สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

assignment
บันทึกกิจกรรม
จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์และสรุปผลการจัดเวที screening และ scoping30 มีนาคม 2562
30
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย อาจารย์สายสุนีย์ จำรัส
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อวิเคราะห์และสรุปผลจากการจัดเวที

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ผู้วิจัยร่วมกันวิเคราะห์และสรุปผลที่ได้จากการจัดเวที Screening และ Scoping รวมถึงเพิ่มเติมประเด็นต่างๆ ให้รายละเอียดกิจกรรมมีความสมบูรณ์เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ผู้ดำเนินโครงการกำหนดไว้มากที่สุด

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ข้อสรุปรายละเอียดกิจกรรมของโครงการว่าโครงการจะมีกิจกรรมอะไรบ้าง และรายละเอียดในกิจกรรมต่างๆ นั้นเป็นอย่างไร และสามารถทำให้ผู้ดำเนินโครงการสามารถกำหนดกลุ่มเป็าหมายและประเด็นปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพที่ชัดเจนมากขึ้น นั่นคือ กลุ่มเป้าหมายได้แก่ นักเรียนมัธยมต้น และประเด็นปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้แก่ การดื่มเหล้า และการสูบบุหรี่ นอกจากนี้ยังพบประเด็นปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ผ่านมาต่อการดําเนินโครงการฯ ดังนี้ 1) การออกแบบโครงการฯ ที่ยังไม่มีฐานข้อมูลหรือการเตรียมการที่ดี
2) ผู้ทำโครงการและผู้มีส่วนได้เสียขาดความเข้าใจในระบบสุขภาพท้องถิ่น ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่วางไว้ในโครงการได้
3) ขาดการจัดทำแผนการทำงานร่วมระดับพื้นที่ที่จะทำให้สามารถลดความซ้ำซ้อนในด้านงบประมาณ  กิจกรรม และเวลา

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 6 คน จากที่ตั้งไว้ 6 คน
ประกอบด้วย

ทีมผู้วิจัย

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดเวที HIA Screening and Scoping27 มีนาคม 2562
27
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย อาจารย์สายสุนีย์ จำรัส
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดการกำหนดขอบเขตของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

1) ผู้ดำเนินโครงการอธิบายวัตถุประสงค์ ที่มาและความสำคัญ รวมถึงกิจกรรมต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในโครงการ 2) เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซักถามประเด็นต่างๆ ที่มีข้อสงสัย รวมถึงพิจารณาและทบทวนรายละเอียดกิจกรรมสำคัญของโครงการ 3) ผู้วิจัยชี้แจงรายละเอียดบทบาทหน้าที่ และการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ รวมถึงช่วยเติมเต็มรายละเอียดกิจกรรมต่างๆ ที่เห็นว่ามีความสำคัญ อันจะทำให้โครงการสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้านการสูบบุหรี่และดื่มเหล้าในกลุ่มนักเรียนมัธยมต้นโดยกองทุนท้องถิ่น อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช พบประเด็นที่สำคัญดังต่อไปนี้       4.1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ของการมีส่วนร่วม การจัดให้มีการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียทำให้เกิดแกนคณะทำงานโครงการฯ และผลผลิต/ผลลัพธ์ต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับโครงการ แสดงดังต่อไปนี้

  • เกิดแกนคณะทำงานโครงการฯ จำนวน 6 คน
  • คณะทำงานโครงการ สามารถบูรณาการประเด็นปัจจัยเสี่ยงเข้ากับงานเดิมที่ดำเนินการอยู่
  • เกิดกลไก/เครือข่าย คือศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง สคล.ใต้บน สพม. 12  เครือข่ายเยาวชนนครศรีธรรมราช พี่เลี้ยงกองทุนตำบล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ชมรมผู้สูงอายุ
  • เกิดทีมสนับสนุน จำนวน 2 คน
  • เกิดเครือข่ายเยาวชน จำนวน 12 เครือข่าย
  • เกิดแกนนำ/พี่เลี้ยง เยาวชน จำนวน 20 คน
  • เกิดการนำเสนอประเด็นปัจจัยเสี่ยงต่อฝ่ายนโยบายในจังหวัดนครศรีธรรมราช เช่น การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง การจัดงานโดยไม่มีเหล้าและบุหรี่
  • เกิดมติสมัชชาสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช ประเด็นการปกป้องเด็กและเยาวชนจากเหล้า บุหรี่ แบบบูรณาการ
  • เกิดแกนนำปฏิบัติการหลักระดับกองทุน 6 คน
  • เกิดการสนับสนุนการดำเนินงานของกองทุนฯ จำนวน 6 กองทุน
  • เกิดกองทุนฯ ที่ดำเนินโครงการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงนำร่อง จำนวน 10 โครงการ (6 กองทุน)
  • เกิดการดำเนินงานด้านการลดปัจจัยเสี่ยง ขยายผลในระดับคือ จังหวัด อำเภอ ตำบล (อำเภอเมืองอยู่ในขั้นรอการนำเสนอ)
  • เกิดกระบวนการทำงานที่เป็นขั้นตอน
  • มีข้อมูลด้านปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด ของเด็กและเยาวชน ระดับมัธยมต้น ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จากการศึกษาเชิงสำรวจ (survey study) ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
  • องค์กร/หน่วยงานให้การยอมรับในฐานข้อมูล เนื่องจากมีการรับรองโดยสถาบันการศึกษาคือ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ความร่วมมือด้านการลดปัจจัยเสี่ยงกับสถานศึกษาระดับมัธยมในเขตอำเภอเมือง และ สพม.12
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 21 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

1) ผู้ดำเนินโครงการ 2) ทีมผู้วิจัย 3) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งประกอบไปด้วยตัวแทนจากกลุ่มต่างๆ ในระบบสุขภาพชุมชน ได้แก่
        3.1) กลุ่มหรือองค์กรประชาชน จํานวน 1 คน ซึ่งเป็นตัวแทนจากจากประชาคมงดเหล้า 3.2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จํานวน 6 คน ซึ่งเป็นผู้แทนจากกองทุนสุขภาพตำบล จำนวน 6 ตำบล 3.3) องค์กรด้านสุขภาพ จํานวน 1 คน ซึ่งเป็นตัวแทนจากสำนักหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 11
3.4) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 จํานวน 1 คน         3.5) องค์กรทางวิชาการ จํานวน 1 คน ซึ่งเป็นอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมเตรียมความพร้อมก่อนการจัดเวที HIA Screening and Scoping12 กุมภาพันธ์ 2562
12
กุมภาพันธ์ 2562รายงานจากพื้นที่ โดย อาจารย์สายสุนีย์ จำรัส
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการจัดเวที HIA Screening and Scoping

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ทีมวิจัยที่ประเมินโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถวางกรอบการดำเนินการจัดเวที HIA Screening and Scoping ได้แก่ วันที่จะจัด ลักษณะการจัดเวที ภาคีเครื่อข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่จะเข้าร่วมเวที

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 8 คน จากที่ตั้งไว้ 8 คน
ประกอบด้วย

ทีมวิจัยที่ประเมินโครงการ และทีม สจรส

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

การประชุมเพื่อวิเคราะห์ และสรุปผลการทบทวนเอกสาร/โครงการ30 มิถุนายน 2561
30
มิถุนายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย อาจารย์สายสุนีย์ จำรัส
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อวิเคราะห์ และสรุปผลการทบทวนโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ร่วมกันทบทวนและวิเคราะห์รายละเอียดต่างๆ ได้แก่ กิจกรรมของโครงการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และภาคีที่เกี่ยวข้อง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้วิจัยสามารถเติมเต็มกิจกรรมต่างๆ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และภาคีที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ที่จะทำให้การดำเนินโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการได้อย่างแท้จริง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 8 คน จากที่ตั้งไว้ 6 คน
ประกอบด้วย

ผู้วิจัย

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

การประชุมเตรียมความพร้อม HIA Public Screening ระหว่างทีมวิจัยและผู้ดำเนินโครงการ22 มิถุนายน 2561
22
มิถุนายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย อาจารย์สายสุนีย์ จำรัส
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมความพร้อมในการกลั่นกรองและทบทวนรายละเอียดของกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ดำเนินโครงการและผู้วิจัย

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ผู้ดำเนินโครงการ ผู้วิจัยซึ่งทำหน้าที่ประเมินโครงการ และทีม สจรส ประชุมร่วมกันเพื่อพิจารณาละเอียดโครงการ และร่วมกันทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโครงการในลักษณะที่คล้ายคลึงกับโครงการทั้ง 5 โครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ความเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับรายละเอียดกิจกรรมของโครงการรวมถึง ได้ประเด็นเพิ่มเติม เพื่อระบุในรายละเอียดในกิจกรรมของโครงการ จากการทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 16 คน จากที่ตั้งไว้ 16 คน
ประกอบด้วย

1) ผู้ดำเนินโครงการ 2) ผู้วิจัยซึ่งทำหน้าที่ประเมินโครงการ 3) ทีม สจรส

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

การประชุมเตรียมความพร้อม HIA Public Screening17 มิถุนายน 2561
17
มิถุนายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย อาจารย์สายสุนีย์ จำรัส
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมความพร้อมในการกลั่นกรองและทบทวนรายละเอียดของกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ทีมผู้วิจัยร่วมกันพิจารณาและทบทวนรายละเอียดโครงการทั้ง 5 โครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างผู้วิจัยทั้ง 5 โครงการ ในประเด็นต่างๆ ได้แก่ ที่มาความสำคัญ วัตถุประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ หน่วยงานภาคีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และโดยเฉพาะอย่างนิ่งรายละเอียดกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในโครงการแต่ละโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 6 คน จากที่ตั้งไว้ 6 คน
ประกอบด้วย

ทีมวิจัยซึ่งเป็นทีมประเมินโครงการต่างๆ ทั้ง 5 โครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี