ้าน มีพื้นที่ 8,057,168 ไร่ เป็นพื้นที่ทำการเกษตร ร้อยละ 45.58 ของพื้นที่จังหวัด โดยมีพื้นที่ปลูกยางพารามากที่สุด จำนวน 2,879,223 ไร่ ปาล์มน้ำมัน 1,306,973 ไร่ และรองลงมา คือ มะพร้าว ไม้ผล (ทุเรียน เงาะ มังคุด ลองกอง) ข้าว กาแฟ และสับปะรด ตามลำดับ และเนื้อที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรอื่นๆ โดยมีครัวเรือนที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรด้านพืช 148,367 ครัวเรือน ด้านประมง 12,120 ฟาร์มและด้านปศุสัตว์ 51,530 ครัวเรือน (สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี, 2562) จากพื้นที่ทำการเกษตร พบว่า จากพื้นที่ร้อยละ 45.58 หรือ คิดเป็น 3,672,457 ไร่ เมื่อหักลบพื้นที่ปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันแล้ว คงเหลือพื้นที่ทำการเกษตรที่สามารถเป็นแหล่งอาหารได้เพียง 513,739 ไร่ หรือคิดเป็น ร้อยละ 6.38 ของพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีเท่านั้น จึงมีความจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการพื้นที่อย่างเหมาะสม ผ่านทางสถาบันทางการเกษตร เช่น สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน องค์กรเกษตรกรและจำนวนสมาชิกกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์ กลุ่มที่ส่งเสริมการตั้งกลุ่มโดยสถานีพัฒนาที่ดินสุราษฎร์ธานี กลุ่มเกษตรกรจัดทำแปลงขยายพันธุ์ข้าวที่ขึ้นทะเบียนกับกรมการข้าว ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วพื้นที่จำนวน 2,021 กลุ่ม/ องค์กร (สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี, 2562) แต่ทั้งนี้ กลุ่มที่มีการดำเนินงานอยู่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม/ เป็นองค์กรที่เน้นทำการเกษตรเพื่อตอบสนองภาคเศรษฐกิจ มีเพียงส่วนเสริมเท่านั้นที่มีการดำเนินการเกี่ยวกับการเกษตรที่สามารถเป็นแหล่งอาหารให้กับชุมชนได้ ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าว ย่อมมีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทางด้านความมั่นคงทางอาหาร ทั้งยามปกติและยามวิกฤติ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจจังหวัด ในช่วงการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (โรคโควิด-๑๙) ที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2563 พบว่า เกิดภาวะวิกฤติทางด้านความมั่นคงทางอาหาร วิกฤติปากท้อง วิกฤติของความสัมพันธ์ของผู้คน โดนเฉพาะในเขตพื้นที่เมือง ซึ่งปัญหามิได้มีเพียงแค่ในรูปแบบไม่มีอาหารที่เพียงพอเท่านั้น แต่ยังมีปัญหาในรูปแบบของการขาดการเข้าถึงอาหาร ไม่ว่าจะเป็นอาหารขาดแคลนทั้งวัตถุดิบและอาหารสำเร็จ เนื่องจาก ระบบขนส่งที่หยุดชะงัก โรงงานไม่สามารถดำเนินการได้ตามปกติ ร้านสะดวกซื้อต้องปิดตัวบางช่วงเวลา เป็นต้น และปัญหาการว่างงานจนส่งผลกระทบให้ขาดเงินสำหรับซื้อหาอาหาร เป็นต้น หากพิจารณาถึงชุมชนชนบทในช่วงวิกฤติดังกล่าว พบว่า ค่อนข้างมีผลกระทบที่น้อยกว่าพื้นที่เขตเมือง เนื่องจากในชุมชนชนบทประชาชนมีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านอาหารได้มากกว่า เช่น มีพื้นที่แหล่งอาหารเป็นของตนเอง สามารถผลิตอาหารได้ตลอดทั้งปี มีระบบและวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนอาหาร มีการรวมกลุ่มเพื่อผลิตและจำหน่ายอาหาร เป็นต้น จากวิกฤติโควิดตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงระลอกปัจจุบันที่ทำให้เศรษฐกิจสุราษฎร์ธานีที่พึ่งพาการท่องเที่ยวและการเกษตรตกฮวบอย่างรวดเร็ว เมื่อธุรกิจโรงแรม ร้านอาหาร สถานบริการปิดตัวลง กระทบต่อแรงงานท้องถิ่นอย่างมาก ทั้งคนชั้นกลางและแรงงานมีหนี้สินพุ่งขึ้นอย่างรวดเร็ว ธุรกิจออนไลน์เกิดการเฟื่องฟู สร้างรายได้นับแสนบาทให้กับผู้ขาย ผู้ส่งของจากบริการออนไลน์ อย่างไรก็ดีเศรษฐกิจออนไลน์ไม่ได้จำกัดเฉพาะสุราษฎร์ธานีแต่เชื่อมไปถึงจังหวัดใกล้เคียงอื่นๆ แต่ผู้ที่จะค้าขายออนไลน์ได้ต้องมีเงินทุนสำรองเพียงพอ ยากที่เกษตรกรหรือคนจนเมืองจะเข้าถึงตลาดในฐานะผู้ค้าได้ ผลกระทบไม่ได้จำกัดอยู่ที่ภาคชุมชนเมืองแต่ลามไปถึงชนบท ตัวชี้วัดอยู่ที่ตลาดในเมืองและท้องถิ่นที่เผชิญภาวะซบเซา ฐานเศรษฐกิจของเมืองและชนบทของเมืองที่พึ่งพาตลาดจึงตกต่ำ
อย่างไรก็ตาม แม้อัตราแนวโน้มผู้ติดเชื้อของจังหวัดสุราษฎร์ธานีติดเชื้อสะสมลดลง แต่สภาพทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตของประชาชน สภาพทางสังคม ความสัมพันธ์ของประชาชนในครัวเรือน มีแนวโน้มเกิดปัญหาและผลกระทบมากมายอย่างเห็นได้ชัด โดยผลกระทบนั้นมีผลกระทบต่อสถานการณ์ปากท้องเป็นเรื่องใหญ่ที่สำคัญมากซึ่งเป็นผลกระทบต่อเนื่องระยะยาวและมีแนวโน้มที่มีความรุนแรงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การฆ่าตัวตายของประชาชนที่มีความขัดสนทางรายได้ การปิดกิจการของร้านค้า ร้านอาหาร หรือ ความซบเซาของห้างร้านต่าง ๆ การตกงานจำนวนมากของประชาชนที่ประกอบอาชีพหาเช้ากินค่ำ เป็นต้น
เป็นที่ประจักษ์ชัดแล้วว่า วิกฤติจากการระบาดของโควิดเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของโลกและประเทศไทยอย่างถึงรากถึงโคน โลกจะไม่เหมือนเดิม ดังที่เรียกว่า “ปรกติใหม่” (New Normal) นักนโยบาย นักวิชาการ ต่างพากันคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงเชิงมหภาค หรือ มองเป็นผลกระทบชั่วคราวในภาคเมือง การเน้นการปัญหาเฉพาะหน้า หากแต่ผลกระทบดังกล่าวจะส่งผลสะเทือนไปถึงชนบท ซึ่งยังไม่มีการทำความเข้าใจถ่องแท้ว่า ชุมชนท้องถิ่นกำลังเผชิญอะไรในวิกฤติโควิด พวกเขาตั้งรับปรับตัวอย่างไร ภาวะปรกติใหม่ของชุมชนจะเป็นอย่างไร และพวกเขาจะมีส่วนกำหนดอนาคตข้างหน้าได้เพียงไหน การเริ่มต้นทำความเข้าใจต่อสถานการณ์เชิงประเด็นของชุมชนท้องถิ่นเพื่อให้รู้แน่ชัดว่าชุมชนกำลังเผชิญอะไร จะเปลี่ยนอย่างไร และทิศทางที่สร้างความเข้มแข็งชุมชนในยุคหลังโควิดจะเป็นอย่างไร ซึ่งผลการสังเคราะห์นี้ยังเป็นภาพปรากฏการณ์เพียงบางส่วนในสถานการณ์ที่เริ่มก่อตัว เพื่อนำไปสู่การแสวงหาภาวะ “ปรกติใหม่ (New Normal)” แบบไหนที่จะก้าวพ้นจากโครงสร้างปัญหาเดิมทั้งความเหลื่อมล้ำไม่เป็นธรรมไปสู่การสร้างความเข้มแข็งยั่งยืนให้กับชุมชนท้องถิ่นที่เป็นฐานรากของสังคม การสะท้อนสถานการณ์เชิงพื้นที่ในประเด็นของปัญหาเพื่อนำไปสู่การค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาจึงเป็นสิ่งจำเป็น
สุราษฎร์ธานีมุ่งหวังต้องการให้ประชาชนภายในจังหวัดมีการยกระดับคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย 1. ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร 2. ประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์ ฯ 3. ประเด็นความมั่นคงทางสุขภาพ และ 4. ประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ใน 4 ประเด็นหลัก คือความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางสุขภาพ และความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข
  2. เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนเรียนรู้ และบูรณาการกลไกทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน วิชาการ และสื่อสารมวลชนในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ทั้งระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และภาคใต้สู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การประชุมปรึกษาหารือ “โครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด” ครั้งที่ 1/2565
  2. การประชุมเรื่องกรอบแนวทางในการดำเนินโครงการ และการหาแนวทางการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนโครงการฯของคณะทำงาน ครั้งที่ 2/2565
  3. การประชุมเพื่อกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน และกำกับทิศทางการทำงาน ครั้งที่ 3/2565
  4. การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง วิทยาการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA Intensive Workshop) รอบที่2
  5. การประชุมวางแผนการทำงานและการวางโครงสร้างการทำงานโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ในระดับจังหวัด ครั้งที่ 4/2565
  6. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “เพื่อวางแผนการทำงานและการวางโครงสร้างการทำงานโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด” ครั้งที่ 5/2565
  7. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ติดตามผลการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ระยะที่ 1” ครั้งที่ 6/2565
  8. การประชุมเพื่อปรึกษาหารือบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด "กองทุนส่งเสริมสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานี" ครั้งที่ 7/2565
  9. ประชุมวางแผนขับเคลื่อนโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด ครั้งที่ 8/2565
  10. การประชุมเพื่อเตรียมการจัดงาน Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคมเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะชาวสุราษฎร์ธานี” ครั้งที่ 9/2565
  11. ประชุมเตรียมการจัดงาน Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคม เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี” ครั้งที่ 10/2565
  12. การประชุมนำเสนอความคืบหน้าการเตรียมงาน Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคม เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี” ครั้งที่ 11/2565
  13. กิจกรรม Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคม เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี”
  14. การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง นโยบายสาธารณะและการมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะ
  15. การประชุมทีมสื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 1/2565
  16. การประชุมเพื่อวางแผนการขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 12/2565
  17. อบรมเชิงปฏิบัติการ นักสื่อสารสร้างสรรค์สังคมสุขภาวะ
  18. ประชุมเตรียมงานสมัชชาเมืองคนดีสุขถ้วนหน้า (ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร)
  19. การประชุมเพื่อเตรียมงาน เวทีถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยน "ถอยหลังเเลหน้าการเขยื้อนเคลื่อนภาคีเครือข่ายสุขภาวะสุราษฎร์ธานี" ครั้งที่ 13/2565
  20. งานสมัชชาเมืองคนดีสุขถ้วนหน้า ครั้งที่ 1 “สุราษฎร์ธานีสู่ครัวโลก :เพียงพอ ปลอดภัย สมวัย สร้างเศรษฐกิจฐานราก”
  21. เวทีถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยน “ถอยหลังแลหน้า การเขยื้อนเคลื่อนภาคีเครือข่ายสุขภาวะสุราษฎร์ธานี”
  22. การประชุมทีมอนุฯสื่อสารสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 2/2565
  23. การประชุมวางแผนการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข" ครั้งที่ 1/2565
  24. การประชุมติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในโครงการ ศวนส
  25. การประชุมทีมอนุฯสื่อสารสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 3/2565
  26. การประชุมติดตามการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข" ครั้งที่ 2/2565
  27. การประชุมหารือการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข" ร่วมกับพื้นองค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ย
  28. การประชุมวางแนวทางการจัดการข้อมูลทีมอนุฯสื่อสารสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 4/2565
  29. การประชุม เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันต่อการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี รูปแบบ “กองทุนเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี”
  30. การประชุมหารือแนวทางการขอรับงบประมาณสนับสนุนโครงการจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี
  31. การประชุมหารือแนวทางการขอรับงบประมาณสนับสนุนโครงการและการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงโครงการเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี
  32. การประชุมวางระบบฐานข้อมูลโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  33. การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายวิดีทัศน์ ที่มาโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  34. การประชุมคณะทำงานหารือตัวชี้วัด/และเตรียมงานเวทีพัฒนาพี่เลี้ยงและเปิดชี้แจงการขอรับงบสนับสนุนโครงการฯ
  35. การประชุมติดตามการดำเนินงานบูรณากลไกความร่วมมือเพื่อการเสริมสร้างสุขภาวะระดับจังหวัด
  36. การประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผนขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายภาคใต้แห่งความสุข (งานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13) และนำเสนอความก้าวหน้าโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.)
  37. การประชุมถ่ายทำวิดีทัศน์สวัสดีปีใหม่โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  38. การประชุมเตรียมงานเวทีพัฒนาพี่เลี้ยงและเวทีชี้แจงการขอรับงบสนับสนุนโครงการฯ
  39. เวทีพัฒนาพี่เลี้ยงโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  40. เวทีชี้แจงการขอรับงบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  41. การประชุมหารือแนวทางการจ้างที่ปรึกษาโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  42. การศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเด็น “ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่เครื่องมือการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม” ภายใต้กิจกรรมห้องปฏิบัติการสังคมเพื่อการเรียนรู้ : นโยบายสาธารณะเพื่อสร้างความร่วมมือแบบประชารัฐ ภายใต้ชุดวิชานโยบายสาธารณะและการสร้างความร
  43. กิจกรรมลงพื้นที่เพื่อเก็บภาพและวิดีโอเพื่อจัดทำสื่อในประเด็น 5 อ (ประเด็นอาหาร)
  44. การประชุมเพื่อหารือความร่วมมือการบูรณาการกองทุนเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานีกับภาคเอกชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี
  45. การประชุมเพื่อหารือและร่วมออกแบบแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  46. กิจกรรมชวน อสม. มา “บำรุงใจ” รุ่นที่1
  47. การประชุมเพื่อหารือแนวทางขับเคลื่อนแผนงานวิจัย “มะขามเตี้ยแห่งความสุข” ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
  48. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  49. การประชุมติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนแผนงานในโรงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.)
  50. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการมะขามเตี้ยแห่งความสุข
  51. เวทีอบรมการพัฒนาพี่เลี้ยง โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  52. กิจกรรม ชวน อสม. มา “บำรุงใจ” รุ่นที่ 2
  53. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนมะขามเตี้ยแห่งความสุข ครั้งที่4
  54. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  55. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  56. กิจกรรม วันจบปี จบเดือน รดน้ำผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 (มะขามเตี้ยแห่งความสุข)
  57. กิจกรรมศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปฏิญญาอ่าวลันตาการขับเคลื่อนสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
  58. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  59. เวทีพัฒนาการเขียนโครงการและการติดตามประเมินผล
  60. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนมะขามเตี้ยแห่งความสุข ทีมจัดการขยะ
  61. ประชุมถอดบทเรียนศึกษาดูงานเกาะลันตาและมะขามเตี้ยแห่งความสุข
  62. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการมะขามเตี้ยแห่งความสุข
  63. กิจกรรมจัดทำคลิปประเด็น 5 อ (ออกกำลังกาย)
  64. ประชุมร่วม อบจ หารือแนวทางขับเคลื่อนโครงการฯ
  65. ประชุมจัดทำแผนข้อมูลโครงการฯ บรรจุเข้าแผนท้องถิ่น (อบจ.)
  66. ประชุมเตรียมงานกิจกรรมบูรณาการกลไกจังหวัดฯ
  67. กิจกรรมเตรียมงานกิจกรรมบูรณาการกลไกจังหวัดฯ
  68. กิจกรรมงานบูรณาการกลไกจังหวัดฯ
  69. ประชุมออกแบบแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี
  70. กิจกรรมจัดทำสื่อสุขภาวะกลไกจังหวัดระดับพื้นที่ ตอน วิสาหกิจกลุ่มเลี้ยงโคเพื่อพัฒนาสายพันธุ์ตำบลมะขามเตี้ย
  71. ประชุมคณะทำงานพัฒนากลไกจังหวัดระดับพื้นที่
  72. ประชุม กสส.
  73. ร่วมประชุมหมู่บ้าน (หมู่ที่ 5 ต.มะขามเตี้ย)
  74. กิจกรรม ร่วมกับ รพสต.มะขามเตี้ย
  75. เวที MOU เขาพัง เพื่อสุขภาวะที่ดีีด้วยกลไก พชต.
  76. ประชุมขับเคลื่อนชมรมผู้สูงอายุ
  77. กสส ร่วมงานสมัชชาจังหวัด
  78. ถอดบทเรียน โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี
  79. กิจกรรมจัดทำสื่อสุขภาวะกลไกจังหวัดระดับพื้นที่ ตอน กลุ่มเลี้ยงผึ่งโพรงไทยและปลูกพืชสมุนไพร ต.มะขามเตี้ย
  80. กิจกรรมถอดบทเรียน “กสส” สู่การขับเคลื่อนบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี วันที่ 5 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ เรือนไทยในบาง รีสอร์ท จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  81. การประชุมกลไกบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ระดับพื้นที่
  82. งานสร้างสุขภาคใต้ครั้งที่13 "ภาคใต้้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ"
  83. การประชุมกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะคณะระดับพื้นที่
  84. การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ กลไกบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะระดับพื้นที่
  85. การประชุมกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะคณะระดับพื้นที่
  86. เเนวทางขับเคลื่อน กลไกบูรณาการพื้นที่สู่กลไกบูรณาการจังหวัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ผลลัพธ์ระยะสั้น : ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามประเด็นปัญหาสำคัญของภาคใต้ 4 เรื่องหลักคือเรื่อง (ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางสุขภาพ ความมั่นคงทางมนุษย์ และความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) เข้าใจและสามารถออกแบบการทำงานร่วมกันในการขับเคลื่อนนโยบายทั้งในประเด็นและข้ามประเด็นมากขึ้น /ผลลัพธ์ระยะกลาง : ผลการขับเคลื่อนนโยบายของแต่ละประเด็นทำให้เกิดความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ขับเคลื่อนนโยบายมีสุขภาวะดีขึ้น
  2. วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ผลลัพธ์ระยะสั้น : ภาคีเครือข่ายเกิดกระบวนการเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการวิ เคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ปัญหา การจัดแผนการขับเคลื่อน การสร้างปฏิบัติการขับเคลื่อน และการติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาของภาคีที่เกี่ยวข้อง /ผลลัพธ์ระยะกลาง : ชุดความรู้ที่เกิดจากการขับเคลื่อนถูกนำไปใช้ ในการขยายผลในการสื่อสารเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายได้
  3. วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 ผลลัพธ์ระยะสั้น : กลุ่มภาคีที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพมีความรู้และเข้าใจกระบวนการทำงานตามขั้นตอนนโยบายและสามารถนำความรู้ไปใช้ในการขับเคลื่อนงานตามประเด็นที่ตนเองรับผิดชอบได้ /ผลลัพธ์ระยะกลาง : เกิดความยั่งยืนในการขับเคลื่อนงานตามกระบวนการนโยบาย เพื่อสร้างผลกระทบของการดำเนินงานในวงกว้างมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประชุมปรึกษาหารือ “โครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด” ครั้งที่ 1/2565

วันที่ 20 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อสร้างแนวทางการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการทำงาน

  • photo
  • photo รายงานการประชุมครั้งที่ 1-2565.pdfรายงานการประชุมครั้งที่ 1-2565.pdf

 

11 11

2. การประชุมเรื่องกรอบแนวทางในการดำเนินโครงการ และการหาแนวทางการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนโครงการฯของคณะทำงาน ครั้งที่ 2/2565

วันที่ 7 กรกฎาคม 2565 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อหาแนวทางการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการทำงาน

  • photo รายงานการประชุมครั้งที่ 2-2565.pdfรายงานการประชุมครั้งที่ 2-2565.pdf

 

7 7

3. การประชุมเพื่อกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน และกำกับทิศทางการทำงาน ครั้งที่ 3/2565

วันที่ 15 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อหาเป้าหมายการทำงานร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป้าหมายการทำงาน

  • photo รายงานการประชุมครั้งที่ 3-2565.pdfรายงานการประชุมครั้งที่ 3-2565.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

8 8

4. การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง วิทยาการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA Intensive Workshop) รอบที่2

วันที่ 18 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การอบรมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องมือ วิทยาการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ

  • photo กำหนดการอบรม HIA 65_รอบที่ 2.pdfกำหนดการอบรม HIA 65_รอบที่ 2.pdf

 

1 1

5. การประชุมวางแผนการทำงานและการวางโครงสร้างการทำงานโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ในระดับจังหวัด ครั้งที่ 4/2565

วันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อวางแผนการขับเคลื่อนโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการขับเคลื่อนโครงการ

  • photo เอกสารประกอบการประชุมครั้งที่4-2565.pdfเอกสารประกอบการประชุมครั้งที่4-2565.pdf
  • photo รายงานการประชุมครั้งที่ 4-2565.pdfรายงานการประชุมครั้งที่ 4-2565.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

10 10

6. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “เพื่อวางแผนการทำงานและการวางโครงสร้างการทำงานโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด” ครั้งที่ 5/2565

วันที่ 17 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ“ทำแผนและวางโครงสร้างการทำงาน”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการทำงานและโครงสร้างการทำงานโครงการ

  • photo รายงานการประชุมครั้งที่ 5-2565.pdfรายงานการประชุมครั้งที่ 5-2565.pdf
  • photo
  • photo
  • photo

 

8 8

7. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ติดตามผลการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ระยะที่ 1” ครั้งที่ 6/2565

วันที่ 17 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การติดตามผลการดำเนินงานโครงการ ระยะที่1”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการขับเคลื่อนโครงการ

  • photo รายงานการประชุมครั้งที่ 6-2565.pdfรายงานการประชุมครั้งที่ 6-2565.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

11 11

8. การประชุมเพื่อปรึกษาหารือบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด "กองทุนส่งเสริมสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานี" ครั้งที่ 7/2565

วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อหาแนวทางการบูรณาการการทำงานร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการทำงาน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

8 8

9. ประชุมวางแผนขับเคลื่อนโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด ครั้งที่ 8/2565

วันที่ 23 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อวางแผนการขับเคลื่อนโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการขับเคลื่อนโครงการ

  • photo รายงานการประชุมครั้งที่ 8-2565.pdfรายงานการประชุมครั้งที่ 8-2565.pdf
  • photo

 

4 4

10. การประชุมเพื่อเตรียมการจัดงาน Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคมเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะชาวสุราษฎร์ธานี” ครั้งที่ 9/2565

วันที่ 28 สิงหาคม 2565 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อเตรียมงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการเตรียมงาน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo รายงานการประชุมครั้งที่ 9-2565.pdfรายงานการประชุมครั้งที่ 9-2565.pdf

 

12 12

11. ประชุมเตรียมการจัดงาน Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคม เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี” ครั้งที่ 10/2565

วันที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อวางแผนการเตรียมงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการจัดงาน Kick Off

  • photo
  • photo

 

11 11

12. การประชุมนำเสนอความคืบหน้าการเตรียมงาน Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคม เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี” ครั้งที่ 11/2565

วันที่ 8 กันยายน 2565 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยนประเด็น ความคืบหน้าการเตรียมงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความคืบหน้าการเตรียมงาน

  • photo รายงานการประชุมครั้งที่ 11-25665.pdfรายงานการประชุมครั้งที่ 11-25665.pdf
  • photo
  • photo
  • photo

 

16 16

13. กิจกรรม Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคม เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี”

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 12:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงโครงการ/ การแถลงข่าวเปิดตัว/  ปาฐกถา/ เวทีเสวนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการขับเคลื่อนโครงการเพื่อบูรณาการความร่วมมือเสริมสร้างสุขภาวะความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพ และเกิดการรับรู้ เกิดความเข้าใจโครงการในภาพกว้างขึ้น จากการเข้าร่วมงาน และผ่านทางสื่อมวลชน  ที่นำเสนอข่าว

  • photo เอกสารประกอบ (1).pdfเอกสารประกอบ (1).pdf
  • photo สรุปผลการจัดกิจกรรม Kick Off.pdfสรุปผลการจัดกิจกรรม Kick Off.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

120 133

14. การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง นโยบายสาธารณะและการมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะ

วันที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและการมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

4 4

15. การประชุมทีมสื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 1/2565

วันที่ 27 กันยายน 2565 เวลา 19:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการดำเนินงานทีมอนุสื่อสารสุขภาวะ

  • photo
  • photo

 

9 9

16. การประชุมเพื่อวางแผนการขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 12/2565

วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการจัดกิจกรรมถอดบทเรียน

  • photo
  • photo
  • photo นำเสนอกองทุนสุขภาพ_290965.pdfนำเสนอกองทุนสุขภาพ_290965.pdf
  • photo
  • photo

 

11 11

17. อบรมเชิงปฏิบัติการ นักสื่อสารสร้างสรรค์สังคมสุขภาวะ

วันที่ 2 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การอบรมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการสื่อสารเรื่องราวโครงการอย่างสร้างสรรค์

 

7 7

18. ประชุมเตรียมงานสมัชชาเมืองคนดีสุขถ้วนหน้า (ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร)

วันที่ 5 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการจัดงานสมัชชาเมืองคนดีสุขถ้วนหน้า /ข้อมูลเครือข่ายความมั่นคงทางด้านอาหารจังหวัดสุราษฎร์ธานี

  • photo
  • photo
  • photo

 

20 20

19. การประชุมเพื่อเตรียมงาน เวทีถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยน "ถอยหลังเเลหน้าการเขยื้อนเคลื่อนภาคีเครือข่ายสุขภาวะสุราษฎร์ธานี" ครั้งที่ 13/2565

วันที่ 15 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการเตรียมงานเวทีถอดบทเรียนฯ

  • photo สรุปการประชุมเพื่อเตรียมงานเวทีถอดบทเรียน ครั้งที่ 13-2565 (15 ตค 65).pdfสรุปการประชุมเพื่อเตรียมงานเวทีถอดบทเรียน ครั้งที่ 13-2565 (15 ตค 65).pdf
  • photo
  • photo

 

6 6

20. งานสมัชชาเมืองคนดีสุขถ้วนหน้า ครั้งที่ 1 “สุราษฎร์ธานีสู่ครัวโลก :เพียงพอ ปลอดภัย สมวัย สร้างเศรษฐกิจฐานราก”

วันที่ 19 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การชี้แจ้งโครงการ/ประกาศทิศทางข้อเสนอนโยบาย/Ted talk /การเสวนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครือข่ายความร่วมมือด้านความมั่นคงทางอาหาร

  • photo เอกสารงานสมัชชาเมืองฅนดีสุขถ้วนหน้า.pdfเอกสารงานสมัชชาเมืองฅนดีสุขถ้วนหน้า.pdf
  • photo บันทึกประเด็นงานสมัชชา โดย นูรมา (3).pdfบันทึกประเด็นงานสมัชชา โดย นูรมา (3).pdf
  • photo ข้อเสนอนโยบายสาธารณะ งานสมัชชา.pdfข้อเสนอนโยบายสาธารณะ งานสมัชชา.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

12 12

21. เวทีถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยน “ถอยหลังแลหน้า การเขยื้อนเคลื่อนภาคีเครือข่ายสุขภาวะสุราษฎร์ธานี”

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 12:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อมูลการถอดบทเรียน

  • photo คลิปวิดีโอเปิดกิจกรรมถอดบทเรียนคลิปวิดีโอเปิดกิจกรรมถอดบทเรียน
  • photo เอกสารประกอบ_ถอยหลังเเลหน้าการเขยื้อนเคล.pdfเอกสารประกอบ_ถอยหลังเเลหน้าการเขยื้อนเคล.pdf
  • photo สรุปข้อมูลการถอดบทเรียน.pdfสรุปข้อมูลการถอดบทเรียน.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

40 50

22. การประชุมทีมอนุฯสื่อสารสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 2/2565

วันที่ 28 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการดำเนินงานด้านการสื่อสารสุขภาวะโครงการฯ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

9 9

23. การประชุมวางแผนการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข" ครั้งที่ 1/2565

วันที่ 28 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความเข้าใจร่วมกันในภาพรวมของโครงการและแผนการดำเนินงานการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข" เบื้องต้น

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

7 7

24. การประชุมติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในโครงการ ศวนส

วันที่ 31 ตุลาคม 2565 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงานและแผนการดำเนินงานในระยะถัดไป

  • photo กสส คือ ใคร.pdfกสส คือ ใคร.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

2 2

25. การประชุมทีมอนุฯสื่อสารสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 3/2565

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการดำเนินงานด้านการสื่อสารสุขภาวะโครงการฯ

  • photo
  • photo

 

11 11

26. การประชุมติดตามการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข" ครั้งที่ 2/2565

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2565 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อมูลงานวิจัยในประเด็น การสร้างความสุข

  • photo 1มะขามเตี้ยแห่งความสุข.pdf1มะขามเตี้ยแห่งความสุข.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 7

27. การประชุมหารือการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข" ร่วมกับพื้นองค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ย

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข"

  • photo สรุปการพูดคุยครั้งที่1กับอบต.มะขามเตี้ย.pdfสรุปการพูดคุยครั้งที่1กับอบต.มะขามเตี้ย.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

4 4

28. การประชุมวางแนวทางการจัดการข้อมูลทีมอนุฯสื่อสารสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 4/2565

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการจัดการข้อมูลการสื่อสารข้อมูลโครงการฯ

  • photo
  • photo

 

10 10

29. การประชุม เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันต่อการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี รูปแบบ “กองทุนเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี”

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการขอสนับสนุนงบ/แนวทางการทำงานร่วมกัน

  • photo รายงานการประชุมร่วม อบจ ครั้งที่1 (17พย65).pdfรายงานการประชุมร่วม อบจ ครั้งที่1 (17พย65).pdf
  • photo เอกสารประกอบการประชุมร่วมอบจ (1).pdfเอกสารประกอบการประชุมร่วมอบจ (1).pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

15 15

30. การประชุมหารือแนวทางการขอรับงบประมาณสนับสนุนโครงการจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการขอรับงบประมาณสนับสนุนโครงการจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

  • photo
  • photo
  • photo

 

9 9

31. การประชุมหารือแนวทางการขอรับงบประมาณสนับสนุนโครงการและการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงโครงการเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการขอรับงบประมาณสนับสนุนโครงการและการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงโครงการฯ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo ข้อกำหนดการของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโ (1).pdfข้อกำหนดการของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโ (1).pdf
  • photo เอกสารประกอบการประชุม 23พย65.pdfเอกสารประกอบการประชุม 23พย65.pdf

 

9 9

32. การประชุมวางระบบฐานข้อมูลโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 7 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการวางระบบฐานข้อมูลโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ  เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

7 7

33. การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายวิดีทัศน์ ที่มาโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถ่ายทำวิดีทัศน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ภาพถ่าย/วิดีโอ เพื่อจัดทำวิดีทัศน์สื่อสารสุขภาวะ

  • photo ep 2ep 2
  • photo ep 1ep 1
  • photo ep2 การบูรณาการกลไกความร่วมมือของจังหวัดสุราษฎร์ธานีep2 การบูรณาการกลไกความร่วมมือของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
  • photo ep1 ที่มาของ กสสep1 ที่มาของ กสส

 

5 5

34. การประชุมคณะทำงานหารือตัวชี้วัด/และเตรียมงานเวทีพัฒนาพี่เลี้ยงและเปิดชี้แจงการขอรับงบสนับสนุนโครงการฯ

วันที่ 15 ธันวาคม 2565 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวชี้วัดโครงการ และกำหนดการเตรียมงานเวทีพัฒนาพี่เลี้ยงและเปิดชี้แจงการขอรับงบสนับสนุนโครงการฯ

  • photo
  • photo

 

6 6

35. การประชุมติดตามการดำเนินงานบูรณากลไกความร่วมมือเพื่อการเสริมสร้างสุขภาวะระดับจังหวัด

วันที่ 17 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางเพื่อก้าวต่อไปของโครงการบูรณาการความร่วมมือของจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดภูเก็ต

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

14 0

36. การประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผนขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายภาคใต้แห่งความสุข (งานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13) และนำเสนอความก้าวหน้าโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.)

วันที่ 24 ธันวาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายภาคใต้แห่งความสุข (งานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13) และความคืบหน้าโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

2 2

37. การประชุมถ่ายทำวิดีทัศน์สวัสดีปีใหม่โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 29 ธันวาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คลิปวิดีทัศน์ และโปสการ์ดสวัสดีปีใหม่ของโครงการฯ

  • photo คลิปสวัสดีปีใหม่ ep1คลิปสวัสดีปีใหม่ ep1
  • photo คลิปสวัสดีปีใหม่ ep2คลิปสวัสดีปีใหม่ ep2
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

8 8

38. การประชุมเตรียมงานเวทีพัฒนาพี่เลี้ยงและเวทีชี้แจงการขอรับงบสนับสนุนโครงการฯ

วันที่ 3 มกราคม 2566 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการเตรียมงานเวทีพัฒนาพี่เลี้ยงและเวทีชี้แจงการขอรับงบสนับสนุนโครงการฯ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

13 13

39. เวทีพัฒนาพี่เลี้ยงโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 5 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงมีความเข้าใจต่อโครงการ และมีความรู้เรื่องการใช้เครืองมือต่างๆในการดำเนินการโครงการฯ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

40 40

40. เวทีชี้แจงการขอรับงบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 6 มกราคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1) ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจต่อแนวทางในการขอรับงบสนับสนุนโครงการ 2) ผู้เข้าร่วมแสดงเจตจำนงค์เพื่อขอรับงบสนับสนุนโครงการฯ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

120 120

41. การประชุมหารือแนวทางการจ้างที่ปรึกษาโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 12 มกราคม 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมหารือ แลกเปลี่ยนแนวทางการขอรับโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการขอรับงบประมาณเพื่อทำโครงการฯ

  • photo
  • photo
  • photo

 

0 0

42. การศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเด็น “ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่เครื่องมือการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม” ภายใต้กิจกรรมห้องปฏิบัติการสังคมเพื่อการเรียนรู้ : นโยบายสาธารณะเพื่อสร้างความร่วมมือแบบประชารัฐ ภายใต้ชุดวิชานโยบายสาธารณะและการสร้างความร

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • การบรรยายและให้ความรู้ "ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่รูปธรรม อนามัยสิ่งแวดล้อม เครื่องมือ การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม" โดย คณะทำงานธรรมนูญสุขภาพ ต.ย่านยาว อ.คีรีรัฐนืคม
  • แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเยี่ยมชม "กลุ่มสตรีแปรรูปขยะรีไซเคิล กลุ่มน้ำหมัก และกลุ่มผักปลอดภัย"
  • การอภิปราย ทิศทางการขับเคลื่อนต่อ "ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่"
  • ถอดบทเรียนองค์ความรู้จากกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • องค์ความรู้จากพื้นที่ตัวอย่าง
  • การบูรณาการความร่วมมือ
  • photo การศึกษาดูงาน ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ เครื่องมือการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม.pdfการศึกษาดูงาน ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ เครื่องมือการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 29

43. กิจกรรมลงพื้นที่เพื่อเก็บภาพและวิดีโอเพื่อจัดทำสื่อในประเด็น 5 อ (ประเด็นอาหาร)

วันที่ 21 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงพื้นที่เก็บภาพและวิดีโอเพื่อจัดทำสื่อในประเด็น 5 อ (ประเด็นอาหาร) ตำบลพุมเรียง อำเภอไชยา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คลิปวิดีโอ และแบนเนอร์สื่อสารสุขภาวะ 5 อ (เรื่อง อาหาร)

  • photo
  • photo
  • photo

 

0 6

44. การประชุมเพื่อหารือความร่วมมือการบูรณาการกองทุนเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานีกับภาคเอกชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 18:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • นำเสนอ กองทุนเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (กสส.)
  • หารือแนวทางบูรณาการความร่วมมือกลไกภาคเอกชน กับ กองทุนเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (กสส.)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการบูรณาการความร่วมมือกับภาคเอกชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานีในเบื้องต้น

  • photo Nutritious Grains eBook-2.pdfNutritious Grains eBook-2.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 22

45. การประชุมเพื่อหารือและร่วมออกแบบแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • การประชุมหารือในประเด็นการออกแบบแผนการดำเนินงานโครงการฯ ดังนี้ ๑. การพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง
    ๒. TOR จ้างวิจัย
    ๓. ออกแบบหลักเกณฑ์ทางการเงิน
    ๔. ออกแบบแนวทางการพิจารณาโครงการ
    ๕. ตัวชี้วัด เกณฑ์ต่างๆ
    ๖. แนวทางสื่อ
    ๗. ระบบฐานข้อมูล
    ๘. แนวทางการบริหารโครงการร่วม
    ๙. แผนงานวิจัย
    ๑๐.เเผนทางการเงิน/เเผนการดำเนินงานติดตามโครงการ)
    ๑๑.รายงานการเงินและกิจกรรมโครงการ
    ๑๒.รายงานความคืบหน้า (ความร่วมมือกับภาคเอกชน) ๑๓.การมาดูงานของทีม สสส.ชุดใหญ่ ๑๔.กิจกรรมชวน อสม. มา “บำรุงใจ”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการดำเนินงานในแต่ละประเด็น

  • photo เอกสารแนบ6 การเงิน_กสส.pdfเอกสารแนบ6 การเงิน_กสส.pdf
  • photo เอกสารแนบ5 แผนงานสื่อ.pdfเอกสารแนบ5 แผนงานสื่อ.pdf
  • photo เอกสารแนบ4 แผนงานKM-กสส65.pdfเอกสารแนบ4 แผนงานKM-กสส65.pdf
  • photo เอกสารแนบ3 ร่าง คู่มือการเงินกองทุน.pdfเอกสารแนบ3 ร่าง คู่มือการเงินกองทุน.pdf
  • photo เอกสารแนบ2 วิจัย สุขภาวะ.pdfเอกสารแนบ2 วิจัย สุขภาวะ.pdf
  • photo เอกสารแนบ1 ระบบฐานข้อมูล.pdfเอกสารแนบ1 ระบบฐานข้อมูล.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 19

46. การประชุมเพื่อหารือแนวทางขับเคลื่อนแผนงานวิจัย “มะขามเตี้ยแห่งความสุข” ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมหารือแนวทางขับเคลื่อนแผนงานวิจัย “มะขามเตี้ยแห่งความสุข” ในหัวข้อ ดังนี้ ประเด็นแนวทางการขับเคลื่อน รูปแบบวิธีการ ความร่วมมือและความเกี่ยวข้องกับพื้นที่ และผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
    โดยมีประเด็นขับเคลื่อน ได้แก่ ประเด็นการจัดการขยะ ผู้สูงอายุที่มีคุณค่า ศักยภาพของเด็ก เยาวชน พื้นที่กิจกรรมกลางของชุมชน”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แนวทางขับเคลื่อนแผนงานวิจัย “มะขามเตี้ยแห่งความสุข” (เบื้องต้น)
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 29

47. กิจกรรมชวน อสม. มา “บำรุงใจ” รุ่นที่1

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

Check in ชวนสงบนิ่งอยู่กับตัวเอง อยู่กับปัจจุบันผ่านลมหายใจ แล้วชวนเลือกการ์ด 'ประตูใจ' ซึ่งครั้งนี้เลือกคว่ำไว้ พิจารณาการ์ดใบไหนกำลังเชิญชวนให้หยิบ แนะนำตัวเองพร้อมบอกเล่าความรู้สึกของตนเองและการเชื่อมโยงกับภาพที่ได้มา
Sharing เข้าสู่กระบวนการหลักโดยการสุ่มเลือกคำถาม 1 ใบ และตอบคำถามนั้นๆ ทุกคำถามจะตอบจนครบทุกคน -หลายๆคำถามกระตุกให้เราใคร่ครวญ ทบทวน เช่นแรงบันดาลใจในการทำงานนี้ คนที่อยากขอบคุณ สิ่งที่เปลี่ยนแปลงหลังมาทำงานนี้ ฯลฯ Carring เขียนการ์ดอวยพรตนเอง หนึ่งกำลังใจในวันที่ทุกข์ ท้อ เหนื่อย ให้เปิดอ่านข้อความในจดหมายที่เขียนถึงตัวเอง Check out เขียนสะท้อนความรู้สึก และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม ปิดกิจกรรมด้วยของขวัญจากการ์ด 'เพื่อนใจ' คติธรรมที่จักรวาลส่งพลังให้เรานำไปปฏิบัติใช้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดพื้นที่พูดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแล ให้กำลังใจสร้างสรรค์ชุมชนผู้ดูแลที่เข้าอกเข้าใจดูแลซึ่งกันและกัน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 14

48. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมหารือ แลกเปลี่ยนในประเด็น การวางแผนการเตรียมงานเวทีพัฒนาพี่เลี้ยง/ การดูงานจากบอร์ดใหญ่ สสส/ การเปิดเวทีสร้างการรับรู้โครงการแก่คณะ และความคืบหน้าแนวทางโครงการของอบจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แผนการเตรียมงานเวทีพัฒนาพี่เลี้ยง
  • แผนเบื้องต้นในกิจกรรมการดูงานจากบอร์ดใหญ่ สสส/ การเปิดเวทีสร้างการรับรู้โครงการแก่คณะ
  • ความคืบหน้าแนวทางโครงการของอบจ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 13

49. การประชุมติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนแผนงานในโรงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.)

วันที่ 4 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • การบรรยาย การขับเคลื่อนแผนงานให้บรรลุเป้าหมายตามผลลัพธ์และตัวชี้วัดในโครงการ ศวนส. และกรอบการดำเนินโครงการร่วมกันระหว่างทีมขับเคลื่อน ทีมสื่อ และทีมประเมิน
  • แบ่งกลุ่มจัดทำกรอบการดำเนินงานร่วมระหว่างทีมขับเคลื่อน ทีมสื่อ และทีมประเมิน
  • สรุปกรอบแผน
  • นำเสนอกรอบแผน
  • การให้ข้อเสนอแนะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แผนการขับเคลื่อน
  • photo กรอบการทำแผนรายงานความก้าวหน้าขับเคลื่อ.pdfกรอบการทำแผนรายงานความก้าวหน้าขับเคลื่อ.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 0

50. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการมะขามเตี้ยแห่งความสุข

วันที่ 7 มีนาคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมหารือแนวทางการจัดตั้งชมรมผู้สูอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แนวทางการจัดตั้งชมรมผู้สูอายุ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 18

51. เวทีอบรมการพัฒนาพี่เลี้ยง โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 8 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • การบรรยายมุมมอง แนวคิด ทิศทาง และที่มาโครงการฯ /กระบวนการ การดำเนินการ และการขับเคลื่อนโครงการฯ
  • การบรรยาย เทคนิค และเครื่องมือที่ใช้นการดำเนินการโครงการฯ
  • Workshop เทคนิค และเครื่องมือที่ใช้นการดำเนินการโครงการฯ
  • Workshop การขับเคลื่อน ติดตามและการประเมินผลโครงการฯ
  • Workshop ระบบการช่วยเหลือ แนะนำ และการให้คำปรึกษาโครงการฯ
  • การสะท้อนผลลัพธ์ ของโครงการและความยั่งยืนในโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • พี่เลี้ยงมีศักยภาพ พร้อมเป็นกลไกหนุนเสริมการดำเนินโครงการของผู้รับผิดชอบโครงการที่จะมาขอรับทุนภายใต้โครงการฯ
  • photo การพัฒนาโครงการ PD กสส. 08-09-03-2566.pdfการพัฒนาโครงการ PD กสส. 08-09-03-2566.pdf
  • photo การประเมินเพื่อพัฒนา ARE กสส. 08-09-03-2566.pdfการประเมินเพื่อพัฒนา ARE กสส. 08-09-03-2566.pdf
  • photo การถอดบทเรียนโครงการ CCAT กสส. 08-09-03-2566.pdfการถอดบทเรียนโครงการ CCAT กสส. 08-09-03-2566.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 38

52. กิจกรรม ชวน อสม. มา “บำรุงใจ” รุ่นที่ 2 และรุ่นที่ 3

วันที่ 30 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

Check in ชวนสงบนิ่งอยู่กับตัวเอง อยู่กับปัจจุบันผ่านลมหายใจ แล้วชวนเลือกการ์ด 'ประตูใจ' ซึ่งครั้งนี้เลือกคว่ำไว้ พิจารณาการ์ดใบไหนกำลังเชิญชวนให้หยิบ แนะนำตัวเองพร้อมบอกเล่าความรู้สึกของตนเองและการเชื่อมโยงกับภาพที่ได้มา
Sharing เข้าสู่กระบวนการหลักโดยการสุ่มเลือกคำถาม 1 ใบ และตอบคำถามนั้นๆ ทุกคำถามจะตอบจนครบทุกคน -หลายๆคำถามกระตุกให้เราใคร่ครวญ ทบทวน เช่นแรงบันดาลใจในการทำงานนี้ คนที่อยากขอบคุณ สิ่งที่เปลี่ยนแปลงหลังมาทำงานนี้ ฯลฯ Carring เขียนการ์ดอวยพรตนเอง หนึ่งกำลังใจในวันที่ทุกข์ ท้อ เหนื่อย ให้เปิดอ่านข้อความในจดหมายที่เขียนถึงตัวเอง Check out เขียนสะท้อนความรู้สึก และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม ปิดกิจกรรมด้วยของขวัญจากการ์ด 'เพื่อนใจ' คติธรรมที่จักรวาลส่งพลังให้เรานำไปปฏิบัติใช้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดพื้นที่พูดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแล ให้กำลังใจสร้างสรรค์ชุมชนผู้ดูแลที่เข้าอกเข้าใจดูแลซึ่งกันและกัน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 30

53. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนมะขามเตี้ยแห่งความสุข ครั้งที่4

วันที่ 5 เมษายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมหารือในประเด็น การจัดการขยะ/ การจัดตั้งชมรมมะขามเตี้ยแห่งความสุข/ กิจกรรมรองรับผู้สูงอายุ/ การใช้ประโยชน์พื้นที่เกาะกลางบางทะลุ/ กิจกรรมจบปี จบเดือน (รดน้ำผู้สูงอายุ)/ และกิจกรรม คกก.บริหารแผน คณะที่ 7 ประชุมสัญจร และเยี่ยมชมพื้นที่ปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้รับผิดชอบ และแผนเบื้องต้นในการขับเคลื่อนในแต่ละประเด็นย่อย
  • photo รายงานการประชุมคณะทำงานโครงการมะขามเตี้ย 5-4-66.pdfรายงานการประชุมคณะทำงานโครงการมะขามเตี้ย 5-4-66.pdf
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 18

54. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 5 เมษายน 2566 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประหารือ ในประเด็นการดำเนินโครงการในระยะถัดไป และประเด็นของโครงการที่มีการเปิดรับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แนวทางการดำเนินการโครงการต่อ และการดำเนินการในประเด็นการขอรับโครงการฯ
  • photo
  • photo
  • photo รายงานการประชุมคณะทำงาน กสส 5 เมย.pdfรายงานการประชุมคณะทำงาน กสส 5 เมย.pdf

 

0 12

55. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 9 เมษายน 2566 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมติดตามการดำเนินงาน ประเด็นการขอรับโครงการฯ การพิจารณาโครงการเบื้องต้น และการจัดกิจกรรมเวทีพัฒนาการเขียนโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลสรุปข้อมูลการพิจารณาโครงการตามประเภทแหล่งทุน
  • แนวทางการเตรียมงานเวทีการพัฒนาการเขียนโครงการ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 11

56. กิจกรรม วันจบปี จบเดือน รดน้ำผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 (มะขามเตี้ยแห่งความสุข)

วันที่ 19 เมษายน 2566 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • กิจกรรม ตรวจสุขภาพพื้นฐานและให้ความรู้กับผู้สูงอายุ
  • การบรรยายให้ความรู้ในหัวข้อ มะขามเตี้ยแห่งความสุข
  • กิจกรรมนันทนาการ และกาารรดน้ำขอพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ชุมชนมีความเข้าใจโครงการ มะขามเตี้ยแห่งความสุข (เบื้องต้น) มากขึ้น
  • เครือข่ายผู้เข้าร่วมโครงการผ่านชมรมมะขามเตี้ยแห่งความสุขมากขึ้น เบื้องต้นจำนวน 47 คน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 9

57. กิจกรรมศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปฏิญญาอ่าวลันตาการขับเคลื่อนสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

วันที่ 24 เมษายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมแลกเปลี่ยนกับนายกเทศมนตรีตำบลศาลาด่าน และประชุมร่วมกับแกนนำชุมชนทุ่งหยีเพ็ง
  • ร่วมกิจกรรม ปฏิญญาอ่าวลันตาการขับเคลื่อนสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ถอดบทเรียน Model ปฏิญญาอ่าวลันตาการขับเคลื่อนสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน Blue &Green Island
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 10

58. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 26 เมษายน 2566 เวลา 19:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมหารือ การวางแผนการเตรียมงานเวทีพัฒนาการเขียนโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แผนการจัดกิจกรรมเวทีพัฒนาการเขียนโครงการ
  • photo
  • photo

 

0 10

59. เวทีพัฒนาการเขียนโครงการและการติดตามประเมินผล

วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • การชี้แจงกิจกรรม /ชี้แจงกระบวนการขอรับโครงการ ประเภทของแหล่งทุน และเงื่อนไขต่างๆและแบ่งกลุ่มโครงการตามประเภทแหล่งทุนเพื่อพัฒนาการเขียนโครงการตามประเภทแหล่งทุน
  • แบ่งกลุ่มผู้ขอรับโครงการฯ ตามประเภทแหล่งทุนที่เหมาะสมกับโครงการ
  • Workshop เขียนโครงการ และให้คำแนะนำการเขียนโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ความเข้าใจต่อรายละเอียดทุนในแต่ละประเภทของผู้ขอรับโครงการฯ
  • โครงการที่สมบูรณ์เพื่อส่งต่อแหล่งทุนพิจารณา
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 72

60. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนมะขามเตี้ยแห่งความสุข ทีมจัดการขยะ

วันที่ 4 พฤษภาคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-แนวทางการขับเคลื่อน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 15

61. ประชุมถอดบทเรียนศึกษาดูงานเกาะลันตาและมะขามเตี้ยแห่งความสุข

วันที่ 8 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-การถอดบทเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ข้อมูลการถอดบทเรียน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 7

62. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการมะขามเตี้ยแห่งความสุข

วันที่ 22 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-แผนการจัดกิจกรรม

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 30

63. กิจกรรมจัดทำคลิปประเด็น 5 อ (ออกกำลังกาย)

วันที่ 23 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-จัดทำสื่อวิดีโอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-สื่อวิดีโอ

  • photo
  • photo
  • photo

 

0 10

64. ประชุมร่วม อบจ หารือแนวทางขับเคลื่อนโครงการฯ

วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบจ.สุราษฎร์ธานี ร่วมปรึกษาหารือแนวทางการดำเนินงานร่วมกันภายใต้โครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี . ในวันพุธ ที่ 24 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.30 น. ณ ห้องทำงานนายกฯ #นายพงษ์ศักดิ์ จ่าแก้ว นายองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี พร้อมด้วยนายฉัตรชนัย โนต๊ะยศ ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี หัวหน้าส่วนราชการ และเจ้าหน้าที่จากกองยุทธศาสตร์และงบประมาณ #ร่วมปรึกษาหารือแนวทางการดำเนินงานร่วมกันภายใต้โครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมกับสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส.ม.อ.) นำโดย ผศ.ดร.พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์ พร้อมด้วยคณะทำงาน เข้าร่วมหารือ ทั้งนี้โครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ใน 4 ประเด็นหลัก คือความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางสุขภาพ และความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข เน้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการกลไก ทั้งภาคีภาครัฐท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน วิชาการ และสื่อสารมวลชน ทั้งระดับตำบลอำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ พร้อมทั้งพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของภาคีเครือข่าย ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ภายใต้การดำเนินงานความมั่นคงทางมนุษย์ มีแผนงานบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการร่วมทุน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 15

65. ประชุมจัดทำแผนข้อมูลโครงการฯ บรรจุเข้าแผนท้องถิ่น (อบจ.)

วันที่ 5 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แผน/โครงการ
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 10

66. ประชุมเตรียมงานกิจกรรมบูรณาการกลไกจังหวัดฯ

วันที่ 8 มิถุนายน 2566 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-แนวทางการดำเนินกิจกรรม

  • photo
  • photo

 

0 15

67. กิจกรรมเตรียมงานกิจกรรมบูรณาการกลไกจังหวัดฯ

วันที่ 9 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-เตรียมสถานที่ บูธ และเตรียมงานส่วนต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ความพร้อมในการจัดกิจกรรม

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 0

68. กิจกรรมงานบูรณาการกลไกจังหวัดฯ

วันที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 66 ณ ห้องประชุมเขาท่าเพชร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯร. 10 เกาะกลางบางทะลุ โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี  ภายใต้การดำเนินการของคณาจารย์คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และภาคีเครือข่ายต่างๆ ได้ให้การต้อนรับ รศ.นพ.สรนิต ศีลธรรม ประธานคณะกรรมการบริหารแผน คณะที่ 7 พร้อมคณะกรรมการฯ ที่มาประชุมสัญจร และเยี่ยมชมพื้นที่ปฏิบัติการ “บูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี” (กสส.) ตอน “มะขามเตี้ยแห่งความสุข” โดย รศ.สุชาดา ทิพย์มนตรี รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และ ดร.ปรเมษฐ์ จินา ประธานคณะกรรมการนโยบายโครงการฯให้การต้อนรับ — ????คณะกรรมการบริหารแผน คณะที่ 7 ซึ่งเป็นอนุบอร์ดกองทุนฯ ได้รับการแต่งตั้งจากบอร์ดกองทุนฯ มาช่วยกำกับติดตามแผนงาน/โครงการต่างๆของแต่ละสำนัก เช่น สำนักภาคีเครือข่ายสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์และมีหน้าที่ในการอนุมัติทุนสำหรับแผนงาน/โครงการต่างๆ ตั้งแต่ 20-50 ล้านบาท การมาประชุมสัญจรครั้งนี้ เพื่อมาดูงานโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี  ซึ่งเกิดขึ้นสุราษฎร์ธานีเป็นจังหวัด “แรก” จุดเริ่มต้นของโครงการฯเพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านมนุษย์และสถานะทางสุขภาพให้เกิดขึ้นในจังหวัด แต่ปัจจัยสําคัญที่จะให้เกิดกลไกระดับจังหวัดได้ คือ “การบูรณาการทุกภาคส่วนในการทํางานส่งเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการร่วมสนับสนุนทุนเพื่อขับเคลื่อน ในรูปแบบกิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อรองรับความต้องการบรรลุเป้าหมายการเป็นภาคใต้แห่งความสุขเพื่อความมั่นคงแห่งมนุษย์และสุขภาพของสุราษฎร์ธานี โดยเริ่มต้นการขับเคลื่อนด้วย 5อ และมีความสําคัญในการบูรณาการกลไกความร่วมมือ ทั้งในส่วนของภาคี เครือข่าย และแหล่งทุนในการทําโครงการด้านการจัดการสุขภาวะและการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัด เพื่อเป็นต้นแบบโมเดลในการเสริมสร้างสุขภาวะให้ชุมชน และกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงแหล่งทุนขนาดใหญ่มากขึ้นในระดับจังหวัด สำหรับพื้นที่ปฏิบัติการ “ชุมชนแห่งสุข #มะขามเตี้ยแห่งความสุข — ????“มะขามเตี้ยแห่งความสุข” เป็นรูปธรรมหนึ่งของผลลัพธ์ที่ใช้บูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานีในการขับเคลื่อนฯ “มะขามเตี้ยแห่งความสุข”เช่นกัน เกิดขึ้นได้ต้องมาจาก การหนุนเสริม สานพลังการทํางานในรูปแบบเครือข่ายทั้งภาครัฐ ท้องที่ ท้องถิ่น เอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน เพื่อขับเคลื่อนงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพตามประเด็นปัญหาสําคัญในพื้นที่ เช่น ปัญหาขยะ ปัญหาการขาดพื้นที่กลาง และการสร้างคุณค่าผู้สูงอายุที่มีมากขึ้น พื้นที่ให้การเยี่ยมชม ด้วยรูปแบบ “นิทรรศการมีชีวิต เริ่มต้น การรับการต้อนรับกับ ชุดบาสโลก คะมะขามเตี้ย ประสานใจ” ต่อด้วยชุดต้อนรับ ขนมบัวลอยจาก ผู้สูงอายุที่ใช้ภูมิปัญญาน้ำตาลพร้าวทำขนม และต่อด้วยการต้อนรับ #คณะทำงานมะขามเตี้ยแห่งความสุข กับ แกลลอรีวิถีคนมะขามเตี้ยจากอัตลักาณ์คนมะขามเตี้ย และเยี่ยมชมบูธกลุ่มวิสาหกิจในชุมชน ทั้งการเลี้ยงโคเนื้อ กลุ่มเลี้ยงผึ้งชันโรง กลุ่มเครื่องแกงท่าสน และผลิตภัณฑ์สมุนไพรจาก รพ.สต.มะขามเตี้ย — ????ปิดท้ายด้วยการขับร้องเพลง กล่อมเด็กจากภูมิปัญญาของคนมะขามเตี้ย การมาเยี่ยมชมครั้งนี้ #โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือฯ ยินดีและดีใจ มากกว่านั้น #คนมะขามเตี้ย ดีใจและมีความสุขมากกว่าอีก ที่ทุกท่านจะได้รับความสุขจากพวกเราและเราพร้อมส่งต่อความสุขต่อไป งานนี้สำเร็จไม่ได้เลย ถ้าไม่ได้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ชาวบ้าน พี่ๆอสม. พี่ๆชมรมบาสโลป พี่ๆอพปร. กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มวิสาหกิจ ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น รพ.สต.มะขามเตี้ย อบต.มะขามเตี้ย บริษัทไทบีทูเมน โรงแรมวังใต้ สถานศึกษาในพื้นที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี อบจ.สุราษฎร์ธานี และที่ไม่กล่าวนามอีกมากมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์จากกลไกบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 180

69. ประชุมออกแบบแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-การประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ข้อมูลการดำเนินงานนโยบายสาธารณะในจังหวัดและแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะในระยะถัดไป

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 15

70. กิจกรรมจัดทำสื่อสุขภาวะกลไกจังหวัดระดับพื้นที่ ตอน วิสาหกิจกลุ่มเลี้ยงโคเพื่อพัฒนาสายพันธุ์ตำบลมะขามเตี้ย

วันที่ 2 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถ่ายทำวิดีโอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สื่อวิดีโอ

  • photo
  • photo

 

0 10

71. ประชุมคณะทำงานพัฒนากลไกจังหวัดระดับพื้นที่

วันที่ 4 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการขับเคลื่อน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 23

72. ประชุม กสส.

วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 11

73. ร่วมประชุมหมู่บ้าน (หมู่ที่ 5 ต.มะขามเตี้ย)

วันที่ 11 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความเข้าใจต่อโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 3

74. กิจกรรม ร่วมกับ รพสต.มะขามเตี้ย

วันที่ 11 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กสส ร่วมออกบูธ และในงานมีการจัดการสุขภาพ การจัดการสุขภาวะ กับ การขับเคลื่อน “ความเป็นมะขามเตี้ย” ในเเง่มุมต่างๆ - บริการตรวจสุขภาพ
- อาหารเป็นยา - ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - สุขภาพดีวิถีใหม่ กับ ผู้สูงอายุ - ชมเเละจำหน่ายผลิตภัณฑ์จาก กลุ่มวิสาหกิจในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เครือข่ายสุขภาวะ และการขับเคลื่อนสุขภาวะระดับพื้นที่

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 12

75. เวที MOU เขาพัง เพื่อสุขภาวะที่ดีด้วยกลไก พชต.

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การร่วมลงนาม MOU เพื่อประกาศเจตจำนงค์ว่า ผู้สูงอายุเป็นธงนำสุขภาวะที่ดีของเขาพัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

MOU

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 5

76. ประชุมขับเคลื่อนชมรมผู้สูงอายุ

วันที่ 23 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-แนวทางการขับเคลื่อน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 54

77. กสส. ได้เข้าร่วมกับเครือข่ายสมัชชาสร้างสุขสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 2

วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การร่วมออกบูท ประกอบด้วย 1. กสส. 2. ผลลัพธ์โมเดลบูรณาการกลไกความร่วมมือ ชื่อว่ามะขามเตี้ยแห่งความสุข 3. ยุวชนอาสา #การจัดสภาพเเวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุใช้ชีวิตที่ปลอดภัย 4. ภาคีขับเคลื่อนมะขามเตี้ยเเห่งความสุข ทั้ง บูมรพ.สต.นำเสนอ วิถีสมุนไพร วิถีคนมะขามเตี้ย บูทวิสาหกิจชุมชนเครท่องเเกง/เเละเลี้ยงผึ้งโพรง
กิจกรรมวันนี้ สะท้อนให้เห็นความสุขที่ถูกนำเสนอทั้งภาพของความสุขที่เกิดขึ้นในพื้นที่และร่วมนำภาคีบูรณาการความร่วมมือไม่ว่าจะเป็น รพ.สต.มะขามเตี้ยไม่ว่าจะเป็นวิสาหกิจกลุ่มเครื่องแกง เเละกลุ่มเลี้ยงผึ้งเสนอให้เห็นการที่เราร่วมกันบูรณาการกลไกความร่วมมือนำไปสู่การสร้างความสุขในระดับพื้นที่นั้น คือ  การผนึกกันร่วมสร้างเป็นสิ่งที่สำคัญมาก

การปักหมุด
กสส. ร่วม ปักหมุด ซึ่งถือเป็นหมุดหมายการร่วมขับเคลื่อนที่สำคัญมาก ในบทบาทของ การบูรณาการ กลไก เชื่อมร้อยเเหล่งทุน เเละเป็นพื้นที่กลาง ที่เห็นภาพการทำงาน  ร่วมกัน ว่า สุราษฎร์ธานีสร้างความสุขนั้น มาจากทุกภาคส่วน เเละเเต่ส่วนของทุกบทบาทหน้าที่

ช่วงเวทีเสวนา ดร.ศิริพร เพ็งจันทร์ ประธานคณะทำงาน กสส. ก็ได้เป็นผู้ดำเนินรายการเวทีเสวนาสุขสุราษฎร์ฯ สุขที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย นำเวทีคุยสร้างการแลกเปลี่ยนกับผู้เข้าร่วมกว่า 8 ภาคส่วนที่จะร่วมขยับการทำให้สุราษฎร์ธานีเป็นเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย เเละ ระหว่างการร่วมเสวนานั้น คณะทำงาน มะขามเตี้ยเเห่งความสุข ได้ร่วมแลกเปลี่ยนด้วยสิ่งสำคัญก็คือ เรื่องของข้อเสนอของความเป็นมะขามเตี้ย#ความสุขที่จะสามารถเป็นตัวอย่างให้กับพื้นที่อื่นๆ พร้อมแลกเปลี่ยนในวงใหญ่ เพื่อร่วมขยับ ถ้อยแถลง ยื่นยันรับข้อเสมอเพื่อเป็น ปฏิญญา กาญจนดิษฐ์ของสมัชชาสร้างสุขสุราษฎร์ฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การร่วมขับเคลื่อนครั้งนี้เเสดงถึงรูปธรรมของกลไกบูรณาการความร่วมมือ ผลลัพธ์ ของ กสส. ดำเดินการ ซึ่งได้เห็นเป็นรูปธรรมเเล้ว

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 30

78. กิจกรรมจัดทำสื่อสุขภาวะกลไกจังหวัดระดับพื้นที่ ตอน กลุ่มเลี้ยงผึ่งโพรงไทยและปลูกพืชสมุนไพร ต.มะขามเตี้ย

วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสื่อสุขภาวะ ตอน กลุ่มเลี้ยงผึ่งโพรงไทยและปลูกพืชสมุนไพร ต.มะขามเตี้ย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สื่อสุขภาวะ ตอน กลุ่มเลี้ยงผึ่งโพรงไทยและปลูกพืชสมุนไพร ต.มะขามเตี้ย

  • photo
  • photo

 

0 10

79. ถอดบทเรียน โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี

วันที่ 29 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ถอดบทเรียนข้อจำกัด อุปสรรคของตัวเองจากระยะที่ผ่านมาเเละก้าวต่อไปของตนเองกับ กสส. 2.หาเเนวทางการขับเคลื่อนงาน เเผนร่วมทุน 3.เเนวทางในการขับเคลื่อนจากการถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ กสส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ทราบปัญหาของพี่เลี้ยงโครงการเเละผู้ขอโครงการ ได้มีการคุยปรับความเข้าใจเเละเเลกเปลื่ยนเเนวทางการทำงานเเละวางเเผนการทำงานที่ชัดเจนมากขึ้น ได้มีการปรับเเผนทำงานของ กสส. ให้เป็นคณะทำงานกลางที่คอยช่วยเหลือโครงการให้พบกับเเหล่งทุนโดยตรง ให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงเเละช่วยหาเเหล่งทุนอื่นๆเพิ่มมากขึ้น

 

0 38

80. กิจกรรมถอดบทเรียน “กสส” สู่การขับเคลื่อนบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี วันที่ 5 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ เรือนไทยในบาง รีสอร์ท จังหวัดสุราษฎร์ธานี

วันที่ 5 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิเคราะห์การทำงานตั้งเเต่กระบวนการได้มาซึ่งทีม หาเเนวทางพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง หาเเนวทางรวบรวมเเหล่งทุนเพื่อให้รองรับโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเเผนจัดทำคู่มือสำหรับพี่เลี้ยง เเบ่งหน้าที่ในการหาเเหล่งทุนเพิ่มเติม

 

0 12

81. การประชุมกลไกบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ระดับพื้นที่

วันที่ 6 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พูดคุยหาเเนวทางขับเคลื่อนชมรมมะขามเตี้ย ชมรมมะขามเตี้ยแห่งความสุข เป้าหมาย - ทำกิจกรรมเพื่อความสุขของคนมะขามเตี้ย เช่น เปตอง - การรวมกลุ่มต่างๆในพื้นที่มะขามเตี้ย - ลดความทุกข์เพิ่มความสุขของคนมะขามเตี้ย - การมีพื้นที่กลางของการร่วมกิจกรรมศูนย์กลางชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ทราบความทุกข์และความสุขของคนมะขามเตี้ย ความทุกข์ - โรคภัย - การเงิน - รายได้ไม่พอใช้ - ไม่ค่อยมีเวลาให้ความสุข - ปัญหาสุขภาพ ความสุข - ได้ร้องเพลง - ได้เต้น - ได้ออกจากบ้านมาพบเพื่อน - ได้ทำกิจกรรมกับเพื่อน - มีความสุขที่ได้พาผู้สูงอายุไปทำกิจกรรม - มีเงินใช้ - กิจกรรมทางสังคม - ได้ช่วยเหลือสังคม

 

0 50

82. งานสร้างสุขภาคใต้ครั้งที่13 "ภาคใต้้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ"

วันที่ 9 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประเมินผลกระทบ ด้านสุขภาพ (HIA Forum)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ชาวบ้านได้รับความรู้จากการร่วมงานเเละวางเเผนว่าปีหน้าอยากนำเสนองานเช่นกัน 2.ได้เเลกเปลื่ยนเรียนรู้การทำโครงการกับภาคส่วนอื่นๆ

 

0 23

83. การประชุมกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะคณะระดับพื้นที่

วันที่ 23 สิงหาคม 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นักศึกษาจำนวน60คนลงพื้นที่โดยมีเอกสารดังนี้ 1)เครื่องมือเก็บข้อมูล 2)ใบรับสมัครเข้าร่วมโครงการชุมชนปลอดขยะ 3)ใบความรู้เรื่องขยะที่ไม่ขยะ 4)ใบธรรมนูญปลอดขยะ 1.จะแจกถุงขยะสีให้กับครัวเรือนที่สมัครโครงการชุมชนปลอดขยะ 2.แจกธงเขียวให้กับครัวเรือนที่สมัครโครงการชุมชนปลอดขยะ 3.แจกถังขยะรักษ์โลกให้กับครัวเรือนที่สมัครโครงการชุมชนปลอดขยะที่ยังไม่ได้รับถังขยะรักษ์โลกจาก อบต.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลลัพธ์จากการลดขยะ 2.ผลลัพธ์จากการลดขยะของผู้ประกอบการ 3.ผลลัพธ์จากการกำจัดขยะ 4.ผลลัพธ์จากการตรวจบ้าน

 

0 16

84. การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ กลไกบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะระดับพื้นที่

วันที่ 23 สิงหาคม 2566 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิทยาพูดถึงเรื่องราวในพื้นที่ตำบลมะขามเตี้ย พูดประเด็นผู้สูงอายุ ขยะชุมชน พื้นที่กลางเกาะกลางบางทะลุ ที่ดินและแผนที่ชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจ ได้สอบถามประเด็นที่ยังไม่เข้าใจเพื่อนำไปบูรณาการวิชาในชั้นเรียน

  • photo
  • photo
  • photo

 

0 177

85. การประชุมกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะคณะระดับพื้นที่

วันที่ 5 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ออกแบบขั้นตอนการจัดตั้ง (ประชุมหารือแกนนำสมาชิก กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดเป้าหมาย ความร่วมมือของสมาชิก ตั้งชื่อชมรม เลือกสถานที่เพื่อใช้เป็นที่ตั้งชมรม) 2. เลือกประธานชมรม 3.การขับเคลื่อนของชมรม 4. บุคลากร ภาคีและเครือข่ายร่วมขับเคลื่อน 5.งบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป้าหมาย - ทำกิจกรรมเพื่อความสุข เช่น กีฬา นันทนาการของคนมะขามเตี้ย - การรวมกลุ่มต่างๆในพื้นที่มะขามเตี้ย เพื่อดำเนินกิจกรรมร่วมกัน - ลดความทุกข์เพิ่มความสุขของคนมะขามเตี้ย สรุปการจัดโครงสร้างชมรมมะขามเตี้ยแห่งความสุข

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 30

86. เเนวทางขับเคลื่อน กลไกบูรณาการพื้นที่สู่กลไกบูรณาการจังหวัด

วันที่ 23 กันยายน 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วางแผนการขับเคลื่อนของชมรม ระดมความคิดเห็นในการจัดกิจกรรมต่างๆ ลงพื้นที่ดูงานเพื่อนำมาต่อยอดกระบวนการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป้าหมาย
- ทำกิจกรรมเพื่อความสุข เช่น กีฬา นันทนาการ ของคนมะขามเตี้ย - การรวมกลุ่มต่างๆในพื้นที่มะขามเตี้ยเพื่อดำเนินกิจกรรมร่วมกัน - ลดความทุกข์เพิ่มความสุขของคนมะขามเตี้ย แผนการขับเคลื่อนของชมรม 1.ด้านการมีส่วนร่วม จบปีจบเดือน กีฬาชุมชนสัมพันธ์ ทอดผ้าป่าเพื่อการศึกษา ประเพณีลอยกระทง วันฮารีรายอ วันฮาซูรอ กระตุ้นการประชุมหมู่บ้าน กองทุนสวัสดิการ 2.สุขภาวะที่ดี ส่งเสริมสุขภาวะชุมชน กีฬาทุกช่วงวัย 3.มีงานทำ-มีรายได้ สถานการณ์การมีงานทำในพื้นที่อาชีพเสริม การท่องเที่ยวในพื้นที่ 4.ความสะดวกสะบาย ระบบโครงสร้างได้มาตรฐาน มีรายได้เพียงพอ สุขภาพดี 5.ครอบครัวอบอุ่น สร้างโมเดลครอบครัวอบอุ่น

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 65

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ใน 4 ประเด็นหลัก คือความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางสุขภาพ และความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนเรียนรู้ และบูรณาการกลไกทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน วิชาการ และสื่อสารมวลชนในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ทั้งระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และภาคใต้สู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ใน 4 ประเด็นหลัก คือความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางสุขภาพ และความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข (2) เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนเรียนรู้ และบูรณาการกลไกทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน วิชาการ และสื่อสารมวลชนในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ทั้งระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และภาคใต้สู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมปรึกษาหารือ  “โครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด”  ครั้งที่ 1/2565 (2) การประชุมเรื่องกรอบแนวทางในการดำเนินโครงการ  และการหาแนวทางการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนโครงการฯของคณะทำงาน ครั้งที่ 2/2565 (3) การประชุมเพื่อกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน และกำกับทิศทางการทำงาน ครั้งที่ 3/2565 (4) การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง วิทยาการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA Intensive Workshop) รอบที่2 (5) การประชุมวางแผนการทำงานและการวางโครงสร้างการทำงานโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ในระดับจังหวัด ครั้งที่ 4/2565 (6) การประชุมเชิงปฏิบัติการ  “เพื่อวางแผนการทำงานและการวางโครงสร้างการทำงานโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด”  ครั้งที่ 5/2565 (7) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ติดตามผลการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ระยะที่ 1”  ครั้งที่ 6/2565 (8) การประชุมเพื่อปรึกษาหารือบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด "กองทุนส่งเสริมสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานี"  ครั้งที่ 7/2565 (9) ประชุมวางแผนขับเคลื่อนโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด ครั้งที่ 8/2565 (10) การประชุมเพื่อเตรียมการจัดงาน Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคมเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะชาวสุราษฎร์ธานี” ครั้งที่ 9/2565 (11) ประชุมเตรียมการจัดงาน Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคม เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี” ครั้งที่ 10/2565 (12) การประชุมนำเสนอความคืบหน้าการเตรียมงาน Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคม เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี” ครั้งที่ 11/2565 (13) กิจกรรม Kick Off “บูรณาการกลไกความร่วมมือ นวัตกรรมทางสังคม เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี” (14) การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง นโยบายสาธารณะและการมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะ (15) การประชุมทีมสื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 1/2565 (16) การประชุมเพื่อวางแผนการขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 12/2565 (17) อบรมเชิงปฏิบัติการ นักสื่อสารสร้างสรรค์สังคมสุขภาวะ (18) ประชุมเตรียมงานสมัชชาเมืองคนดีสุขถ้วนหน้า  (ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร) (19) การประชุมเพื่อเตรียมงาน เวทีถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยน "ถอยหลังเเลหน้าการเขยื้อนเคลื่อนภาคีเครือข่ายสุขภาวะสุราษฎร์ธานี" ครั้งที่ 13/2565 (20) งานสมัชชาเมืองคนดีสุขถ้วนหน้า ครั้งที่ 1  “สุราษฎร์ธานีสู่ครัวโลก :เพียงพอ ปลอดภัย สมวัย สร้างเศรษฐกิจฐานราก” (21) เวทีถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยน  “ถอยหลังแลหน้า การเขยื้อนเคลื่อนภาคีเครือข่ายสุขภาวะสุราษฎร์ธานี” (22) การประชุมทีมอนุฯสื่อสารสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 2/2565 (23) การประชุมวางแผนการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข" ครั้งที่ 1/2565 (24) การประชุมติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในโครงการ ศวนส (25) การประชุมทีมอนุฯสื่อสารสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 3/2565 (26) การประชุมติดตามการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข" ครั้งที่ 2/2565 (27) การประชุมหารือการขับเคลื่อน model ทดลอง "มะขามเตี้ยแห่งความสุข" ร่วมกับพื้นองค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ย (28) การประชุมวางแนวทางการจัดการข้อมูลทีมอนุฯสื่อสารสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 4/2565 (29) การประชุม เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันต่อการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี รูปแบบ “กองทุนเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี” (30) การประชุมหารือแนวทางการขอรับงบประมาณสนับสนุนโครงการจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี (31) การประชุมหารือแนวทางการขอรับงบประมาณสนับสนุนโครงการและการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงโครงการเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี (32) การประชุมวางระบบฐานข้อมูลโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ  เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (33) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายวิดีทัศน์ ที่มาโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ  เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (34) การประชุมคณะทำงานหารือตัวชี้วัด/และเตรียมงานเวทีพัฒนาพี่เลี้ยงและเปิดชี้แจงการขอรับงบสนับสนุนโครงการฯ (35) การประชุมติดตามการดำเนินงานบูรณากลไกความร่วมมือเพื่อการเสริมสร้างสุขภาวะระดับจังหวัด (36) การประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผนขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายภาคใต้แห่งความสุข (งานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13) และนำเสนอความก้าวหน้าโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.) (37) การประชุมถ่ายทำวิดีทัศน์สวัสดีปีใหม่โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (38) การประชุมเตรียมงานเวทีพัฒนาพี่เลี้ยงและเวทีชี้แจงการขอรับงบสนับสนุนโครงการฯ (39) เวทีพัฒนาพี่เลี้ยงโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (40) เวทีชี้แจงการขอรับงบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (41) การประชุมหารือแนวทางการจ้างที่ปรึกษาโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (42) การศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเด็น “ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่เครื่องมือการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม” ภายใต้กิจกรรมห้องปฏิบัติการสังคมเพื่อการเรียนรู้ : นโยบายสาธารณะเพื่อสร้างความร่วมมือแบบประชารัฐ ภายใต้ชุดวิชานโยบายสาธารณะและการสร้างความร (43) กิจกรรมลงพื้นที่เพื่อเก็บภาพและวิดีโอเพื่อจัดทำสื่อในประเด็น 5 อ (ประเด็นอาหาร) (44) การประชุมเพื่อหารือความร่วมมือการบูรณาการกองทุนเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานีกับภาคเอกชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี (45) การประชุมเพื่อหารือและร่วมออกแบบแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (46) กิจกรรมชวน อสม. มา “บำรุงใจ” รุ่นที่1 (47) การประชุมเพื่อหารือแนวทางขับเคลื่อนแผนงานวิจัย “มะขามเตี้ยแห่งความสุข” ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง (48) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (49) การประชุมติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนแผนงานในโรงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.) (50) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการมะขามเตี้ยแห่งความสุข (51) เวทีอบรมการพัฒนาพี่เลี้ยง โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (52) กิจกรรม ชวน อสม. มา “บำรุงใจ” รุ่นที่ 2 (53) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนมะขามเตี้ยแห่งความสุข ครั้งที่4 (54) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (55) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (56) กิจกรรม วันจบปี จบเดือน รดน้ำผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 (มะขามเตี้ยแห่งความสุข) (57) กิจกรรมศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปฏิญญาอ่าวลันตาการขับเคลื่อนสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (58) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (59) เวทีพัฒนาการเขียนโครงการและการติดตามประเมินผล (60) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนมะขามเตี้ยแห่งความสุข ทีมจัดการขยะ (61) ประชุมถอดบทเรียนศึกษาดูงานเกาะลันตาและมะขามเตี้ยแห่งความสุข (62) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการมะขามเตี้ยแห่งความสุข (63) กิจกรรมจัดทำคลิปประเด็น 5 อ (ออกกำลังกาย) (64) ประชุมร่วม อบจ หารือแนวทางขับเคลื่อนโครงการฯ (65) ประชุมจัดทำแผนข้อมูลโครงการฯ บรรจุเข้าแผนท้องถิ่น (อบจ.) (66) ประชุมเตรียมงานกิจกรรมบูรณาการกลไกจังหวัดฯ (67) กิจกรรมเตรียมงานกิจกรรมบูรณาการกลไกจังหวัดฯ (68) กิจกรรมงานบูรณาการกลไกจังหวัดฯ (69) ประชุมออกแบบแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี (70) กิจกรรมจัดทำสื่อสุขภาวะกลไกจังหวัดระดับพื้นที่ ตอน วิสาหกิจกลุ่มเลี้ยงโคเพื่อพัฒนาสายพันธุ์ตำบลมะขามเตี้ย (71) ประชุมคณะทำงานพัฒนากลไกจังหวัดระดับพื้นที่ (72) ประชุม กสส. (73) ร่วมประชุมหมู่บ้าน (หมู่ที่ 5 ต.มะขามเตี้ย) (74) กิจกรรม ร่วมกับ รพสต.มะขามเตี้ย (75) เวที MOU เขาพัง เพื่อสุขภาวะที่ดีีด้วยกลไก พชต. (76) ประชุมขับเคลื่อนชมรมผู้สูงอายุ (77) กสส ร่วมงานสมัชชาจังหวัด (78) ถอดบทเรียน โครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (79) กิจกรรมจัดทำสื่อสุขภาวะกลไกจังหวัดระดับพื้นที่ ตอน กลุ่มเลี้ยงผึ่งโพรงไทยและปลูกพืชสมุนไพร ต.มะขามเตี้ย (80) กิจกรรมถอดบทเรียน “กสส” สู่การขับเคลื่อนบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี วันที่ 5 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ เรือนไทยในบาง รีสอร์ท จังหวัดสุราษฎร์ธานี (81) การประชุมกลไกบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ระดับพื้นที่ (82) งานสร้างสุขภาคใต้ครั้งที่13 "ภาคใต้้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ" (83) การประชุมกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะคณะระดับพื้นที่ (84) การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ กลไกบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะระดับพื้นที่ (85) การประชุมกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะคณะระดับพื้นที่ (86) เเนวทางขับเคลื่อน กลไกบูรณาการพื้นที่สู่กลไกบูรณาการจังหวัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ กองทุนฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (กลไกจังหวัด)

รหัสโครงการ 65-00336 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

กองทุนฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (กลไกจังหวัด) จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ 65-00336

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ดร.ศิริพร เพ็งจันทร์, )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด