สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

วิจัยการท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศยั่งยืนภูมินิเวศน์เขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ วิจัยการท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศยั่งยืนภูมินิเวศน์เขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง ”

1. บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2. บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3. บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4. บ้านบาตูปูเต๊ะ ต.เกาะลิบง อ.กันตัง

หัวหน้าโครงการ
นายเชภาดร จันทร์หอม

ชื่อโครงการ วิจัยการท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศยั่งยืนภูมินิเวศน์เขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง

ที่อยู่ 1. บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2. บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3. บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4. บ้านบาตูปูเต๊ะ ต.เกาะลิบง อ.กันตัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 59-ข-027

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"วิจัยการท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศยั่งยืนภูมินิเวศน์เขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 1. บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2. บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3. บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4. บ้านบาตูปูเต๊ะ ต.เกาะลิบง อ.กันตัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
วิจัยการท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศยั่งยืนภูมินิเวศน์เขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " วิจัยการท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศยั่งยืนภูมินิเวศน์เขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ 1. บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง 2. บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว 3. บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง 4. บ้านบาตูปูเต๊ะ ต.เกาะลิบง อ.กันตัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2559 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 400,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามภูมินิเวศเขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง
  2. เพื่อศึกษาผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามภูมินิเวศเขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง
  3. เพื่อพัฒนาข้อเสนอนโยบายสาธารณะทางด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงนิเวศน์ยังยืนจังหวัดตรัง
  4. เพื่อทำกิจกรรมใน พื้นที่วิจัยการท่องเที่ยวชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ลงพื้นที่แนะนำตัวต่อชุมชนเกาะลิบง ครั้งที่ 1

    วันที่ 28 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. แนะนำตัวทีมวิจัยแบบไม่เป็นทางการกับผู้นำชุมชนทั้ง ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ และแกนนำกลุ่มองค์กรด้านการท่องเที่ยว
      เยี่ยมลิบงโฮมสเตย์
    2. เก็บข้อมูลเบื้องต้น ด้านต้นทุนทางสังคม แวะชมสถานที่สะพานหลีกภัย หอชมพะยูน
    3. แวะชมซากโซลาร์ฟาร์ม ที่กระทรวงพลังงานเคยให้งบประมาณดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. แนะนำตัวทีมวิจัยกับผู้นำชุมชน
    2. เก็บข้อมูลเบื้องต้น ด้านต้นทุนทางสังคม

     

    25 10

    2. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 13.00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ขั้นต้นเป็นการแนะนำตัวคณะทำงานวิจัยและผู้เข้าร่วมประชุม
    • ต่อมาเป็นการเปิดการประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม
    • จากนั้นก็เป็นการทำความเข้าใจภาพรวมของโครงการวิจัย กิจกรรมหลักของโครงการซึ่งประกอบด้วยการประชุมคณะทำงาน กิจกรรมการ mapping พื้นที่การท่องเที่ยวชุมชน กิจกรรมการถอดบทเรียนพื้นที่วิจัยเขา ป่า นา เล กิจกรรมการนำเสนอผลการถอดบทเรียนและศึกษาการประเมินผลกระทบชุมชน กิจกรรมการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวชุมชน เวทีข้อเสนอเชิงนโยบาย และประชุมสรุปผลการวิจัยท่องเที่ยวชุมชนตรัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วม 12 ท่าน ประกอบด้วยคณะทำงานวิจัย 9 ท่านรวมถึงตัวแทนชุมชนอีก 3 เข้าใจภาพรวมเป้าหมาย กิจกรรมหลักการท่องเที่ยวชุมชนฯ เขา ป่า นา เล
    • มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ทีมวิจัย
    • การวางแผนการทำงานโดยมีการเลือกพื้นที่แรกในการศึกษาวิจัยได้แก่ พื้นที่บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง
      โดยจะมีทีมวิจัยฯชุดเล็กหลัก ซี่งประกอบด้วย นายเชภาดร จันทร์หอม อ.มาฆฤกษ์ ชูช่วย อ.นบ ศรีจันทร์ ในการลงพื้นที่เก็บข้อมูล
      รวมถึงให้ประสานงานร่วมกับ ทีมวิจัยท่านอื่นที่สะดวกในการลงพื้นที่

     

    15 12

    3. สรุปภาพกิจกรรมลงพื้นที่แนะนำตัวต่อชุมชน 4 พื้นที

    วันที่ 22 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทีมวิจัยฯลงพื้นที่บ้านลำขนุน แนะนำตัว และที่มาที่ไป เป้าหมายและแนวทางการดำเนินงานวิจัยฯ
    • ผู้ใหญ่และแกนนำชุมชนได้เล่าถึงรูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวภายในชุมชน  ปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมาที่เกิดขึ้น
    • ผู้ใหญ่บ้านพาทีมวิจัยลงชมแปลงศูนย์เรียนรู้เกษตร ซึ่งเป็นฐานเรียนรู้สำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้ศึกษาดูงาน
    • ลงพื้นที่ชมแปลงเกษตรมะนาว ของแกนนำชุมชน และพบหัวหน้าคณะโนรา ฐานเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำชุมชนชุดเล็กที่ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านและแกนนำกลุ่มมีความเข้าใจเป้าหมาย วิธีการดำเนินงานวิจัยมากขึ้น
    • คณะวิจัย ได้รู้จักแกนนำชุมชนมากขึ้น
    • ลงเยี่ยมชมฐานเรียนรู้
    • ได้ข้อมูลการจัดการท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่ลำขนุนเบื้องต้น
      ซึ่งมีต้นทุนที่สำคัญคือ จากทรัพยากรธรรมชาติ วิถีชีวิตของชุมชน กลุ่มคนความร่วมไม้ร่วมมือของคนในชุมชน ปัจจุบันรูปแบบการท่องเที่ยวประกอบด้วยกิจกรรมสำคัญ คือ
      รูปแบบการศึกษาดูงานเชิงฐานเรียนรู้ ประกอบด้วย
      1) กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงฐานเรียนรู้
    • ฐานเรียนรู้ด้านเกษตร
    • ฐานรู้พลังงาน ประกอบด้วย โรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก เตาถ่าน และแก๊สชีวภาพ
      2)กิจกรรมเดินป่าขึ้นภูผาหมอก
      3)ด้านศิลปวัฒนธรรม มี โนรา และโนราโกลน(แห่งเดียวในจังหวัดตรัง)
      4) กิจกรรมพายเรือล่องคลองลำพิกุล
      ปัญหาอุปสรรค ที่พบ คือ คณะศึกษาดูงานส่วนมากที่มาจาก 3 จังหวัดที่เป็นไทยมุสลิม จะไม่รับประทานอาหารในชุมชนเนื่องจากบ้านลำขนุนเป็นชุมชนพุทธ
      ทำให้รายได้ที่ควรเข้ามาในพื้นที่ได้ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย
    • ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าบ้านลำขนุน ควรมีเมนู welcome drink ของบ้านลำขนุน เช่น น้ำอัญชัญผสมน้ำผึ้งมะนาว ซึ่งมีวัตถุดิบอยู่แล้วในชุมชนเป็นต้น

     

    8 8

    4. ประชุมคณะทำงาน จัดทำ mapping การท่องเที่ยว

    วันที่ 7 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะทำงาน จัดทำ mapping การท่องเที่ยว
    • นำข้อมูลแผนงาน /นโยบายของกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา แผนของสำนักงานท่องเที่ยวและกีฬา แผนพัฒนาของจังหวัดตรัง มาวิเคราะห์ข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • mapping การท่องเที่ยวโดยชุมชน ทราบถึงนโยบายการท่องเที่ยวโดยชุมชนของชาติ / กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และการทำงานที่ผ่านมาของสำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง
    • ทราบถึงกลุ่มชุมชนที่ทำท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่จังหวัดตรัง

     

    15 6

    5. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

    วันที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 15.00-18.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

    10 4

    6. สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน หมู่ 1

    วันที่ 21 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน หมู่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน หมู่ 1

     

    25 20

    7. ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน ครั้งที่ 1

    วันที่ 23 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน

     

    5 0

    8. ลงพื้นที่แนะนำตัวต่อชุมชน

    วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • แนะนำตัวต่อที่ประชุม /รายละเอียดงานวิจัย
    • ร่วมปฏิบัติการทำแผนการขับเคลื่อนหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยวตำบลนาหมื่นศรี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้แนะนำตัวต่อแกนนำชุมชน
    • ได้แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนหมู่บ้าน otop เพื่อการท่องเที่ยวชุมชน

     

    25 30

    9. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

    วันที่ 3 กันยายน 2559 เวลา 14.00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

    10 5

    10. ประชุมคณะทำงาน เตรียมงานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมงานสร้างสุขภาคใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เตรียมงานสร้างสุขภาคใต้

     

    15 0

    11. เวทีถอดบทเรียนพื้นที่วิจัย การท่องเที่ยวชุมชน บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมืองจ.ตรัง

    วันที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงที่มาของโครงการวิจัยฯ
    • กระบวนการถอดบทเรียนสอบถามถึงที่มาของการจัดการท่องเที่ยวของชุมชน
    • การบริหารจัดการกลุ่ม ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงานที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • บทเรียนการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก
    • กลุ่มแกนที่ทำงานเป็นกลุ่มจิตอาสาที่เริ่มจากการทำงานจากงานอนุรักษ์รักษาป่าในพื้นที่มาพร้อมจะเสียสละในการทำงาน และตระหนักเห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
    • การสร้างการมีส่วนและเป็นเจ้าของของคนในชุมชนโดยการเปิดรับสมาชิกคนในชุมชนเป็นสมาชิกกลุ่ม
    • การนำประเด็นเรื่องท่องเที่ยวชุมชนเป็นเรื่องหนึ่งที่เป็นวาระปรึกษาในการประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน
    • การแบ่งเงินรายได้จากกิจกรรมล่องแก่ง ค่าเรือลำละ 200 บาท โดยแบ่งให้ฝีพาย(ตั้งแต่ 80-200 บาท แปรผันตามจำนวนนักท่องเที่ยวต่อรอบ) แบ่งให้คนขับรถ(ครั้งละ 150) แบ่งเข้ากองทุนหมู่บ้าน(หลังจากหักค่าใช้จ่าย ค่าฝีพาย คนขับรถ และเบ็ดเตล็ด)

     

    25 16

    12. ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลการท่องเที่ยวชุมชนตรัง mapping

    วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมลงพื้นที่ชุมชนในอำเภอต่างๆที่ทำการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อสำรวจพื้นที่ที่มีการทำการท่องเที่ยวชุมชน mppping 10  พื้นที่ ระหว่างวันที่ 1 สค- 30 กย.59

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมลงพื้นที่ชุมชนในอำเภอต่างๆที่ทำการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อสำรวจพื้นที่ที่มีการทำการท่องเที่ยวชุมชน mppping 10  พื้นที่ ระหว่างวันที่ 1 สค- 30 กย.59

     

    20 5

    13. ประชุมร่วมกับภาคีเครือข่าย บ.ประชารัฐ

    วันที่ 4 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมร่วมกับภาคีเครือข่าย บ.ประชารัฐ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    2 0

    14. ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน ครั้งที่ 1

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน 

     

    25 0

    15. ประชุมคณะทำงานวิจัยลงพิ้นที่ฯลำขนุน

    วันที่ 5 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานวิจัยก่อนลง พื้นที่วิจัย การท่องเที่ยวชุมชน บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะทำงานวิจัยก่อนลง พื้นที่วิจัย การท่องเที่ยวชุมชน บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง

     

    5 0

    16. ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน ครั้งที่ 2

    วันที่ 21 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน 

     

    25 0

    17. ประชุมร่วม ทีมท่องเที่ยว จ.กระบี่

    วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมร่วม ทีมท่องเที่ยว จ.กระบี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมร่วม ทีมท่องเที่ยว จ.กระบี่

     

    10 1

    18. ลงพื้นที่แนะนำตัวต่อชุมชนเกาะลิบง ครั้งที่ 2

    วันที่ 3 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมลงพื้นที่แนะนำตัวต่อชุมชนเกาะลิบง ครั้งที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมลงพื้นที่แนะนำตัวต่อชุมชนเกาะลิบง ครั้งที่ 2

     

    25 10

    19. ร่วมงานแถลงข่าวเทศกาลลูกลม

    วันที่ 30 มกราคม 2560 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับฟังนโยบายการท่องเที่ยวจังหวัดตรัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานทราบถึงนโยบายการท่องเที่ยวจังหวัดตรังและองค์ความรู้ภูมิปัญญาการทำลูกลม

     

    2 3

    20. จัดทำแผนการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน ครั้งที่ 3

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน ครั้งที่ 3

     

    25 20

    21. ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรีครั้งที่ 1

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานวิจัยนำเสนอที่มาที่ไปโครงการวิจัยและกรอบการดำเนินงานวิจัย
    • การให้แกนนำในพื้นที่นำเสนอรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวในชุมชน ทุนชุมชนด้านต่างๆ ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำชุมชนได้ทราบที่มาที่ไปของงานวิจัย และแนวทางการการดำเนินวิจัย
    • ได้รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี และปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการท่องเที่ยว

     

    25 21

    22. ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง1

    วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การนัดแกนนำชุมชนที่ร่วมจัดทำการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่เกาะลิบง
    • การประชุมเพื่อร่วมถอดบทเรียนการทำงานที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำชุมชนในพื้นที่เกาะลิบงเข้าร่วมการถอดบทเรียนจำนวน 12 คน
    • ได้บทเรียนการจัดการท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะลิบงที่ผ่านมา

     

    25 16

    23. ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน

     

    25 0

    24. ประชุมสรุปงานเทศกาลลูกลม ปี พ.ศ.2560

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    2 40

    25. ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง(ด้านภูมิปัญญาอาหารท้องถิ่น)

    วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแลกเปลี่ยนด้านเมนูอาหารภูมิปัญญาด้านอาหารท้องถิ่น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ข้อมูลเมนูท้องถิ่น จำนวน 12 เมนู และกรรมวิธีการปรุงอาหาร วัตถุดิบ

     

    25 5

    26. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4

    วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13.30-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอผลการลงพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

    10 6

    27. สัมภาษณ์ อาหารพื้นฐาน ชุมชนเกาะลิบง

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สัมภาษณ์ เรื่อง อาหารพื้นฐาน ชุมชนเกาะลิบง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สัมภาษณ์ เรื่อง อาหารพื้นฐาน ชุมชนเกาะลิบง

     

    25 0

    28. ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรีครั้งที่ 2

    วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การประชุมร่วมกับแกนนำชุมชนในการถอดรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชน
    • การให้แกนนำกลุ่มนำเสนอกิจกรรมของกลุ่ม ปัญหาอุปสรรค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    25 25

    29. สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี

    วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงพื้นที่นาหมื่นศรีเยี่ยมชมกลุ่มผ้าทอนาหมื่นศรี
    • แวะนมัสการพ่อท่านขุนจ่า วัดควนสวรรค์ และเยี่ยมพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านของคุณลุงประเสริฐ
    • สอบถามการดำเนินงานด้านการท่องเที่ยวที่ผ่านมาของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน รูปแบบการดำเนินการ ปัญหาอุปสรรค ของกลุ่มผ้าทอนาหมื่นศรี วัดควนสวรรค์ และพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน ต.นาหมื่นศรี

     

    5 4

    30. ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง บอกรักทะเล

    วันที่ 5 มีนาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมการถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง บอกรักทะเล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมการถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง บอกรักทะเล

     

    25 100

    31. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5

    วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การลงพื้นที่การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านน้ำราบ ต.บางสัก อ.กันตัง จ.ตรัง (ล่องแพ ชมป่าโกงกาง ขึ้นเขาจมป่า ชมสันหลังมังกร)
    • ชุมชนท่องเที่ยวโดยชุมชนร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการท่องเที่ยวบ้านน้ำราบ
    • นำเสนอความก้าวหน้าการลงพื้นที่วิจัย
    • การวางแผนลงพื้นที่เก็บข้อมูล 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนที่ดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การท่องเที่ยวโดชุมชนบ้านน้ำราบ ต.บางสัก อ.กันตัง จ.ตรัง
    • ความก้าวหน้าการดำเนินงานวิจัยในพื้นที่บ้านลำขนุน /ต.นาหมื่นศรี / เกาะลิบง

     

    15 22

    32. สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี ครั้งที่ 2

    วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การลงพื้นที่สัมภาษณ์แกนนำกลุ่มทำผลิตภัณฑ์ลูกหยี กลุ่มทำนา และครูภูมิปัญญาทำมีดฤาษี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มลูกหยี กลุ่มทำนา และครูภูมิปัญญาทำมีดฤาษี

     

    5 7

    33. ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรีครั้งที่ 3

    วันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมการถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี  ครั้งที่ 3

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมการถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี  ครั้งที่ 3

     

    20 20

    34. สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน หมู่ 4

    วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สัมภาษณ์แกนนำชุมชนที่ดำเนินกิจกรรมท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่ ม.4
    และสำรวจวิถีชีวิตยามเช้าของบ้านบาตูปูเต๊ะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่ ม.4
    และได้ข้อมูลวิถีชีวิตยามเช้าของบ้านบาตูปูเต๊ะ

     

    25 5

    35. สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน หมู่ 7

    วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สัมภาษณ์แกนนำ และประชาชนในหมู่บ้านที่ 7
    และลงสำรวจแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ ได้แก่ หาดทุ่งหญ้าคา และ สะพานหิน

    หมู่ 4 - การประสานแกนนำชุมชน
    - การสัมภาษณ์แกนนำชุมชน
    - สำรวจวิถียามเช้าบ้านบาตูปูเต๊ะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทราบแนวทางการจัดการท่องเที่ยวในพื้นที่ที่ผ่านมา
    และลงสำรวจแหล่งท่องเที่ยในพื้นที่ คือ หาดทุ่งหญ้าคา และสะพานหิน

    • ได้ทราบแนวทางการจัดการท่องเที่ยวในชุมชนของบ้านบาตูปูเต๊ะ
    • ได้เห็นวิถีชีวิตชุมชนประมงพืนบ้านบ้านบาตูปูเต๊ะ

     

    25 10

    36. ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน ครั้งที่ 3

    วันที่ 25 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมการประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน ครั้งที่ 3

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมการประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน ครั้งที่ 3

     

    25 0

    37. ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน ครั้งที่ 3

    วันที่ 26 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน ครั้งที่ 3

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน ครั้งที่ 3

     

    25 0

    38. ประชุมวางแผน แบบสอบถาม

    วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 16.00-19.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การประชุมของทีมวิจัย และร่วมกันยกร่างแบบสัมภาษณ์ผู้มีบทบาทหน้าที่สนับสนุนทางนโยบายด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้แนวคำถามการสัมภาษณ์ผู้มีบทบาทหน้าทีสนับสนุนทางนโยบายด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
    • ได้กำหนดกลุ่มเป้าหมายสัมภาษณ์ผู้มีบทบาทสนับสนุนทางนโยบายด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
      ได้แก่
            1) ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง
            2) ผอ.ททท.ตรัง
            3) ประธานเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
            4) MD บริษัทประชารัฐสามัคคีจังหวัดตรัง
            5) นายกสมาคมการท่องเที่ยวและโรงแรมจังหวัดตรัง
            6) เกษตรจังหวัดตรัง /หรือเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
            7) พัฒนาการจังหวัดตรัง / หรือเจ้าหน้าที่รับผิดชอบหมู่บ้าน otop เพื่อการท่องเที่ยว

     

    10 4

    39. ประชุมติดตามการรายงานผลทางเว็ปไซต์และรายงานการเงิน

    วันที่ 22 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -  เจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. ทบทวนเป้าหมายการรายงานผลการดำเนินงานและรายงานการเงินทางเว็ปไซต์ -  ให้เจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. ตรวจสอบเอกสารการเงิน กิจกรรมที่ดำเนินการที่ผ่านมา
    - การแนะนำการสมัครและการรายงานทางเว็ปไซต์ hsmi.psu.ac.th ให้ทีมวิจัยเพิ่มเติม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทีมนักวิจัย 3 ท่าน ได้รับความรู้การรายงานผลการวิจัยทางเว็ปไซต์ hsmi.psu.ac.th
    • ได้รับข้อแนะนำในการปรับปรุงรายงานการเงิน ใบสำคัญรับเงินที่ต้องปรับให้สมบูรณ์ เช่น การลงวันที่ เป็นต้น

     

    10 8

    40. ประชุมทีมทบทวนMapping พื้นที่การท่องเที่ยวชุมชน

    วันที่ 23 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

    10 6

    41. สรุปรวมจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ครั้งที่ 1

    วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อวัสดุสำนักงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดซื้อวัสดุสำนักงาน

     

    1 0

    42. ประชุมสรุปผลการวิจัยการท่องเที่ยวชุมชน

    วันที่ 29 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสรุปผลการวิจัยการท่องเที่ยวชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการวิจัยการท่องเที่ยวชุมชน

     

    15 8

    43. จัดทำMapping ข้อมูลพื้นที่การท่องเที่ยวชุมชน

    วันที่ 30 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำMapping ข้อมูลพื้นที่การท่องเที่ยวชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมจัดทำMapping ข้อมูลพื้นที่การท่องเที่ยวชุมชน

     

    20 8

    44. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงาน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะทำงาน 

     

    15 7

    45. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงาน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะทำงาน 

     

    15 0

    46. ประชุมเตรียมงาน ลงพื้นที่ ทำหนังสือท่องเที่ยวชุมชน

    วันที่ 12 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเตรียมงาน ลงพื้นที่ ทำหนังสือท่องเที่ยวชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมเตรียมงาน ลงพื้นที่ ทำหนังสือท่องเที่ยวโดยชุมชน

     

    10 9

    47. ประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการ

    วันที่ 14 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามความก้าวหน้าโครงการ

     

    15 0

    48. ลงพื้นที่ 4 ชุมชน เขียนต้นฉบับเรื่องเล่า หนังสือท่องเที่ยวชุมชน

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำต้นฉบับ หนังสือท่องเที่ยวชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำต้นฉบับ หนังสือท่องเที่ยวชุมชน

     

    10 0

    49. คืนข้อมูลชุมชนบ้านนาหมื่นศรี ตำบลนาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนข้อมูลชุมชนบ้านนาหมื่นศรี ตำบลนาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนข้อมูลชุมชนบ้านนาหมื่นศรี ตำบลนาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

     

    25 0

    50. ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การชี้แจงแนวทางการประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก โดยขอบเขตดูผลกระทบที่เกิดขึ้น 3 ด้าน ประกอบด้วยด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
    • การให้ความเห็นและแลกเปลี่ยนซักถามจากแกนนำชุมชนต่อผลกระทบ 3 ด้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำชุมชนได้เห็นผลกระทบเชิงบวกที่เกิดจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก

    1.ด้านเศรษฐกิจ

    • ปี 60 ตั้งแต่เดือนมีนาคม-เมษายน มีนักท่องเที่ยวล่องแก่งประมาณ 700 คน รายรับประมาณ 126,500 บาทกระจายรายได้สู่กลุ่มล่องแก่งบ้านเขาหลัก
    • รายได้เสริมของสมาชิกstaffพายเรือกลุ่มล่องแก่งเขาหลัก ผู้ใหญ่ 14 คน เด็กเยาวชน 13 คน และ staff ที่เป็นคนขับรถ
    • รายได้เพิ่มขึ้นของสมาชิกกลุ่มแม่บ้านในการทำอาหาร
    • รายได้เพิ่มขึ้นของกลุ่มทำขนมจำนวน 13 คน
    • รายได้ที่เพิ่มขึ้นของร้านค้าในชุมชน 4 ร้าน
    • ก่อให้เกิดการลดรายจ่ายในครัวเรือนจากการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

    2.ด้านสังคม

    • เกิดกลุ่มการล่องแก่งเขาหลัก ปัจจุบันปี 2560 มีสมาชิกจำนวน 87 คน
    • เด็กเยาวชนในชุมชนได้ใช้เวลาว่าง มาเป็นทีมงานพายเรือ หารายได้พิเศษและห่างไกลจากอบายมุข
    • กลุ่มรักษ์ป่าต้นน้ำตรังเกิดความหวงแหนการรักษาผืนป่าเพราะป่าต้นน้ำเป็นสายน้ำที่คอยหล่อเลี้ยงการดำรงชีวิตของชุมชนเขาหลักที่ยั่งยืน และการท่องเที่ยวล่องแก่ง
    • ทีมงานล่องแก่งมีทักษะการเป็นเจ้าบ้านที่ดีเพิ่มมากขึ้น
    • สร้างความภาคภูมิใจในการเป็นคนเขาหลัก ชุมชนอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ
    • เกิดการต่อยอดเป็นกลุ่มช่างไม้บ้านเขาหลัก
    • ทำให้มีการติดตั้งกล้อง cctv เพื่อรักษาความปลอดภัยในชุมชน
    • บ้านเขาหลักเป็นที่รู้จักทั้งภายในจังหวัดและภายนอกจังหวัด โดยมีสื่อเฟซบุค สื่อทีวีโทรทัศน์มาทำรายการแนะนำการท่องเที่ยวล่องแก่งบ้านเขาหลัก /หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
    • ชาวบ้านมีความเป็นเจ้าบ้านที่ดีเพิ่มมากขึ้น การยิ้มแย้ม ทักทาย กล้าพูด พูดสุภาพขึ้น
    • การพัฒนาแกนนำชุมชนในการเป็นวิทยากรประจำฐานเรียนรู้ต่างๆในชุมชน
    • ชาวบ้านมีส่วนร่วมและความสามัคคีในการดูแลความสะอาด การจัดการขยะมากขึ้น
    • มีเครือข่ายการทำงานเพิ่มมากขึ้น ทั้งชุมชนที่ทำการท่องเที่ยว ผู้ประกอบการท่องเที่ยว ภาครัฐ

    3.ด้านสิ่งแวดล้อม

    • ชาวบ้านตระหนักถึงคุณค่าของการรักษาผืนป่า การรักษาแหล่งต้นน้ำ เกิดการทำกิจกรรมเชื่อมโยงความศรัทธากับการอนุรักษ์ป่า ผ่านกิจกรรมบวชป่า การปลูกป่า การเดินลาดตระเวนเฝ้าระวังการตัดไม้ทำลายป่าจากกลุ่มทุนอิทธิพลภายนอกทำให้สามารถรักษาผืนป่าได้อุดมสมบูรณ์ต่อเนื่อง
    • ข้อตกลงในการดูแลป่า
    • การปรับสภาพแวดล้อมภูมิทัศน์ชุมชนและครัวเรือนหน้าบ้านน่ามอง
    • เกิดกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ดูแลป่า ( เงิน 5% ของผลกำไรจากการล่องแก่ง)

     

    25 15

    51. ประชุมเตรียม เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง เวทีรวม ตรัง กระบี่

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเตรียม เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง เวทีรวม ตรัง กระบี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เตรียม เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง เวทีรวม ตรัง กระบี่

     

    10 6

    52. เวทีคืนข้อมูล ชุมชนบ้านลำขนุน

    วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมวิจัยนำเสนอผลการถอดบทเรียนและการประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้แกนนำ และสมาชิกกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำชุมชน

     

    25 20

    53. เขียนสรุป การถอดบทเรียน การท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่ เขา ป่า นา เล 4 พื้นที่

    วันที่ 3 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เขียนสรุป การถอดบทเรียน การท่องเที่ยวชุมชน 4 พื้นที่ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เขียนสรุป การถอดบทเรียน การท่องเที่ยวชุมชน 4 พื้นที่ 

     

    4 0

    54. ประชุมจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์และแนวทางสำคัญการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง

    วันที่ 17 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์และแนวทางสำคัญการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมร่วมกับสจรส มอ. จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์และแนวทางสำคัญการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง

     

    15 5

    55. ร่วมเวทีทำแผน กับกระบี่

    วันที่ 18 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    20 0

    56. สรุป สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน

    วันที่ 25 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน  จำนวน 8 คน 8วัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เข้าสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน 

     

    20 8

    57. เวทีปรึกษาหารือ ร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ

    วันที่ 26 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เวทีปรึกษาหารือร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564 กับภาคีเครือข่ายภาครัฐ
    • คณะทำงานวิจัยนำเสนอ (ร่าง)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวทีปรึกษาหารือ ร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ

     

    10 8

    58. เตรียมเวที พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ฯ

    วันที่ 27 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะวิจัยเพื่อเตรียมเวทีพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชน พ.ศ.2561-2564
    • คณะทำงานวิจัยพิจารณาความครอบคลุมของโครงการทั้ง 5 ยุทธศาสตร์
    • ออกแบบกระบวนการเวที /บทบาทภารกิจทีมวิจัยในเวทีฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิด(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ. 2561-2564
    • กระบวนการเวที/แบ่งบทบาทหน้าที่
      08.30 – 09.00 น.ลงทะเบียน
      09.00 – 09.30 น.กล่าวต้อนรับ และที่มา
      กระบวนการพัฒนาข้อเสนอแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
      นายเชภาดร จันทร์หอม ศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้
      ที่มาและความสำคัญแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
      อ.นบ ศรีจันทร์ ม.สวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง
      09.30 – 12.00 น. แบ่งกลุ่มให้ความเห็นและปรึกษาหารือต่อ (ร่าง)แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
      • ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างคุณภาพทักษะความสามารถ ของทรัพยากรมนุษย์แบบพึ่งพาตนเอง บนฐานพอเพียงและความรู้
      • ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มคุณค่าและมูลค่าทรัพยากรชุมชนสู่การเป็นสินค้าและบริการ บนพื้นฐานอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ สู่ต้นแบบเป็นแหล่งเรียนรู้การพัฒนาและจัดการท่องเที่ยวชุมชน
      • ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการบริหารจัดการตลาดการท่องเที่ยวชุมชน ที่มุ่งเน้นการสร้างสมดุลความสุขอย่างเท่าเทียม • ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนากลไกระบบบริหารจัดการและเชื่อมโยงการทำงานเชิงเครือข่ายประชารัฐ ที่มีเอกภาพ มั่นคง ยั่งยืน
      • ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาตัวชี้วัดความสุขระหว่างชุมชน-นักท่องเที่ยว พัฒนาไปสู่แหล่งเรียนรู้ในภาคใต้
      12.00-13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
      13.00-15.30 น. ปรึกษาหารือการแปลงยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564 เป็นแผนปฏิบัติการปี 2561-2562 ดำเนินรายการ โดย อ.ชัยพร จันทร์หอมและอ.มาฆฤกษ์ ชูช่วย
      1.กลุ่มท่องเที่ยว (สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง,ททท.ตรัง,อบจ.ตรัง)
      2.กลุ่มเศรษฐกิจฐานราก (สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดตรัง,บริษัทประชารัฐรักสามัคคีตรัง)
      3.กลุ่มเครือข่ายชุมชนท่องเที่ยว
      4.กลุ่มภาคเอกชน (สภาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจังหวัดตรัง,สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวและโรงแรมจังหวัดตรัง)
      15.30 น. ปิดการประชุม

     

    8 8

    59. ประชุมสรุปเวทีพัฒนาแผนยุทธศาสตร์

    วันที่ 29 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประชุมคณะทำงานวิจัยสรุปผลการปรึกษาหารือในกลุ่มย่อยทั้ง5 ยุทธศาสตร์ในเวทีพัฒนาแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
    -ให้นักวิจัยที่กระจายอยู่แต่ละยุทธศาสตร์นำเสนอโครงการฯเพิ่ม และข้อเสนอแนะต่างๆในแต่ละกลุ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการประชุมสรุปเวทีพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ฯที่มีกลุ่มภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเข้าร่วมทั้งจากกลุ่มชุมชนที่ดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องทั้งจาก สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง สำนักงานท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานตรัง สำนักงานพัฒนาชุมชน สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตรังภาควิชาการ จาก ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรังม.สวนดุสิต ศูนย์ตรัง ภาคเอกชน ทั้งจากสมาคมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวและโรงแรม บริษัทประชารัฐรักสามัคคีตรัง
    • ได้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
    • ได้ข้อเสนอแนะโครงการในการปรับแต่ละยุทธศาสตร์ ดังนี้

    1) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างคุณภาพ ทักษะและความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ในชุมชนให้มีศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบพึ่งพาตนเองบนฐานความพอเพียงและความรู้

    2) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการเพิ่มคุณค่าและมูลค่าของต้นทุนทรัพยากรชุมชนสู่การเป็นสินค้าและบริการบนฐานอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และการมีส่วนร่วมของชุมชนสู่ต้นแบบการเป็นแหล่งเรียนรู้การพัฒนาและจัดการ
    - โครงการฟื้นฟูภูมิปัญญาชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน
    - โครงการส่งเสริมวิถีเกษตรและเกษตรประยุกต์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
    - โครงการฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณี โบราณสถาน ศาสนพิธีชุมชนท่องเที่ยว
    - โครงการออกแบบภูมิสถาปัตย์เพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน / sketch design

    3)ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาการบริหารจัดการการตลาดการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่มุ่งเน้นการสร้างสมดุลของความสุขของทั้งคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว
    - โครงการพัฒนาเส้นทางปั่นจักรยานการท่องเที่ยวโดยชุมชน
    - โครงการ CSR (กลุ่มbig bike ,กลุ่มรถโบราณ) กับชุมชนท่องเที่ยวโดยชุมชน
    - โครงการพัฒนากลไกเชื่อมโยงการตลาดท่องเที่ยวโดยชุมชน
    - โครงการพัฒนาแผนที่อาหารถิ่น เมนูเด็ดชุมชนท่องเที่ยว
    - โครงการ food tour เมนูท้องถิ่น
    - โครงการตลาดนัดชุมชนท่องเที่ยว

    4)ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนากลไกการขับเคลื่อน ระบบการบริหารจัดการ และการทำงานเชื่อมโยงเครือข่ายประชารัฐที่เป็นเอกภาพ มั่นคง และยั่งยืน
    - โครงการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจด้านกฎหมายที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวโดยชุมชน
    - โครงการพัฒนามาตรฐานและกติกาเครือข่ายท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง

    5)ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาดัชนีชี้วัดความสุขระหว่างชุมชนและนักท่องเที่ยว ตลอดจนพัฒนาไปสู่แหล่งเรียนรู้ระดับภาคใต้
    - นัดหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องมาให้ความเห็นต่อแผนdraft สุดท้าย
    แล้วจะถ่ายเอกสารแผนยุทธศาสตร์ฯให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กรภาคีเครือข่ายทั้งวิชาการ เอกชน และกลุ่มเครือข่ายชุมชนที่ทำการท่องเที่ยวโดยชุมชน

     

    10 9

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามภูมินิเวศเขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง
    ตัวชี้วัด : รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 4 ชุมชน ตามภูมินิเวศน์ เขา ป่า นา เล

     

    2 เพื่อศึกษาผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามภูมินิเวศเขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง
    ตัวชี้วัด : ได้ข้อมูลผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมจากการจัดการท่องเที่ยวชุมชน 4 ชุมชน ตามภูมินิเวศน์ เขา ป่า นา เล

     

    3 เพื่อพัฒนาข้อเสนอนโยบายสาธารณะทางด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงนิเวศน์ยังยืนจังหวัดตรัง
    ตัวชี้วัด : ได้ข้อเสนอเชิงนโยบายในการสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามภูมินิเวศน์เขา ป่า นา เล

     

    4 เพื่อทำกิจกรรมใน พื้นที่วิจัยการท่องเที่ยวชุมชน
    ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมใน พื้นที่วิจัยการท่องเที่ยวชุมชน 4 พื้นที่ - บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุด อ.เมือง - บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว - บ้านนาหมื่นศรี ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง - บ้านบาตูปูเต๊ะ ต.เกาะลิบง อ.กันตัง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามภูมินิเวศเขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง (2) เพื่อศึกษาผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามภูมินิเวศเขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง (3) เพื่อพัฒนาข้อเสนอนโยบายสาธารณะทางด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงนิเวศน์ยังยืนจังหวัดตรัง (4) เพื่อทำกิจกรรมใน พื้นที่วิจัยการท่องเที่ยวชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ วิจัยการท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศยั่งยืนภูมินิเวศน์เขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง

    รหัสสัญญา 59-ข-027 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2559 - 30 มิถุนายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ
    • พฤติกรรมความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง กับแกนนำพื้นที่วิจัยท่องเที่ยวชุมชน และทีมวิจัยมีการทำงานเป็นมิตรมีและความเป็นกันเองมากขึ้น
    • การส่งข้อมูล/ข่าวสาร กิจกรรมประชาสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการมากขึ้น เช่น ส่งข้อมูลผ่านไลน์ส่วนตัว
    • การพัฒนาช่องทางการสื่อสารระหว่างทีมวิจัยกับผู้แทนหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น ไลน์กลุ่ม

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
    • ภายหลังคณะวิจัยมีการลงพื้นที่และมีการสื่อสารเรื่องราวเล่าเรื่องท่องเที่ยวชุมชนผ่านสื่อ social media มีผู้ประกอบการที่พักรุ่นใหม่ในจังหวัดตรังติดต่อถึงรายละเอียดให้แนะนำชุมชนท่องเที่ยว และมีการส่งต่อนักท่องเที่ยวให้ชุมชน

     

    • การเชิญผู้ประกอบการท่องเที่ยวรุ่นใหม่เข้ามาเป็นอาสาสมัครทีมวิจัย/หรือ ร่วมมาทดสอบเส้นทางท่องเที่ยวในเฟสต่อไปเพื่อเพิ่มมุมมองของผู้ประกอบการในการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเขา ป่า นา เล
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564

    • เกิดแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรังพ.ศ.2561-2564 (ข้อสรุปจากเวที 28 มิถุนายน 2560)
    • เอกสารแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวฯที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว และกลุ่มชุมชนที่ทำการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่จังหวัดตรัง
    • การพัฒนากลไกกลางวงปรึกษาหารือในการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง

    • การเลือกโครงการในแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564 มาขับเคลื่อนเป็นโครงการความร่วมมือทำงานร่วมกับภาคียุทธศาสตร์ อาทิ ทกจ. ททท. ตรัง ประเด็นสนใจเบื้องต้นได้แก่ 1)การเก็บข้อมูลท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ 2)การพัฒนาฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง 3)ประเด็นท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหาร
      4)การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวระหว่างพื้นที่ชุมชนท่องเที่ยวตรัง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
    • มีการเชื่อมโยงประสานการทำงานระหว่างกลุ่มชุมชนที่ทำท่องเที่ยวโดยชุมชนในระดับพื้นที่ทั้ง 4 พื้นที่ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวได้แก่ สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง สำนักงานท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สาขาตรัง สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดตรัง

     

    • การพัฒนาให้เกิดกลไกการปรึกษาหารือกลางการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
    • ได้บทเรียนร่วมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนใน 4 พื้นที่่ ทั้งกรณีชุมชนเขาหลัก ชุมชนลำขนุน ชุมชนนาหมื่นศรี ชุมชนเกาะลิบง และปัจจัยความสำเร็จและอุปสรรคสำคัญของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่จังหวัดตรัง

     

    • ควรมีการแบ่งปันเรื่องราวบทเรียนการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 4 พื้นที่ทางช่องทางสื่อสารสาธารณะ โดยเฉพาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ดำเนินการหรือสนใจดำเนินการการท่องเที่ยวโดยชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
    • กระบวนการถอดบทเรียนเป็นการเน้นย้ำถึงคุณค่าความภาคภูมิใจในวิถีอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่่ เขา ป่า นา เล รวมถึงช่วยทบทวนสืบค้นเป็นถึงเรื่องราวบางอย่างที่เป็นคุณค่าในอดีตทั้งเรื่องวิถีอยู่ วิถีกิน

     

    • ให้มีการพัฒนาคุณค่าความภาคภูมิใจในวิถีอัตลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่นเป็นเรื่องเล่า
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    วิจัยการท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศยั่งยืนภูมินิเวศน์เขา ป่า นา เล จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเชภาดร จันทร์หอม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด