ประชุมสรุปเวทีพัฒนาแผนยุทธศาสตร์
-ประชุมคณะทำงานวิจัยสรุปผลการปรึกษาหารือในกลุ่มย่อยทั้ง5 ยุทธศาสตร์ในเวทีพัฒนาแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
-ให้นักวิจัยที่กระจายอยู่แต่ละยุทธศาสตร์นำเสนอโครงการฯเพิ่ม และข้อเสนอแนะต่างๆในแต่ละกลุ่ม
- มีการประชุมสรุปเวทีพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ฯที่มีกลุ่มภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเข้าร่วมทั้งจากกลุ่มชุมชนที่ดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องทั้งจาก สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง สำนักงานท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานตรัง สำนักงานพัฒนาชุมชน สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตรังภาควิชาการ จาก ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรังม.สวนดุสิต ศูนย์ตรัง ภาคเอกชน ทั้งจากสมาคมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวและโรงแรม บริษัทประชารัฐรักสามัคคีตรัง
- ได้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
- ได้ข้อเสนอแนะโครงการในการปรับแต่ละยุทธศาสตร์ ดังนี้
1) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างคุณภาพ ทักษะและความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ในชุมชนให้มีศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบพึ่งพาตนเองบนฐานความพอเพียงและความรู้
2) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการเพิ่มคุณค่าและมูลค่าของต้นทุนทรัพยากรชุมชนสู่การเป็นสินค้าและบริการบนฐานอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และการมีส่วนร่วมของชุมชนสู่ต้นแบบการเป็นแหล่งเรียนรู้การพัฒนาและจัดการ
- โครงการฟื้นฟูภูมิปัญญาชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- โครงการส่งเสริมวิถีเกษตรและเกษตรประยุกต์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
- โครงการฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณี โบราณสถาน ศาสนพิธีชุมชนท่องเที่ยว
- โครงการออกแบบภูมิสถาปัตย์เพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน / sketch design
3)ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาการบริหารจัดการการตลาดการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่มุ่งเน้นการสร้างสมดุลของความสุขของทั้งคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว
- โครงการพัฒนาเส้นทางปั่นจักรยานการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- โครงการ CSR (กลุ่มbig bike ,กลุ่มรถโบราณ) กับชุมชนท่องเที่ยวโดยชุมชน
- โครงการพัฒนากลไกเชื่อมโยงการตลาดท่องเที่ยวโดยชุมชน
- โครงการพัฒนาแผนที่อาหารถิ่น เมนูเด็ดชุมชนท่องเที่ยว
- โครงการ food tour เมนูท้องถิ่น
- โครงการตลาดนัดชุมชนท่องเที่ยว
4)ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนากลไกการขับเคลื่อน ระบบการบริหารจัดการ และการทำงานเชื่อมโยงเครือข่ายประชารัฐที่เป็นเอกภาพ มั่นคง และยั่งยืน
- โครงการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจด้านกฎหมายที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- โครงการพัฒนามาตรฐานและกติกาเครือข่ายท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
5)ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาดัชนีชี้วัดความสุขระหว่างชุมชนและนักท่องเที่ยว ตลอดจนพัฒนาไปสู่แหล่งเรียนรู้ระดับภาคใต้
- นัดหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องมาให้ความเห็นต่อแผนdraft สุดท้าย
แล้วจะถ่ายเอกสารแผนยุทธศาสตร์ฯให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กรภาคีเครือข่ายทั้งวิชาการ เอกชน และกลุ่มเครือข่ายชุมชนที่ทำการท่องเที่ยวโดยชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
เตรียมเวที พัฒนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
- ประชุมคณะวิจัยเพื่อเตรียมเวทีพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชน พ.ศ.2561-2564
- คณะทำงานวิจัยพิจารณาความครอบคลุมของโครงการทั้ง 5 ยุทธศาสตร์
- ออกแบบกระบวนการเวที /บทบาทภารกิจทีมวิจัยในเวทีฯ
- เกิด(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ. 2561-2564
- กระบวนการเวที/แบ่งบทบาทหน้าที่
08.30 – 09.00 น.ลงทะเบียน
09.00 – 09.30 น.กล่าวต้อนรับ และที่มา
กระบวนการพัฒนาข้อเสนอแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
นายเชภาดร จันทร์หอม ศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้
ที่มาและความสำคัญแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
อ.นบ ศรีจันทร์ ม.สวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง
09.30 – 12.00 น. แบ่งกลุ่มให้ความเห็นและปรึกษาหารือต่อ (ร่าง)แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
• ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างคุณภาพทักษะความสามารถ ของทรัพยากรมนุษย์แบบพึ่งพาตนเอง บนฐานพอเพียงและความรู้
• ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มคุณค่าและมูลค่าทรัพยากรชุมชนสู่การเป็นสินค้าและบริการ บนพื้นฐานอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ สู่ต้นแบบเป็นแหล่งเรียนรู้การพัฒนาและจัดการท่องเที่ยวชุมชน
• ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการบริหารจัดการตลาดการท่องเที่ยวชุมชน ที่มุ่งเน้นการสร้างสมดุลความสุขอย่างเท่าเทียม • ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนากลไกระบบบริหารจัดการและเชื่อมโยงการทำงานเชิงเครือข่ายประชารัฐ ที่มีเอกภาพ มั่นคง ยั่งยืน
• ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาตัวชี้วัดความสุขระหว่างชุมชน-นักท่องเที่ยว พัฒนาไปสู่แหล่งเรียนรู้ในภาคใต้
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
13.00-15.30 น. ปรึกษาหารือการแปลงยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564 เป็นแผนปฏิบัติการปี 2561-2562 ดำเนินรายการ โดย อ.ชัยพร จันทร์หอมและอ.มาฆฤกษ์ ชูช่วย
1.กลุ่มท่องเที่ยว (สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง,ททท.ตรัง,อบจ.ตรัง)
2.กลุ่มเศรษฐกิจฐานราก (สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดตรัง,บริษัทประชารัฐรักสามัคคีตรัง)
3.กลุ่มเครือข่ายชุมชนท่องเที่ยว
4.กลุ่มภาคเอกชน (สภาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจังหวัดตรัง,สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวและโรงแรมจังหวัดตรัง)
15.30 น. ปิดการประชุม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานวิจัย
- ทีม สจรส.ม.อ.
-
-
-
เพื่อพัฒนา(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564
- เวทีปรึกษาหารือร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง พ.ศ.2561-2564 กับภาคีเครือข่ายภาครัฐ
- คณะทำงานวิจัยนำเสนอ (ร่าง)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน
เวทีปรึกษาหารือ ร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานวิจัย
- ผู้แทนภาครัฐ ได้แก่ ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง สำนักงานท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานตรัง สำนักพัฒนาชุมชนจังหวัดตรัง
- ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง เทศบาลนครตรัง
- ผู้แทนภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ได้แก่ กลุ่ม Trang positive
-
-
-
สรุป สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน
เข้าสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน จำนวน 8 คน 8วัน
เข้าสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน
-
-
-
ร่วมเวทีทำแผน กับกระบี่
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ประชุมร่วมกับสจรส มอ.
ประชุมจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์และแนวทางสำคัญการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง
ประชุมร่วมกับสจรส มอ. จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์และแนวทางสำคัญการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
กิจกรรมจ้างเขียนสรุป การถอดบทเรียน การท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่
เขียนสรุป การถอดบทเรียน การท่องเที่ยวชุมชน 4 พื้นที่
เขียนสรุป การถอดบทเรียน การท่องเที่ยวชุมชน 4 พื้นที่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
คืนข้อมูล ชุมชนบ้านลำขนุน
ทีมวิจัยนำเสนอผลการถอดบทเรียนและการประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้แกนนำ และสมาชิกกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวชุมชน
แกนนำชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- สมาชิกในชุมชน บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง จำนวน 17 คน
- คณะทำงานวิจัย 2 คน
-
-
-
ประชุมเตรียม เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง เวทีรวม ตรัง กระบี่
ประชุมเตรียม เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง เวทีรวม ตรัง กระบี่
เตรียม เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดตรัง เวทีรวม ตรัง กระบี่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
เพื่อประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก
- การชี้แจงแนวทางการประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก โดยขอบเขตดูผลกระทบที่เกิดขึ้น 3 ด้าน ประกอบด้วยด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
- การให้ความเห็นและแลกเปลี่ยนซักถามจากแกนนำชุมชนต่อผลกระทบ 3 ด้าน
แกนนำชุมชนได้เห็นผลกระทบเชิงบวกที่เกิดจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก
1.ด้านเศรษฐกิจ
- ปี 60 ตั้งแต่เดือนมีนาคม-เมษายน มีนักท่องเที่ยวล่องแก่งประมาณ 700 คน รายรับประมาณ 126,500 บาทกระจายรายได้สู่กลุ่มล่องแก่งบ้านเขาหลัก
- รายได้เสริมของสมาชิกstaffพายเรือกลุ่มล่องแก่งเขาหลัก ผู้ใหญ่ 14 คน เด็กเยาวชน 13 คน และ staff ที่เป็นคนขับรถ
- รายได้เพิ่มขึ้นของสมาชิกกลุ่มแม่บ้านในการทำอาหาร
- รายได้เพิ่มขึ้นของกลุ่มทำขนมจำนวน 13 คน
- รายได้ที่เพิ่มขึ้นของร้านค้าในชุมชน 4 ร้าน
- ก่อให้เกิดการลดรายจ่ายในครัวเรือนจากการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
2.ด้านสังคม
- เกิดกลุ่มการล่องแก่งเขาหลัก ปัจจุบันปี 2560 มีสมาชิกจำนวน 87 คน
- เด็กเยาวชนในชุมชนได้ใช้เวลาว่าง มาเป็นทีมงานพายเรือ หารายได้พิเศษและห่างไกลจากอบายมุข
- กลุ่มรักษ์ป่าต้นน้ำตรังเกิดความหวงแหนการรักษาผืนป่าเพราะป่าต้นน้ำเป็นสายน้ำที่คอยหล่อเลี้ยงการดำรงชีวิตของชุมชนเขาหลักที่ยั่งยืน และการท่องเที่ยวล่องแก่ง
- ทีมงานล่องแก่งมีทักษะการเป็นเจ้าบ้านที่ดีเพิ่มมากขึ้น
- สร้างความภาคภูมิใจในการเป็นคนเขาหลัก ชุมชนอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ
- เกิดการต่อยอดเป็นกลุ่มช่างไม้บ้านเขาหลัก
- ทำให้มีการติดตั้งกล้อง cctv เพื่อรักษาความปลอดภัยในชุมชน
- บ้านเขาหลักเป็นที่รู้จักทั้งภายในจังหวัดและภายนอกจังหวัด โดยมีสื่อเฟซบุค สื่อทีวีโทรทัศน์มาทำรายการแนะนำการท่องเที่ยวล่องแก่งบ้านเขาหลัก /หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
- ชาวบ้านมีความเป็นเจ้าบ้านที่ดีเพิ่มมากขึ้น การยิ้มแย้ม ทักทาย กล้าพูด พูดสุภาพขึ้น
- การพัฒนาแกนนำชุมชนในการเป็นวิทยากรประจำฐานเรียนรู้ต่างๆในชุมชน
- ชาวบ้านมีส่วนร่วมและความสามัคคีในการดูแลความสะอาด การจัดการขยะมากขึ้น
- มีเครือข่ายการทำงานเพิ่มมากขึ้น ทั้งชุมชนที่ทำการท่องเที่ยว ผู้ประกอบการท่องเที่ยว ภาครัฐ
3.ด้านสิ่งแวดล้อม
- ชาวบ้านตระหนักถึงคุณค่าของการรักษาผืนป่า การรักษาแหล่งต้นน้ำ เกิดการทำกิจกรรมเชื่อมโยงความศรัทธากับการอนุรักษ์ป่า ผ่านกิจกรรมบวชป่า การปลูกป่า การเดินลาดตระเวนเฝ้าระวังการตัดไม้ทำลายป่าจากกลุ่มทุนอิทธิพลภายนอกทำให้สามารถรักษาผืนป่าได้อุดมสมบูรณ์ต่อเนื่อง
- ข้อตกลงในการดูแลป่า
- การปรับสภาพแวดล้อมภูมิทัศน์ชุมชนและครัวเรือนหน้าบ้านน่ามอง
- เกิดกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ดูแลป่า ( เงิน 5% ของผลกำไรจากการล่องแก่ง)
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- ทีมวิจัย 6 คน
- แกนนำชุมชน 9 คน
-
-
-
คืนข้อมูลชุมชนบ้านนาหมื่นศรี ตำบลนาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง
คืนข้อมูลชุมชนบ้านนาหมื่นศรี ตำบลนาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง
คืนข้อมูลชุมชนบ้านนาหมื่นศรี ตำบลนาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
-
จัดทำต้นฉบับ หนังสือท่องเที่ยวชุมชน
จัดทำต้นฉบับ หนังสือท่องเที่ยวชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการ
ติดตามความก้าวหน้าโครงการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ประชุมเตรียมงาน ลงพื้นที่
ประชุมเตรียมงาน ลงพื้นที่ ทำหนังสือท่องเที่ยวชุมชน
ประชุมเตรียมงาน ลงพื้นที่ ทำหนังสือท่องเที่ยวโดยชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
ประชุมคณะทำงาน
ประชุมคณะทำงาน
ประชุมคณะทำงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ประชุมคณะทำงาน
ประชุมคณะทำงาน
ประชุมคณะทำงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
จัดทำMapping ข้อมูลพื้นที่การท่องเที่ยวชุมชน
จัดทำMapping ข้อมูลพื้นที่การท่องเที่ยวชุมชน
กิจกรรมจัดทำMapping ข้อมูลพื้นที่การท่องเที่ยวชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
ประชุมสรุปผลการวิจัยการท่องเที่ยวชุมชน
ประชุมสรุปผลการวิจัยการท่องเที่ยวชุมชน
สรุปผลการวิจัยการท่องเที่ยวชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
สรุปรวมจัดซื้อวัสดุสำนักงาน
จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อทบทวนข้อมูลสถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
-
-
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
คณะทำงานวิจัย 6 คน
-
-
-
ติดตามการรายงานผลการดำเนินงานและรายงานการเงินทางเว็ปไซต์
- เจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. ทบทวนเป้าหมายการรายงานผลการดำเนินงานและรายงานการเงินทางเว็ปไซต์
- ให้เจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. ตรวจสอบเอกสารการเงิน กิจกรรมที่ดำเนินการที่ผ่านมา
- การแนะนำการสมัครและการรายงานทางเว็ปไซต์ hsmi.psu.ac.th ให้ทีมวิจัยเพิ่มเติม
- ทีมนักวิจัย 3 ท่าน ได้รับความรู้การรายงานผลการวิจัยทางเว็ปไซต์ hsmi.psu.ac.th
- ได้รับข้อแนะนำในการปรับปรุงรายงานการเงิน ใบสำคัญรับเงินที่ต้องปรับให้สมบูรณ์ เช่น การลงวันที่ เป็นต้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานวิจัย 4 คน
- เจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. 4 คน
-
-
-
เพื่อพัฒนาแบบสอบสัมภาษณ์ผู้มีบทบาททางนโยบายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
- การประชุมของทีมวิจัย และร่วมกันยกร่างแบบสัมภาษณ์ผู้มีบทบาทหน้าที่สนับสนุนทางนโยบายด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
- ได้แนวคำถามการสัมภาษณ์ผู้มีบทบาทหน้าทีสนับสนุนทางนโยบายด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
- ได้กำหนดกลุ่มเป้าหมายสัมภาษณ์ผู้มีบทบาทสนับสนุนทางนโยบายด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
ได้แก่
1) ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง
2) ผอ.ททท.ตรัง
3) ประธานเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
4) MD บริษัทประชารัฐสามัคคีจังหวัดตรัง
5) นายกสมาคมการท่องเที่ยวและโรงแรมจังหวัดตรัง
6) เกษตรจังหวัดตรัง /หรือเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
7) พัฒนาการจังหวัดตรัง / หรือเจ้าหน้าที่รับผิดชอบหมู่บ้าน otop เพื่อการท่องเที่ยว
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานวิจัย 4 คน
-
-
-
ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน
กิจกรรมถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน ครั้งที่ 3
กิจกรรมถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน ครั้งที่ 3
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน
กิจกรรมการประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน ครั้งที่ 3
กิจกรรมการประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน ครั้งที่ 3
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อถอดบทเรียนรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวในชุมชน
สัมภาษณ์แกนนำ และประชาชนในหมู่บ้านที่ 7
และลงสำรวจแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ ได้แก่ หาดทุ่งหญ้าคา และ สะพานหิน
หมู่ 4
- การประสานแกนนำชุมชน
- การสัมภาษณ์แกนนำชุมชน
- สำรวจวิถียามเช้าบ้านบาตูปูเต๊ะ
ได้ทราบแนวทางการจัดการท่องเที่ยวในพื้นที่ที่ผ่านมา
และลงสำรวจแหล่งท่องเที่ยในพื้นที่ คือ หาดทุ่งหญ้าคา และสะพานหิน
- ได้ทราบแนวทางการจัดการท่องเที่ยวในชุมชนของบ้านบาตูปูเต๊ะ
- ได้เห็นวิถีชีวิตชุมชนประมงพืนบ้านบ้านบาตูปูเต๊ะ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำชุมชน ม.7
แกนนำชุมชน ม.4 2 คน
นักศึกษามาเรียนรู้ชุมชน 2 คน
-
-
-
เพื่อถอดบทเรียนรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวในชุมชน
สัมภาษณ์แกนนำชุมชนที่ดำเนินกิจกรรมท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่ ม.4
และสำรวจวิถีชีวิตยามเช้าของบ้านบาตูปูเต๊ะ
ได้ข้อมูลรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่ ม.4
และได้ข้อมูลวิถีชีวิตยามเช้าของบ้านบาตูปูเต๊ะ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำชุมชน ม.4 จำนวน 3 คน
-
-
-
ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี
กิจกรรมการถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี ครั้งที่ 3
กิจกรรมการถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี ครั้งที่ 3
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ชุมชนตำบลนาหมื่นศรี
-
-
-
เพื่อถอดบทเรียนการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี
- การลงพื้นที่สัมภาษณ์แกนนำกลุ่มทำผลิตภัณฑ์ลูกหยี กลุ่มทำนา และครูภูมิปัญญาทำมีดฤาษี
- ได้ข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มลูกหยี กลุ่มทำนา และครูภูมิปัญญาทำมีดฤาษี
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานวิจัย 2 คน แกนนำชุมชน 5 คน
-
-
-
เพื่อแลกเปลี่ยนบทเรียนการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- การลงพื้นที่การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านน้ำราบ ต.บางสัก อ.กันตัง จ.ตรัง (ล่องแพ ชมป่าโกงกาง ขึ้นเขาจมป่า ชมสันหลังมังกร)
- ชุมชนท่องเที่ยวโดยชุมชนร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการท่องเที่ยวบ้านน้ำราบ
- นำเสนอความก้าวหน้าการลงพื้นที่วิจัย
- การวางแผนลงพื้นที่เก็บข้อมูล
- ชุมชนที่ดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การท่องเที่ยวโดชุมชนบ้านน้ำราบ ต.บางสัก อ.กันตัง จ.ตรัง
- ความก้าวหน้าการดำเนินงานวิจัยในพื้นที่บ้านลำขนุน /ต.นาหมื่นศรี / เกาะลิบง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานวิจัย 4 คน
- สื่อ 1 คน
- แกนนำในพื้นที่วิจัย 6 คน
- แกนนำในพื้นที่อื่นที่สนใจการท่องเที่ยวโดยชุมชน 11 คน
-
-
-
กิจกรรมการถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง บอกรักทะเล
กิจกรรมการถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง บอกรักทะเล
กิจกรรมการถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง บอกรักทะเล
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ชุมชนเกาะลิบง
-
-
-
เพื่อถอดบทเรียนการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี
- ลงพื้นที่นาหมื่นศรีเยี่ยมชมกลุ่มผ้าทอนาหมื่นศรี
- แวะนมัสการพ่อท่านขุนจ่า วัดควนสวรรค์ และเยี่ยมพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านของคุณลุงประเสริฐ
- สอบถามการดำเนินงานด้านการท่องเที่ยวที่ผ่านมาของชุมชน
- ได้ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน รูปแบบการดำเนินการ ปัญหาอุปสรรค ของกลุ่มผ้าทอนาหมื่นศรี วัดควนสวรรค์ และพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน ต.นาหมื่นศรี
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานวิจัย 2 คน
- แกนนำชุมชน 2 คน
-
-
-
ถอดบทเรียนการจัดรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี
- การประชุมร่วมกับแกนนำชุมชนในการถอดรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- การให้แกนนำกลุ่มนำเสนอกิจกรรมของกลุ่ม ปัญหาอุปสรรค
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานวิจัย 2 คน
- แกนนำกลุ่มชุมชน 23 คน
-
-
สัมภาษณ์ เรื่อง อาหารพื้นฐาน ชุมชนเกาะลิบง
สัมภาษณ์ เรื่อง อาหารพื้นฐาน ชุมชนเกาะลิบง
สัมภาษณ์ เรื่อง อาหารพื้นฐาน ชุมชนเกาะลิบง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานวิจัยและวางแผนการทำงาน
นำเสนอผลการลงพื้นที่
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานวิจัย 6 คน
-
-
-
เก็บข้อมูลภูมิปัญญาด้านอาหารท้องถิ่น
ประชุมแลกเปลี่ยนด้านเมนูอาหารภูมิปัญญาด้านอาหารท้องถิ่น
ข้อมูลเมนูท้องถิ่น จำนวน 12 เมนู และกรรมวิธีการปรุงอาหาร วัตถุดิบ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
กลุ่มแม่บ้านที่อาศัยอยู่บนเกาะลิบง
-
-
-
-
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำกลุ่มผ้าทอนาหมื่นศรี แกนนำกลุ่มลูกลม แกนนำกลุ่มอาชีพต่างๆ นายกอบต.นาหมื่นศรี กำนันตำบลนาหมื่นศรี สมาชิกอบต. พัฒนาชุมชนอำเภอนาโยง
-
-
-
เพื่อประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะลิบง
- การนัดแกนนำชุมชนที่ร่วมจัดทำการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่เกาะลิบง
- การประชุมเพื่อร่วมถอดบทเรียนการทำงานที่ผ่านมา
- แกนนำชุมชนในพื้นที่เกาะลิบงเข้าร่วมการถอดบทเรียนจำนวน 12 คน
- ได้บทเรียนการจัดการท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะลิบงที่ผ่านมา
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำชุมชนในเกาะลิบง 12 คน
ทีมวิจัย 2 คน
แกนนำต่างตำบล 2 คน
-
-
-
ถอดบทเรียนการจัดรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี
- คณะทำงานวิจัยนำเสนอที่มาที่ไปโครงการวิจัยและกรอบการดำเนินงานวิจัย
- การให้แกนนำในพื้นที่นำเสนอรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวในชุมชน ทุนชุมชนด้านต่างๆ ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน
- แกนนำชุมชนได้ทราบที่มาที่ไปของงานวิจัย และแนวทางการการดำเนินวิจัย
- ได้รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลนาหมื่นศรี และปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการท่องเที่ยว
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานวิจัย 4 คน
- ข้าราชการในพื้นที่ 3 คน ได้แก่ พัฒนาการอำเภอนาโยง พัฒนากรตำบลนาหมื่นศรี และ กศน.อำเภอนาโยง
- แกนนำกลุ่มในชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว 14 คน
-
-
-
กิจกรรมถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยว
กิจกรรมถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน ครั้งที่ 3
กิจกรรมถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน ครั้งที่ 3
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ชุมชน บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง
-
-
-
รับฟังนโยบายการท่องเที่ยวจากหน่วยงานภาครัฐ
รับฟังนโยบายการท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
คณะทำงานทราบถึงนโยบายการท่องเที่ยวจังหวัดตรังและองค์ความรู้ภูมิปัญญาการทำลูกลม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมวิจัย
-
-
-
-
กิจกรรมลงพื้นที่แนะนำตัวต่อชุมชนเกาะลิบง ครั้งที่ 2
กิจกรรมลงพื้นที่แนะนำตัวต่อชุมชนเกาะลิบง ครั้งที่ 2
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ชุมชนเกาะลิบง
-
-
-
ประชุมร่วม ทีมท่องเที่ยว จ.กระบี่
ประชุมร่วม ทีมท่องเที่ยว จ.กระบี่
ประชุมร่วม ทีมท่องเที่ยว จ.กระบี่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ประชุมร่วม ทีมท่องเที่ยว จ.กระบี่
-
-
-
เพื่อประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ประชุมคณะทำงานวิจัยก่อนลงพิ้นที่ฯลำขนุน
ประชุมคณะทำงานวิจัยก่อนลง พื้นที่วิจัย การท่องเที่ยวชุมชน บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง
ประชุมคณะทำงานวิจัยก่อนลง พื้นที่วิจัย การท่องเที่ยวชุมชน บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ประเมินผลกระทบจากการดำเนินการท่องเที่ยวโดยชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ประชุมร่วมกับภาคีเครือข่าย บ.ประชารัฐ
ประชุมร่วมกับภาคีเครือข่าย บ.ประชารัฐ
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลการท่องเที่ยวชุมชนตรัง mapping
กิจกรรมลงพื้นที่ชุมชนในอำเภอต่างๆที่ทำการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อสำรวจพื้นที่ที่มีการทำการท่องเที่ยวชุมชน mppping 10 พื้นที่ ระหว่างวันที่ 1 สค- 30 กย.59
กิจกรรมลงพื้นที่ชุมชนในอำเภอต่างๆที่ทำการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อสำรวจพื้นที่ที่มีการทำการท่องเที่ยวชุมชน mppping 10 พื้นที่ ระหว่างวันที่ 1 สค- 30 กย.59
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
เพื่อถอดบทเรียนพื้นที่วิจัย การท่องเที่ยวชุมชนบ้านเขาหลัก
- ชี้แจงที่มาของโครงการวิจัยฯ
- กระบวนการถอดบทเรียนสอบถามถึงที่มาของการจัดการท่องเที่ยวของชุมชน
- การบริหารจัดการกลุ่ม ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงานที่ผ่านมา
ผลผลิต
- บทเรียนการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก
- กลุ่มแกนที่ทำงานเป็นกลุ่มจิตอาสาที่เริ่มจากการทำงานจากงานอนุรักษ์รักษาป่าในพื้นที่มาพร้อมจะเสียสละในการทำงาน และตระหนักเห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
- การสร้างการมีส่วนและเป็นเจ้าของของคนในชุมชนโดยการเปิดรับสมาชิกคนในชุมชนเป็นสมาชิกกลุ่ม
- การนำประเด็นเรื่องท่องเที่ยวชุมชนเป็นเรื่องหนึ่งที่เป็นวาระปรึกษาในการประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน
- การแบ่งเงินรายได้จากกิจกรรมล่องแก่ง ค่าเรือลำละ 200 บาท โดยแบ่งให้ฝีพาย(ตั้งแต่ 80-200 บาท แปรผันตามจำนวนนักท่องเที่ยวต่อรอบ) แบ่งให้คนขับรถ(ครั้งละ 150) แบ่งเข้ากองทุนหมู่บ้าน(หลังจากหักค่าใช้จ่าย ค่าฝีพาย คนขับรถ และเบ็ดเตล็ด)
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำชุมชนกลุ่มต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดการท่องเที่ยวชุมชนบ้านเขาหลัก
ทั้งกลุ่มล่องแก่งบ้านเขาหลัก กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มอาชีพ ในชุมชน
-
-
-
เตรียมงานสร้างสุขภาคใต้
เตรียมงานสร้างสุขภาคใต้
เตรียมงานสร้างสุขภาคใต้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อสรุปข้อมูลสถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชน
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานวิจัย
-
-
-
เพื่อแนะนำตัวต่อชุมชนและวางแผนการลงพื้นที่วิจัย
- แนะนำตัวต่อที่ประชุม /รายละเอียดงานวิจัย
- ร่วมปฏิบัติการทำแผนการขับเคลื่อนหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยวตำบลนาหมื่นศรี
- ได้แนะนำตัวต่อแกนนำชุมชน
- ได้แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนหมู่บ้าน otop เพื่อการท่องเที่ยวชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานวิจัย 2 คน
- เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน 3 คน
- แกนนำและประชาชนในชุมชนรวม 25 คน
-
-
-
ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน
ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน
ถอดบทเรียนการดำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านลำขนุน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
-
สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน หมู่ 1
สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการดำเนินการท่องเที่ยวชุมชน หมู่ 1
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำชุมชน หมู่ 1
-
-
-
เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานวิจัย
-
-
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
คณะทำงานวิจัย 4 คน
-
-
-
เพื่อจัดทำ mapping การท่องเที่ยวโดยชุมชน
- ประชุมคณะทำงาน จัดทำ mapping การท่องเที่ยว
- นำข้อมูลแผนงาน /นโยบายของกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา แผนของสำนักงานท่องเที่ยวและกีฬา แผนพัฒนาของจังหวัดตรัง มาวิเคราะห์ข้อมูล
- mapping การท่องเที่ยวโดยชุมชน ทราบถึงนโยบายการท่องเที่ยวโดยชุมชนของชาติ / กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และการทำงานที่ผ่านมาของสำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง
- ทราบถึงกลุ่มชุมชนที่ทำท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่จังหวัดตรัง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
เพื่อทำความรู้จักกับแกนนำชุมชน และได้ทำความเข้าใจที่มาแนวทางการวิจัย
- ทีมวิจัยฯลงพื้นที่บ้านลำขนุน แนะนำตัว และที่มาที่ไป เป้าหมายและแนวทางการดำเนินงานวิจัยฯ
- ผู้ใหญ่และแกนนำชุมชนได้เล่าถึงรูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวภายในชุมชน ปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมาที่เกิดขึ้น
- ผู้ใหญ่บ้านพาทีมวิจัยลงชมแปลงศูนย์เรียนรู้เกษตร ซึ่งเป็นฐานเรียนรู้สำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้ศึกษาดูงาน
- ลงพื้นที่ชมแปลงเกษตรมะนาว ของแกนนำชุมชน และพบหัวหน้าคณะโนรา ฐานเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมในชุมชน
- แกนนำชุมชนชุดเล็กที่ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านและแกนนำกลุ่มมีความเข้าใจเป้าหมาย วิธีการดำเนินงานวิจัยมากขึ้น
- คณะวิจัย ได้รู้จักแกนนำชุมชนมากขึ้น
- ลงเยี่ยมชมฐานเรียนรู้
- ได้ข้อมูลการจัดการท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่ลำขนุนเบื้องต้น
ซึ่งมีต้นทุนที่สำคัญคือ จากทรัพยากรธรรมชาติ วิถีชีวิตของชุมชน กลุ่มคนความร่วมไม้ร่วมมือของคนในชุมชน ปัจจุบันรูปแบบการท่องเที่ยวประกอบด้วยกิจกรรมสำคัญ คือ
รูปแบบการศึกษาดูงานเชิงฐานเรียนรู้ ประกอบด้วย
1) กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงฐานเรียนรู้ - ฐานเรียนรู้ด้านเกษตร
- ฐานรู้พลังงาน ประกอบด้วย โรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก เตาถ่าน และแก๊สชีวภาพ
2)กิจกรรมเดินป่าขึ้นภูผาหมอก
3)ด้านศิลปวัฒนธรรม มี โนรา และโนราโกลน(แห่งเดียวในจังหวัดตรัง)
4) กิจกรรมพายเรือล่องคลองลำพิกุล
ปัญหาอุปสรรค ที่พบ คือ คณะศึกษาดูงานส่วนมากที่มาจาก 3 จังหวัดที่เป็นไทยมุสลิม จะไม่รับประทานอาหารในชุมชนเนื่องจากบ้านลำขนุนเป็นชุมชนพุทธ
ทำให้รายได้ที่ควรเข้ามาในพื้นที่ได้ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย - ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าบ้านลำขนุน ควรมีเมนู welcome drink ของบ้านลำขนุน เช่น น้ำอัญชัญผสมน้ำผึ้งมะนาว ซึ่งมีวัตถุดิบอยู่แล้วในชุมชนเป็นต้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทีมวิจัยฯ 4 คน
- แกนนำชุมชน ทั้งผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และแกนนำกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนเข้าร่วมอีก 4 คน
-
-
-
เพื่อทำความเข้าใจภาพรวมงานโครงการวิจัยท่องเที่ยวชุมชนตรัง และแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน และวางแผนการทำงาน
- ขั้นต้นเป็นการแนะนำตัวคณะทำงานวิจัยและผู้เข้าร่วมประชุม
- ต่อมาเป็นการเปิดการประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม
- จากนั้นก็เป็นการทำความเข้าใจภาพรวมของโครงการวิจัย กิจกรรมหลักของโครงการซึ่งประกอบด้วยการประชุมคณะทำงาน กิจกรรมการ mapping พื้นที่การท่องเที่ยวชุมชน กิจกรรมการถอดบทเรียนพื้นที่วิจัยเขา ป่า นา เล กิจกรรมการนำเสนอผลการถอดบทเรียนและศึกษาการประเมินผลกระทบชุมชน กิจกรรมการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายการท่องเที่ยวชุมชน เวทีข้อเสนอเชิงนโยบาย และประชุมสรุปผลการวิจัยท่องเที่ยวชุมชนตรัง
- ผู้เข้าร่วม 12 ท่าน ประกอบด้วยคณะทำงานวิจัย 9 ท่านรวมถึงตัวแทนชุมชนอีก 3 เข้าใจภาพรวมเป้าหมาย กิจกรรมหลักการท่องเที่ยวชุมชนฯ เขา ป่า นา เล
- มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ทีมวิจัย
- การวางแผนการทำงานโดยมีการเลือกพื้นที่แรกในการศึกษาวิจัยได้แก่ พื้นที่บ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง
โดยจะมีทีมวิจัยฯชุดเล็กหลัก ซี่งประกอบด้วย นายเชภาดร จันทร์หอม อ.มาฆฤกษ์ ชูช่วย อ.นบ ศรีจันทร์ ในการลงพื้นที่เก็บข้อมูล
รวมถึงให้ประสานงานร่วมกับ ทีมวิจัยท่านอื่นที่สะดวกในการลงพื้นที่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานวิจัย ที่ประกอบด้วย เครือข่าย CBT ตรัง นักวิชาการจาก ม.สวนดุสิตศูนย์ตรัง สื่อมวลชน
- ตัวแทนชุมชนที่เข้าร่วมวิจัยจากบ้านลำขนุน ต.นาชุมเห็ด และ บ้านบาตูปูเต๊ะ จาก ต.เกาะลิบง
ปัญหา - ขาดผู้แทนชุมชนจาก ต.นาหมื่นศรี และ บ้านเขาหลัก ต.น้ำผุดเข้าร่วมประชุม
แนวทางแก้ไข - ให้มีการประสานรายงานผลการประชุมให้ตัวแทนพื้นที่นาหมื่นศรี และบ้านเข้าหลักรับทราบ
เพื่อแนะนำตัวต่อแกนนำชุมชนและวางแผนการลงพื้นที่วิจัย
- แนะนำตัวทีมวิจัยแบบไม่เป็นทางการกับผู้นำชุมชนทั้ง ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ และแกนนำกลุ่มองค์กรด้านการท่องเที่ยว
เยี่ยมลิบงโฮมสเตย์ - เก็บข้อมูลเบื้องต้น ด้านต้นทุนทางสังคม แวะชมสถานที่สะพานหลีกภัย หอชมพะยูน
- แวะชมซากโซลาร์ฟาร์ม ที่กระทรวงพลังงานเคยให้งบประมาณดำเนินการ
- แนะนำตัวทีมวิจัยกับผู้นำชุมชน
- เก็บข้อมูลเบื้องต้น ด้านต้นทุนทางสังคม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- นายกอบต.เกาะลิบง
- ผู้ใหญ่บ้านบาตูปูเต๊ะ ต.เกาะลิบง
- แกนนำชุมชนกลุ่มท่องเที่ยวในพื้นที่
-
-
-