สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ”

4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง

หัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล

ชื่อโครงการ แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช

ที่อยู่ 4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ - เลขที่ข้อตกลง 61-ข-029

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2562


กิตติกรรมประกาศ

"แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช



บทคัดย่อ

โครงการ " แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ 4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง รหัสโครงการ - ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 190,850.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 520 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โภชนาการ (nutrition) คือ สภาวะทางร่างกายที่เป็นผลมาจากการได้รับอาหาร (food) ที่เหมาะสมและเพียงพอสอดคล้องกับความต้องการของร่างกายในแต่ละวัย ผู้มีภาวะโภชนาการดีย่อมมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดี เจ็บป่วยน้อยและแข็งแรงกว่าผู้มีภาวะโภชนาการด้อย เด็กที่มีสุขภาพดีย่อมเรียนรู้ได้ดี และผู้ที่แข็งแรงย่อมมีประสิทธิภาพในการทำงาน สำหรับผู้มีภาวะทุพโภชนาการ จะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย ความสามารถในการต้านทานโรคลดลง และการเจริญเติบโตของสมองและสติปัญญาช้าลง หลายประเทศประสบกับปัญหาทุพโภชนาการ ทั้งปัญหาการขาดสารอาการและปัญหาภาวะโภชนาการเกิน ถึงแม้ว่าปัญหาทั้งสองอาจจะเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน แต่ในระยะยาวบุคคลที่มีการขาดสารอาหารอาจจะกลายเป็นผู้ที่มีปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนได้ ซึ่งอาจจะมีหลายปัจจัยเป็นตัวกระตุ้นและการจัดการปัญหานี้เป็นไปค่อนข้างยาก ประเทศไทยเป็นกรณีศึกษาที่ดีในการจัดการปัญหาการขาดสารอาหารในกลุ่มเด็ก ซึ่งสามารถลดจำนวนเด็กที่ขาดสารอาหารภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งปัจจัยความสำเร็จที่ผ่านมาเกิดจากความร่วมมือของชุมชน อาสาสมัคร และเครือข่ายในทุกระดับ ทั้งภาครัฐและภาคประชาสังคม อย่างไรก็ตามจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดำรงชีวิตของคนภายในประเทศ และการเปลี่ยนแปลงทางประชากรที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประกอบกับรูปแบบครอบครัวที่เปลี่ยนไป กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ที่อยู่อาศัยอยู่ในพื้นที่จำกัดไม่มีการปลูกพืชผักสวนครัวกินเอง นอกจากนั้นการเปลี่ยนแปลงในเชิงวัฒนธรรมของประเทศทั้งเชิงธุรกิจ เป็นธุรกิจออนไลน์มากขึ้น สะดวกรวดเร็วไม่ต้องเคลื่อนไหวร่างกายมากนัก มีวัฒนธรรมการกินที่เน้นการอาหารพร้อมบริโภคและมักมีพลังงานสูง เช่น อาหารขยะ (Junk food) รวมทั้งการมีร้านค้าข้างถนนมากมายที่ขายเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น ชา กาแฟ ซึ่งมีส่วนผสมของน้ำตาลและนมข้นหวาน อาจนำสู่ภาวะโรคอ้วน และกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนในภาพรวม การดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการให้เหมาะสมกับช่วงวัย จึงมีความสำคัญโดยเฉพาะประเด็นโรคอ้วนซึ่งมีแนวโน้นเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนในทุกกลุ่มวัย การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (health impact assessment; HIA) จึงมีความสำคัญเพื่อวิเคราะห์ว่านโยบาย แผนงาน โครงการพัฒนาหรือกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อภาวะโภชนาการของกลุ่มวัยต่างๆอย่างไร ซึ่งการประเมินผลกระทบทางสุขภาพทั้งในทางบวกและทางลบ เป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญต่อการสร้างความตระหนักและสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแล้ว และคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งกำหนดยุทธศาสตร์ มาตรการและแผนปฏิบัติการสร้างเสริมโภชนาการสมวัย ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงได้ดำเนินการวิจัยนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพต่อการดำเนินงานโภชนาการสมวัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดนครศรีธรรมราช

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1) สถานการณ์ภาวะโภชนาการและการบริโภคของกลุ่มวัย ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
  2. 2) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของแต่ละกลุ่มวัย ได้แก่ นโยบาย แผนงาน มาตรการ โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. 3) ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการดำเนินงานภาวะโภชนาการสมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมครั้งที่ 1 : ชี้แจงโครงการวิจัย

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทีมวิจัยชี้แจงการทำโครงการวิจัย HIA และวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้แผนงานการทำวิจัยในช่วงเดินกุมภาพันธ์ ถึง สิงหาคม 61

     

    10 10

    2. ลงพื้นที่ประสานทำความเข้าใจโครงการ

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่ประสานทำความเข้าใจโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงพื้นที่ประสานทำความเข้าใจโครงการ

     

    5 5

    3. ประชุมครั้งที่ 2 : ประชุมเตรียมการลงเก็บข้อมูล/จัดทำแบบสอบถาม

    วันที่ 1 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทีมวิจัยจัดทำแบบสอบถาม และวางแผนการลงพื้นที่เก็บข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้เครื่องมือแบบสอบถามภาวะโภชนาการสมวัยในระดับตำบล และกำหนดช่วงเวลาลงพื้นที่เก็บข้อมูล

     

    10 10

    4. ลงพื้นที่ทำความเข้าใจในการเก็บข้อมูล ประเมินยุทธศาสตร์ใน 4 อปท.

    วันที่ 20 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่ทำความเข้าใจในการเก็บข้อมูล ประเมินยุทธศาสตร์ใน 4 อปท.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • อบต.ทั้ง 4 มีความเข้าใจต่อเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านโภชนาการสมวัย

     

    4 4

    5. อบรมการรายงานผลกิจกรรมของโครงการและการจัดทำรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์

    วันที่ 19 มิถุนายน 2561 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เรียนรู้การจัดทำรายงานกิจกรรมบนเว็บไซต์ พร้อมฝึกปฏิบัติและซักถามเมื่อมีข้อสงสัย
    2. ได้จัดทำปฏิทินการดำเนินงานโครงการ
    3. แลกเปลี่ยนการจัดการเงินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถรายงานผลกิจกรรมบนเว็บไซต์ได้ และได้ฝึกทดลองทำ 1 กิจกรรม
    2. ได้เรียนรู้การรายงานผลออนไลน์ที่สามารถทำได้ทุกเวลา และทาง สจรส.ซึ่งเป็นผู้ติดตามให้คำแนะนำได้ตลอดเวลา

     

    10 15

    6. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ตำบลหูล่อง/ตำบลเขาแก้ว/ตำบลจันดี/ตำบลไสหร้า

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล และ อ.สิทธิพรรณ เรือนจันทร์ ลงพื้นที่ อบต.เขาแก้ว และ รพ.สต.ร่อนพิบูลย์ ต.เขาแก้ว อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช เพื่อเก็บข้อมูลภาวะโภชนาการสมวัย และเตรียม work shop คืนข้อมูลผลการสำรวจภาวะโภชนาการ ในเดือนตุลาคม 2561

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลภาวะโภชนาการใน ต.เขาแก้ว ดังรายละเอียด

    1.วัยทารก (แรกเกิด – 1 ปี) จำนวน 32 คน พบว่า 1.1น้ำหนัก - น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 9 คน
    - น้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 13 คน
    - น้ำหนักค่อนข้างมาก จำนวน 1 คน - น้ำหนักมากเกินเกณฑ์ จำนวน 9 คน 1.2ส่วนสูง - เตี้ย จำนวน 8 คน - ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 1 คน - ตามเกณฑ์ 14 คน - ค่อนข้างสูง จำนวน 3 คน - สูงกว่าเกณฑ์ จำนวน 6 คน

    2.วัยก่อนเรียน (1-5 ปี) จำนวน 69 คน 2.1น้ำหนัก - น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 7 คน - น้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน 5 คน
    - น้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 47 คน
    - น้ำหนักค่อนข้างมาก จำนวน 3 คน - น้ำหนักมากเกินเกณฑ์ จำนวน 7 คน 2.2ส่วนสูง - เตี้ย จำนวน 15 คน - ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 3 คน - ตามเกณฑ์ 36 คน - ค่อนข้างสูง จำนวน 3 คน - สูงกว่าเกณฑ์ จำนวน 12 คน

    3.วัยเรียน (6-12 ปี) จำนวน 37 คน 3.1น้ำหนัก - น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 0 คน - น้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน 4 คน
    - น้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 28 คน
    - น้ำหนักค่อนข้างมาก จำนวน 2 คน - น้ำหนักมากเกินเกณฑ์ จำนวน 3 คน 3.2ส่วนสูง - เตี้ย จำนวน 0 คน - ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 4 คน - ตามเกณฑ์ 28 คน - ค่อนข้างสูง จำนวน 2 คน - สูงกว่าเกณฑ์ จำนวน 3 คน

     

    50 4

    7. ยื่นขอจริยธรรมการวิจัย

    วันที่ 27 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ยื่นขอจริยธรรมการวิจัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ยื่นขอจริยธรรมการวิจัย

     

    1 1

    8. สำรวจภาวะโภชนาการในตำบลหูล่อง อ.ปากพนัง

    วันที่ 30 สิงหาคม 2561 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล และ อ.สิทธิพรรณ เรือนจันทร์ ลงพื้นที่ อบต.หูล่อง และ รพ.สต.บ้านบางน้อง ต.หูล่อง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช เพื่อเก็บข้อมูลภาวะโภชนาการ และเตรียม work shop คืนข้อมูลผลการสำรวจภาวะโภชนาการในเดือนตุลาคม 2561

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ข้อมูลภาวะโภชนาการภาวะโภชนาการแต่ละกลุ่มวัย ดังรายละเอียด

    1.วัยทารก (แรกเกิด – 1 ปี) จำนวน 20 คน 1.1น้ำหนัก - น้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 5 คน - ค่อนข้างน้อย จำนวน 0 คน - ตามเกณฑ์ จำนวน 11 คน - ค่อนข้างมาก จำนวน 0 คน - มากเกินเกณฑ์ จำนวน 4 คน 1.2ส่วนสูง - เตี้ย จำนวน 7 คน - ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 2 คน - ตามเกณฑ์ 5 คน - ค่อนข้างสูง 2 คน - สูงกว่าเกณฑ์ 4 คน

    2.วัยก่อนเรียน (1-5 ปี) จำนวน 89 คน 2.1น้ำหนัก - น้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 0 คน - ค่อนข้างน้อย จำนวน 8 คน - ตามเกณฑ์ จำนวน 57 คน - ค่อนข้างมาก จำนวน 5 คน - มากเกินเกณฑ์ จำนวน 19 คน 2.2ส่วนสูง - เตี้ย จำนวน 14 คน - ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 2 คน - ตามเกณฑ์ 42 คน - ค่อนข้างสูง 3 คน - สูงกว่าเกณฑ์ 28 คน

    3.วัยเรียน (6-12 ปี) จำนวน 47 คน 3.1น้ำหนัก - น้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 0 คน - ค่อนข้างน้อย จำนวน 6 คน - ตามเกณฑ์ จำนวน 1 คน - ค่อนข้างมาก จำนวน 29 คน - มากเกินเกณฑ์ จำนวน 6 คน 3.2ส่วนสูง - เตี้ย จำนวน 5 คน - ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 4 คน - ตามเกณฑ์ 25 คน - ค่อนข้างสูง 2 คน - สูงกว่าเกณฑ์ 11 คน

     

    15 4

    9. ลงพื้นที่วางแผนการประชุมในพื้นที่ 4อปท. (ต.หูล่อง/ต.เขาแก้ว/ต.จันดี/ต.ไสหร้า)

    วันที่ 4 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่วางแผนการประชุมในพื้นที่ 4 อปท. (ต.หูล่อง/ต.เขาแก้ว/ต.จันดี/ต.ไสหร้า)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้กำหนดวันจัดประชุมข้อมูลผลการวิจัยภาวะโภชนาการสมวัยใน 4 ตำบล

     

    50 4

    10. ประชุมครั้งที่ 3 : สรุปวิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการ และพฤติกรรมการบริโภค

    วันที่ 15 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดประชุมทีมวิจัยสรุปวิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    10 10

    11. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เวทีคืนข้อมูลภาวะสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ใน 3 อบต. (เขาแก้ว/หูล่อง/จันดี)

    วันที่ 5 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดย ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล ผศ.ดร.เกียรติกำจร กุศล ผศ.ดร.เรวดี เพชรศิราสัณห์ อ.สุดา ใจห้าว อ.จิราวรรณ คล้ายวิเศษ และ อ.ชุติมา รอดเนียม ร่วมเปิดเวทีคืนข้อมูลภาวะสุขภาพ 5 กลุ่มวัย แก่ คณะทำงานโภชนาการสมวัยของ อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง และร่วมกันมองภาพอนาคตให้เกิดแผนงานโครงการปี 2561 ให้สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและศักยภาพตำบล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ผลการวิจัยการด้านโภชนาการสมวัยใน 3 ตำบล ว่า ข้อมูลจากการศึกษาสถานการณ์ และข้อมูลยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ได้นำไปสู่การเขียนโครงการใช้เงินกองทุนตำบลเพื่อปฏิบัติการตามแผนงานยุทธศาสตร์อาหารในแต่ละตำบล

     

    50 50

    12. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เวทีคืนข้อมูลสุขภาวะ 5 กลุ่มวัย อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง

    วันที่ 22 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทีมคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดย ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล ผศ.ดร.เกียรติกำจร กุศล ผศ.ดร.เรวดี เพชรศิราสัณห์ อ.สุดา ใจห้าว อ.จิราวรรณ คล้ายวิเศษ และ อ.ชุติมา รอดเนียม ร่วมเปิดเวทีคืนข้อมูลภาวะสุขภาพ 5 กลุ่มวัย แก่ คณะทำงานโภชนาการสมวัยของ อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง และร่วมกันมองภาพอนาคตให้เกิดแผนงานโครงการปี 2561 ให้สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและศักยภาพตำบล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ระดมสอง และมีการทบทวนสถานการณ์โภชนาการเพิ่มเติม รวมทั้งการประเมินยุทธศาสตร์อาหาร พบว่า มีการเขียนโครงการของทุนกองทุนตำบลเพื่อดำเนินงานด้านโภชนาการให้บรรลุตามแผนยุทธศาสตร์อาหาร

     

    50 30

    13. ประชุมครั้งที่4 : ประชุมวิเคราะห์ข้อมุลเชิงคุณภาพ

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมครั้งที่4 : ประชุมวิเคราะห์ข้อมุลเชิงคุณภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    10 10

    14. ประชุมครั้งที่ 5 : ประชุมสรุปข้อมูล และเตรียมนำเสนอการวิจัย

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทีมวิจัยเพื่อจัดทำข้อมูลยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้นโภชนาการสมวัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารประเด็นโภชนาการสมวัย และเป็นข้อมูลนำเข้าเวทีทบทวนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับจังหวัด

     

    10 10

    15. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลจันดี

    วันที่ 24 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมติดตามแผนงานโครงการ แผนภาวะโภชนาการสมวัยในระดับตำบลจันดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการประชุมพบว่า แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับตำบลจันดี ด้านภาวะโภชนาการได้นำเข้าสู่แผนเทศบาลและใช้งบกองทุนตำบลในการจัดการ

     

    8 8

    16. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลไสหร้า

    วันที่ 25 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมติดตามแผนงานโครงการ แผนภาวะโภชนาการสมวัยในระดับตำบลไสหร้า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการประชุมพบว่า แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับตำบลไสหร้า ด้านภาวะโภชนาการได้นำเข้าสู่แผนเทศบาลและใช้งบกองทุนตำบลในการจัดการดำเนินโครงการ

     

    7 7

    17. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลเขาแก้ว

    วันที่ 26 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมติดตามแผนงานโครงการ แผนภาวะโภชนาการสมวัยในระดับตำบลเขาแก้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการประชุมพบว่า แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับตำบลเขาแก้ว ด้านภาวะโภชนาการได้นำเข้าสู่แผนเทศบาลและใช้งบกองทุนตำบลในการจัดการดำเนินโครงการ

     

    7 7

    18. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลหูล่อง

    วันที่ 29 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมติดตามแผนงานโครงการ แผนภาวะโภชนาการสมวัยในระดับตำบลหูล่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการประชุมพบว่า แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับตำบลหูล่อง ด้านภาวะโภชนาการได้นำเข้าสู่แผนเทศบาลและใช้งบกองทุนตำบลในการจัดการดำเนินโครงการ

     

    7 7

    19. การถอดเทป การประชุมติดตามโครงการ 4 ตำบล

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอดเทป การประชุมติดตามโครงการ 4 ตำบล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ข้อมูลผลการติดตามแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านโภชนาการทั้ง 4 ตำบล

     

    1 1

    20. การเขียนรายงาน เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มวัย

    วันที่ 15 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รายงานฉบับสมบูรณ์

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1) สถานการณ์ภาวะโภชนาการและการบริโภคของกลุ่มวัย ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : 1. ข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการทุกกลุ่มวัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช

     

    2 2) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของแต่ละกลุ่มวัย ได้แก่ นโยบาย แผนงาน มาตรการ โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    ตัวชี้วัด : 1. ข้อมูลปัจจัยสาเหตุของปัญหาการส่งเสริมงานโภชนาการในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. มีการจัดเวทีและลงเก็บข้อมูลในพื้นที่และกลุ่มที่เกี่ยวข้อง

     

    3 3) ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการดำเนินงานภาวะโภชนาการสมวัย
    ตัวชี้วัด : 1. มีร่างแผนยุทธศาสตร์ประเด็นภาวะโภชนาการสมวัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) สถานการณ์ภาวะโภชนาการและการบริโภคของกลุ่มวัย ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ (2) 2) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของแต่ละกลุ่มวัย ได้แก่ นโยบาย แผนงาน มาตรการ โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (3) 3) ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการดำเนินงานภาวะโภชนาการสมวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ -

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด