สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (งานบริหารกลาง)

วางแผนงาน 25 ส.ค.65 (ครั้งที่ 8/2565)25 สิงหาคม 2565
25
สิงหาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • แผนภาพ อ.พงคืเทพ.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การประชุมวางแผนการติดตามความก้าวหน้างานโครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ติดตามความก้าวหน้าดังนี้
1. ผลสถานการณ์การมีกิจกรรมทั้ง 5 พื้นที่ ได้แก่ ม.อ.ภูเก็ต เขาหลัก ย่านเมืองเก่า ป่าตอง สะพานหิน 2. ผลการออกแบบด้านสถาปตยกรรม 3. กิจกรรมที่จะเกิดขึ้นใน 5 พื้นที่
4. ความก้าวหน้างาน
5. แผนการใช้เงิน


พื้นที่ ม.อ. ภูเก็ต
จากพื้นที่สาธารณะใน มอ.ยังขาดการใช้ประโยชน์ให้เต็มประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการใช้พื้นที่เพื่อมีกิจกรรรมทางกายและการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพให้คนในพื้นที่มีสุขภาพที่ดี เช่น ใน ม.อ.มีศูนย์กีฬาแต่คนเข้ามาใช้ประโยชน์ยังน้อยอยู่ คนรอบๆ ม.อ.ยังไม่ได้มีส่วนร่วมเข้ามาใช้ประโยชน์
พื้นที่สาธารณะ ม.อ.ภูเก็ต เช่น
- ศูนย์กีฬา (มีฟิตเนส, เต้นแอโรบิค, สนามบอล, สนามเทนนิส, สนามบาส, สระว่ายน้ำ)
- อาคารเรียน
- หอพัก
- โรงแรม
- อ่างเก็บน้ำ
ส่วนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาใช้ประโยชน์ มีดังนี้
- เครือข่ายผู้สูงอายุ/ผู้พิการ
- อสม. - เครือข่ายชุมชน/ชมรมกีฬา
- ประชาชนทั่วไปรอบๆ ชุมชน ม.อ. - นักศึกษา - บุคลากร
- ผู้ประกอบการ/Event

กิจกรรมทางกายที่สามารถทำได้ใน ม.อ.ภูเก็ต
- เดิน/วิ่ง - กีฬา - กิจกรรมนันทนาการ / การละเล่น
- กิจกรรมกลุ่ม - มีชมรม / เครือข่ายมาใช้พื้นที่

การเข้ามาใช้พื้นที่เป็น ประจำ หรือ Event เป็นช่วงๆ

กระบวนการ 1. วิเคราะห์พื้นที่ใน ม.อ.ภูเก็ต ว่าสามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่ทำกิจกรรมโปรแกรมอะไรได้บ้าง / และจะออกแบบพื้นที่อย่างไร
2. วิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถเข้ามาใช้ทำกิจกรรมอะไรได้บ้าง
3. เก็บข้อมูลสถานการณ์ PA และระดมความคิดเห็นร่วมกันออกแบบการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ ม.อ.ภูเก็ต

การเก็บข้อมูลสถานการณ์ PA (วางแผน: อยู่ไหน จะไปไหน ไปอย่าง ไปถึงหรือยัง) วิธีการเก็บ > ประชุมแต่ละกลุ่มวิเคราะห์สถานการณ์ PA / เป้าหมาย อยากให้สุขภาพดีขึ้นอย่างไร/ PA ดีขึ้นอย่างไร
(อยู่ไหน)
ประชุมแต่ละกลุ่มวิเคราะห์สถานการณ์ PA / สถานการณ์สุขภาพ (จะไปไหน) สุขภาพดีขึ้น ? PA ที่เพียงพอเพิ่มขึ้น ? (ไปอย่างไร) จะมีกิจกรรมอะไร > มาออกแบบกิจกรรม
(ไปถึงหรือยัง) ติดตามประเมินประเมินผล > ประชุมสรุปบทเรียน

  1. ผล 4.1 Map พื้นที่ ม.อ. / รอบๆ ม.อ. 4.2 กลุ่ม stakeholder / กลุ่มเครือข่าย
    4.3 โปรแกรมกิจกรรม
    4.4 ผลการออกแบบสถาปนิค
    4.5 ผลจากแบบสอบถาม PA
    4.6 จัดเวที /ปรับแบบ/ทดลองใช้/นำไปใช้