สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา ”

ตำบลพรุใน ทั้ง 7 หมู่บ้าน

หัวหน้าโครงการ
สาลินี ประพฤติ

ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา

ที่อยู่ ตำบลพรุใน ทั้ง 7 หมู่บ้าน จังหวัด พังงา

รหัสโครงการ - เลขที่ข้อตกลง 60-ข-088

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 มกราคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา จังหวัดพังงา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพรุใน ทั้ง 7 หมู่บ้าน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา



บทคัดย่อ

โครงการ " การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพรุใน ทั้ง 7 หมู่บ้าน รหัสโครงการ - ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 มกราคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอย ถือได้ว่าเป็นปัญหาระดับชาติที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ให้ความสำคัญและต้องร่วมมือกันแก้ไขอย่างเต็มความสามารถ เพราะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนทุกระดับตั้งแต่องค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาลตำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร และนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ตลอดจนพฤติกรรมการอุปโภคบริโภคของคนเริ่มเปลี่ยนไป จากเดิมที่เคยใช้ตะกร้าเวลาไปจ่ายตลาด ใช้ปิ่นโตใส่อาหาร ใช้ใบตองหรือใบบัวซึ่งเป็นวัสดุที่ย่อยสลายได้ง่ายห่ออาหาร แต่ปัจจุบันมีการใช้สินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์จำพวกพลาสติก โฟม แก้ว กระดาษ โลหะ อลูมิเนียม เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้เกิดมูลฝอยสูงขึ้นตามไปด้วย ผลกระทบที่ตามมา มีทั้งความสูญเสียทางด้านสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำ ดินเสื่อมสลาย ความเสียหายจากเหตุรำคาญส่งกลิ่นเหม็นรบกวน รวมถึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหะนำโรค เสียหายต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจและสิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย ส่งผลทำให้การจัดการขยะมูลฝอยไม่มีประสิทธิภาพ (กรมควบคุมมลพิษ, 2559)
จากปัญหาขยะมูลฝอยของประเทศ รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย ได้กำหนดแผนงานการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย เพื่อให้เกิดการดำเนินงานในทิศทางเดียวกันและหนุนเสริมการดำเนินงานซึ่งกันและกัน ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ 1) เร่งการจัดการขยะมูลฝอยสะสมในสถานที่กำจัดขยะพื้นที่วิกฤติ 2) ให้มีรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อจัดการกับขยะที่เข้ามาใหม่ โดยเน้นการคัดแยกขยะ ตั้งแต่ต้นทางและแปรรูปพลังงานจากขยะ 3) จัดระเบียบมาตรการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 4) การสร้างวินัยของคนในชาติมุ่งสู่การจัดการที่ยั่งยืน และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้จัดทำแผนแม่บทการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564) ซึ่งเป็นกรอบและทิศทางการดำเนินการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของประเทศ ได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติ 5 ด้าน ได้แก่ 1) การลดปริมาณขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 2) เพิ่มศักยภาพการจัดเก็บและขนส่งขยะขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 3) เพิ่มศักยภาพการกำจัดและการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 4) พัฒนาและปรับปรุง กฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ ในการจัดการขยะ มูลฝอยและของเสียอันตราย 5) สนับสนุนการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย (กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561) การจัดการขยะรีไซเคิล ถือเป็นหลักการหนึ่ง จากหลักการ 3Rs (Reduce-Reuse-Recycle)ในการจัดการขยะตามแนวคิดขยะเหลือศูนย์ (ปลอดขยะ :Zero Waste) เป็นแนวคิดในการส่งเสริมการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ เพื่อให้ทรัพยากรถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และลดขยะให้เหลือน้อยที่สุด การคัดแยกขยะรีไซเคิลแต่ละประเภทเพื่อให้ง่ายต่อการนำไปรีไซเคิล การนำไปขาย การบริจาค การนำเข้าธนาคารขยะ และกิจกรรมขยะแลกไข่ เพื่อเข้าสู่วงจรของการนำกลับไปรีไซเคิล รวมทั้งการประดิษฐ์และออกแบบผลิตภัณฑ์ให้สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ หัวใจสำคัญของแนวคิดขยะเหลือศูนย์คือ การจัดการขยะที่ต้นทาง จากแหล่งกำเนิดขยะระดับครัวเรือน ขยายไปสู่ชุมชน จนกระทั่งองค์กร ภาครัฐ เอกชน ต่าง ๆ ในพื้นที่ซึ่งต้องอาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน อันจะส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยลดลงในภาพรวมของประเทศได้ (ศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่นี่ปลอดขยะ, 2559) พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหม่ในการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างพอเพียง เพื่อมุ่งสู่ชุมชนปลอดขยะอย่างแท้จริง และขยายต่อจนกลายเป็นสังคมรีไซเคิล
ปัจจุบันชุมชนได้ให้ความสำคัญและตระหนักถึงการจัดการขยะรีไซเคิลมากยิ่งขึ้น ซึ่งนอกจากจะช่วยลดปริมาณขยะแล้ว ยังทำให้ขยะที่ดูไร้ค่ามีประโยชน์ หรือสร้างให้ขยะมีมูลค่าเป็นรายได้ให้แก่ชุมชนได้อีกด้วย ส่วนใหญ่เน้นการส่งเสริม และสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะในชุมชนอย่างเป็นระบบแบบแผนมากยิ่งขึ้น มีคณะกรรมการในการบริหารจัดการดูแลกิจกรรมโครงการต่าง ๆ อย่างจริงจัง เช่น การจัดตั้งกองทุนขยะรีไซเคิล การจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลขึ้น เหล่านี้ เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้สมาชิกในชุมชนหันมาลงมือคัดแยกขยะตั้งแต่ระดับครัวเรือน สรุปได้ว่าการสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่นั้น โดยใช้หลัก 8 ก. เข้ามาจัดการ ได้แก่ 1.แกนนำ รับผิดชอบและขับเคลื่อนงาน 2.กัลยาณมิตร สร้างภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนงาน 3.กองทุน ระดมทรัพยากรเพื่อเป็นกองทุนของชุมชน 4.การจัดการชัดเจน 5.การเรียนรู้ของชุมชน 6.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความตื่นตัวของชุมชน 7.กระบวนการพัฒนา เสริมศักยภาพคนในชุมชน และ 8.กฎกติกา เป็นแนวทาง ข้อปฏิบัติร่วมกัน (สำนักข่าวสร้างสุข, 2553) ดังนั้น การดำเนินการบริหารจัดการขยะรีไซเคิลในชุมชน มีปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ คือ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการสร้างเครือข่ายและสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการขยะรีไซเคิล เพื่อยกระดับขีดความสามารถด้านการบริหารจัดการขยะรีไซเคิล รวมทั้งการเสริมสร้างองค์ความรู้และการปลูกจิตสำนึกของประชาชนในทุกระดับ ตำบลพรุใน เป็นพื้นที่เกาะในเขตอำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา เป็นเกาะที่เป็นจุดศูนย์กลางการท่องเที่ยวระหว่างจังหวัดกระบี่ และจังหวัดภูเก็ต มีจำนวนประชากรประมาณ 6,000 คน ครัวเรือนจำนวน 1,600 ครัวเรือน นักท่องเที่ยวเฉลี่ยประมาณ 5,000 คน ต่อเดือน และประชากรแอบแฝงอีก 2,858 คนต่อเดือน จากการประเมินปริมาณขยะมูลฝอย ส่วนใหญ่เป็นขยะเปียก ร้อยละ 43.54 และขยะรีไซเคิลร้อยละ 42.58 (แผนจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายตำบลพรุใน, 2558-2562) ซึ่งจากการดำเนินงานที่ผ่านมา ได้มีแผนงานโครงการรองรับ ในการจัดการทั้งขยะเปียกและขยะรีไซเคิล แต่ที่ยังเป็นประเด็นปัญหาและเป็นอุปสรรคยังไม่สามารถแก้ได้อย่างยั่งยืนนั้น คือ ปัญหาขยะรีไซเคิล ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้นตามจำนวนนักท่องเที่ยวและการเพิ่มขึ้นของสถานประกอบการอย่างแน่นอน
จากปัญหาดังกล่าว เทศบาลตำบลพรุใน กำลังประสบปัญหาในการจัดการขยะรีไซเคิล ทำให้ เกิดข้อจำกัดด้านพื้นที่ เนื่องจากเป็นพื้นที่เกาะและเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน จากการดำเนินงานการจัดการขยะรีไซเคิล ตลอดระยะเวลา 3 ปี ที่ผ่านมา ชุมชนร่วมค้นหาปัญหา สาเหตุ การร่วมกันวางแผน ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนในพื้นที่ เพื่อลดปริมาณขยะรีไซเคิล แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และการจัดการขยะรีไซเคิลอย่างจริงจัง ดังนั้น การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน (community health impact assessment: CHIA) ถือเป็นทางออกหนึ่ง ซึ่งจะเป็นทางเลือกที่ดี สำหรับการดำเนินการเพื่อเป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชนในการจัดการขยะรีไซเคิล การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน เป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชนต่อการกำหนดวิถีชีวิต ที่มีการประยุกต์ใช้ แนวทาง เครื่องมือ ที่หลากหลายในการวิเคราะห์ คาดการณ์ถึงผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางบวกและทางลบ ที่เกิดขึ้นแล้วหรืออาจจะเกิดขึ้นกับประชาชนจากการดำเนินนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม เพื่อสนับสนุน การตัดสินใจที่ก่อให้เกิดความสมดุลในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ นำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ผลดีทางสุขภาพและสุขภาวะชุมชน ถือได้ว่า เป็นกระบวนการหนึ่งที่จะเป็นทางออกการแก้ไขปัญหาของชุมชนในการจัดการขยะรีไซเคิลพื้นที่ตำบลพรุในได้
ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งศึกษากระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชนใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ การกลั่นกรอง (Public screening) การกำหนดขอบเขตการประเมิน (Public scoping) การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (Assessing) และการรับฟังความเห็นของร่างรายงานโดยสาธารณะ (Public review) เพื่อให้ทราบข้อมูลผลกระทบทางสุขภาพจากการดำเนินการประเมินทั้งผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบ และนำข้อมูลที่ได้มาสู่การพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์ขยะ ครั้งที่1

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประชุมการประยุกต์ใช้กระบวนการประเมินผลกระทบืางสุขภาพโดยชุมชนในการจัดการขยะมูลฝอยพื้นที่ตำบลพรุใน ครั้งที่1

วันที่ 27 มกราคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ร่วมพูดคุยหารือ กับ กลุ่มเป้าหมายที่เชิญเพื่อรับฟังเเนวคิด ข้อจำกัด ที่ผ่านมา
  • ชี้เเจง กระบวนการ ขั้นตอนการดำเนินงานโครการโดยผู้รับผิดชอบโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • รับรู้ข้อจำกัดเชิงพื้นที่ เรื่องร้านรับซื้อของเก่า
  • รับรู้ข้อจำกัด ผู้รับผิดชอบหลัก ของเทศบาล งบประมาณ การขับเคลื่อนนโยบาย การกำกับ ติดตาม


 

49 49

2. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์ขยะ ครั้งที่1

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์ขยะรีไซเคิล ในพื้นที่ตำบลพรุใน ทั้ง 7 หมู่บ้าน สำรวจเเหล่งกำเนิดขยะรีไซเคิล จุดคัดเเยก จุดทิ้งขยะในเเต่ละหมู่บ้าน รวมไปถึงกระบวนการเก็บขน เเละนำไปกำจัด ณ หลุมขยะของเทศบาลตำบลพรุใน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการประเมินปริมาณขยะมูลฝอย ส่วนใหญ่เป็นขยะเปียก ร้อยละ 43.54 และขยะรีไซเคิลร้อยละ 42.58
    เป็นเกาะที่เป็นจุดศูนย์กลางการท่องเที่ยวระหว่างจังหวัดกระบี่ และจังหวัดภูเก็ต มีจำนวนประชากรประมาณ 6,000 คน ครัวเรือนจำนวน 1,600 ครัวเรือน นักท่องเที่ยวเฉลี่ยประมาณ 5,000 คน ต่อเดือน และประชากรแอบแฝงอีก 2,858 คนต่อเดือน

 

6 6

3. การประชุมการประยุกต์ใช้กระบวนการประเมินผลกระทบืางสุขภาพโดยชุมชนในการจัดการขยะมูลฝอยพื้นที่ตำบลพรุใน ครั้งที่2

วันที่ 3 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) ทบทวนเฉพาะแผนงานที่มีโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการขยะรีไซเคิลเท่านั้น
2) เลือกกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ จัดประชุมกลุ่มย่อย เพื่อพิจารณาถึงความจำเป็นในการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ และข้อกังวลของชุมชนและผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แผนจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายเทศบาลตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา ปี พ.ศ. 2558- 2562 จำนวน 4 แผน
  1. การจัดการขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่วิกฤติ(ขยะมูลฝอยเก่า) จำนวน 1 โครงการ ดำเนินการครบ
  2. สร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่เหมาะสม (ขยะมูลฝอยใหม่) จำนวน 6 โครงการ ดำเนินการเเล้ว 5 โครงการ
  3. วางระเบียบมาตรการการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จำนวน 2 โครงการ ดำเนินการเเล้ว 1 โครงการ
  4. สร้างวินัยของคนในชาติมุ่งสู่การจัดการที่ยั่งยืน จำนวน 3 โครงการ ดำเนินการเเล้ว เสร็จ 2 โครงการ

 

49 0

4. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์ขยะ ครั้งที่2

วันที่ 17 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่เก็บข้อมูลขยะ ครั้งที่ 2 ร่วมกับเจ้าหน้าที่ เเละหน่วยงานภาคเอกขน เเละเจ้าหน้าที่ผู้นำชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการสำรวจ พบว่า หลุมขยะของเทศบาลตำบลพรุใน มีจำนวน 8 หลุม ซึ่งฝังกลบไปแแล้วทั้ง 8 หลุม จำนวน 1 รอบ

 

6 6

5. วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ขยะ ครั้งที่1

วันที่ 21 เมษายน 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ร่วมวิเคราะห์ ข้อมูลดิบ แหล่งกำเนิดขยะรีไซเคิล จากการสำรวจ ร้านค้า ร้านขายของชำ ที่พัก/โรงเเรม ศูนย์ราขการในพื้นที่ และพื้นที่ในเกาะไข่ ทั้ง 3 เกาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

6 6

6. วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ขยะมูลฝอย ครั้งที่2

วันที่ 5 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

6 6

7. จัดทำ mapping ข้อมูล จากการวิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ขยะมูลฝอย

วันที่ 16 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

6 6

8. จัดทำตัวชีวัด และพัฒนาตัวชี้วัด

วันที่ 14 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-จัดทำตัวชีวัด และพัฒนาตัวชี้วัด โดยทีมผู้วิจัยเเละผู้ชาวยวิจัย ร่วมกันกับภาคีเรือข่ายในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เกิดการบูรณาการความร่วมมือของ อปท.ในการจัดการขยะรีไซเคิล

 

6 0

9. วางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล

วันที่ 1 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-วางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ได้คณะทำงานจากทุกภาคส่วน ทั้งระดับหมู่บ้าน ตำบล ชุมชน อำเภอ

 

6 6

10. วิเคราะห์ผลตามตัวชี้วัด ครั้งที่1

วันที่ 27 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-วิเคราะห์ผลตามตัวชี้วัด ครั้งที่1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

6 6

11. วิเคราะห์ผลตามตัวชีวัด ครั้งที่2

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

6 6

12. จัดทำร่างรายงานผลการประเมินสุขภาพโดยชุมชน

วันที่ 22 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

6 6

13. พัฒนารายงานการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ

วันที่ 13 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • นักวิจัยนัดผู้ช่วยวิจัย และเครือข่าย ร่วมกันพัฒนารายงานการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพดำเนินการตามขอบเขตประเด็น และแนวทางที่กำหนดไว้เกี่ยวกับการจัดการขยะรีไซเคิลตำบลพรุในโดยขั้นตอนนี้ต้องใช้เครื่องมือทางเอกสารวิชาการ หลักการเชิงวิทยาศาสตร์ และเครื่องมือทางชุมชน พร้อมกับการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้เชี่ยวชาญและชุมชน เพื่อให้ได้ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ร่วมกับการสำรวจ การทำแบบสอบถาม และการทำ focus group

 

6 6

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา
ตัวชี้วัด : - เทศบาลตำบลพรุในมีการจัดตั้งศูนย์รีไซเคิลชุมชนอย่างเป็นระบบ - ร้อยละ 30 ของครัวเรือน ยึดหลักมาตรการ 3R

 

2
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา (2)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์ขยะ ครั้งที่1

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา

รหัสโครงการ - รหัสสัญญา 60-ข-088 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2561 - 31 มกราคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการขยะรีไซเคิล พื้นที่ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา จังหวัด พังงา

รหัสโครงการ -

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สาลินี ประพฤติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด