แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 800,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.1 การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ จำนวน 1 ครั้ง
- 1.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานโครงการ- จัดทำข้อมูลและฐานข้อมูลชุมชน (ทำงานร่วมกับโครงการพัฒนาตำบลแบบบูรณาการ ของกรมการปกครอง) และการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) เพื่อนำข้อมูลใช้วางแผนและตัดสินใจจัดทำแผน แนวทาง และงบประมาณสนับสนุน
- 2.1 การประชุมเกษตรกร ผู้ประกอบการท่องเที่ยว ร้านค้า กลุ่มอาชีพในตำบล
- 2.2 ปฏิบัติการยกระดับการผลิต การแปรรูปผลผลิตการเกษตรในชุมชน - การพัฒนาผลผลิตการเกษตร โดยใช้ความรู้ เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น - มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร - ปฏิบัติการพัฒนาสินค้าเกษตร/ การยกระดับแปรรูปอาหารให้มีมาตรฐานและมูลค่าเพิ่ม - พัฒนาบรรจุภัณฑ์
- 2.3 การติดตามประเมินสภาพแวดล้อม แหล่งผลิตอาหารของชุมชน การผลิตสินค้า OTOP
- 2.4 พัฒนาการตลาด การสร้างกลไก Matching Model
- ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ
- ประชุมวางแผนการทำงานในช่วงการระบาดของโควิด
- ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
- ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
- ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
- ติดตามผลการปลูกพื้นแนวตั้ง
- ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
- ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
- อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing
- อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing
- อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing
- อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing
- ประชุมวางแผนออกแบบกิจกรรม
- ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
- ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
- ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
- ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
- ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
- ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
- ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
- ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ
วันที่ 9 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ ได้แก่
1. ปลูกพืชแนวตั้งในครัวเรือน
2. น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน โดยจะใช้พื้นที่วัดเป็นศูนย์กลาง
3. พัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ กลุ่มเลี้ยงแพะ กลุ่มเลี้ยงปูนิ่ม กลุ่มรักษ์สุขภาพ กลุ่มทำปลาส้ม
0
0
2. ประชุมวางแผนการทำงานในช่วงการระบาดของโควิด
วันที่ 29 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุมวางแผนการทำงานในช่วงการระบาดของโควิด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แนวทางการดำเนินงาน
1. สำรวจครัวเรือนยากจนมาให้ได้ มีกี่ครัวเรือน รายได้ตกเกณฑ์กี่ครัวเรือน
2. การจัดกิจกรรม ให้จัดกลุ่มเล็กๆ 1-5 คน ก่อนถ้ามีการระบาด ออกแบบกิจกรรมให้เซฟเรื่องโควิดมากที่สุดก่อน
สรุป
- กิจกรรมที่ตำบลพิมานดำเนินการก่อนในช่วงนี้ คือ
1. การปลูกพืชแนวตั้ง
2. การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
0
0
3. ประชุมวางแผนออกแบบกิจกรรม
วันที่ 31 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุมวางแผนเพื่อออกแบบกิจกรรมปฏิบัติการยกระดับเศรษฐกิจชุมชน โดยวางแผนกับดร.สมยศ ทุ่งหว้า อดีตอาจารย์คณะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และนายสุริยา ฉาดหลี จากนักวิชาการเกษตรจากสำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสตูลเมื่อวางแผนและกำหนดวันปฏิบัติกิจกรรมแล้วได้มีการนัดแนะวันเวลาสถานที่และเนื้อหากิจกรรมเบื้องต้นกับกลุ่มเป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่จะจัดมีทั้งหมด 2 กิจกรรม ได้แก่ 1.ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง และ 2.ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน โดยจะจัดที่บริเวณวัดชนาธิปเฉลิม ในวันที่ 7,9,14และ 16 กันยายน 2564 โดยมีกลุ่มเป้าหมายที่สนใจเข้าร่วมทั้งหมด 69 ครัวเรือนแบ่งเป็นวันละประมาณ 15-18 ครัวเรือนและได้แจ้งกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดได้ทราบถึงการจัดกิจกรรม
0
0
4. ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
วันที่ 7 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 13 ครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
- กลุ่มเป้าหมาย มีค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยต่อครัวเรือนเดือนละประมาณ 5000 บาท ตั้งเป้าหมายจากการปลูกผักสวนครัวให้สามารถลดรายจ่ายได้เดือนละ 200-500 บาท
13
0
5. ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
วันที่ 7 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่
ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 13 ครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านต่อได้
-ได้น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือนทั้งหมด 1ถังประมาณ 100 กิโลกรัมยังไม่พร้อมใช้งาน
13
0
6. ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
วันที่ 9 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่
ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 13 ครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านต่อได้
-ได้น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือนทั้งหมด 1ถังประมาณ 100 กิโลกรัมยังไม่พร้อมใช้งาน
13
0
7. ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
วันที่ 9 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 13 ครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
- กลุ่มเป้าหมายครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยต่อครัวเรือนเดือนละประมาณ 5000 บาท ตั้งเป้าหมายจากการปลูกผักสวนครัวให้สามารถลดรายจ่ายได้เดือนละ 200-500 บาท
0
0
8. ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
วันที่ 14 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 20 ครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
- กลุ่มเป้าหมาย มีค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยต่อครัวเรือนเดือนละประมาณ 5000 บาท ตั้งเป้าหมายจากการปลูกผักสวนครัวให้สามารถลดรายจ่ายได้เดือนละ 200-500 บาท
20
0
9. ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
วันที่ 14 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่
ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 20 ครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านต่อได้
-ได้น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือนทั้งหมด 1 ถังประมาณ 100 กิโลกรัมยังไม่พร้อมใช้งาน
20
0
10. ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
วันที่ 16 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 10 ครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
- กลุ่มเป้าหมาย มีค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยต่อครัวเรือนเดือนละประมาณ 5000 บาท ตั้งเป้าหมายจากการปลูกผักสวนครัวให้สามารถลดรายจ่ายได้เดือนละ 200-500 บาท
10
0
11. ปฏิบัติการอบรมปลูกพืชเเนวตั้ง เเละทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษผักเเละผลไม้ วันที่ 7, 9, 14เเละ16 กันยายน 2564
วันที่ 16 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่
ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 10 ครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านต่อได้
-ได้น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือนทั้งหมด 1 ถังประมาณ 100 กิโลกรัมยังไม่พร้อมใช้งาน
10
0
12. ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
วันที่ 7 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน โคกพยอม,โรงพระสามัคคี,คลองเส็นเต็น รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 12 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด
0
0
13. ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
วันที่ 14 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน ทุ่งเฉลิมสุข,ชนาธิป,ท่าไม้ไผ่ รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 20 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด
0
0
14. ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน ม้าขาว,ปานชูรำลึก,เทศบาล4 รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 13คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด
0
0
15. ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
วันที่ 30 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน สี่แยกคอกเป็ด,ห้องสมุด,ท่านายเนาว์ รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 11 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด
0
0
16. สรุปผลการติดตามการปลูกพืชแนวตั้งทั้ง 12 ชุมชน
วันที่ 6 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จำนวนชุมชนจากทั้งหมด 20 ชุมชน ในตำบลพิมาน มีจำนวนชุมชนเข้าร่วมทั้งสิ้นทั้งหมด 13 ชุมชน โดยรายชื่อชุมชนที่ไม่เข้าร่วมได้แก่ หลังโรงพัก, บ้านหัวทาง, เมืองพิมาน, สัตยารามทุ่งเฉลิมตะวันออก และจงหัว ตามลำดับโดยมีจำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมด 69 คน ก่อนได้รับการอบรม และหลังจากได้รับการอบรมเสร็จสิ้น และเริ่มดำเนินการติดตามประเมินผลในแต่ละชุมชนทั้งสิ้น 13 ชุมชน มีชุมชนศาลากันตงที่ไม่สามารถทำการเพาะปลูกได้ หลังจากมีการติดตามประเมินผลทำให้ชุมชนที่เข้าร่วมจะเหลือ 12 ชุมชน โดยมีจำนวนที่ยังคงสามารถติดตามผล และประเมินผลได้ทั้งสิ้น 51 คน จากจำนวนทั้งสิ้น 69 คน คิดเป็น 73.9 %
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โดยปัญหาที่เกิดขึ้นของชุมชนที่ไม่เข้าร่วม คือ การแพร่ระบาดของโรค covid-19 ที่ยังมีความรุนแรงในช่วงระยะเวลาในการอบรม ทำให้กลุ่มชุมชนดังกล่าวไม่สะดวกในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการลดรายจ่ายในครัวเรือนด้วยวิธีการเกษตรได้ ซึ่งผู้ที่เข้าร่วมในโครงการจะมีปัญหาระหว่างดำเนินการติดตามผล ดังนี้ ปัญหาด้านศัตรูพืช เช่น หนอน, ไก่, หมา, แมว, ลิง และหอยทาก เป็นต้น อีกทั้งปัญหาคุณภาพดินที่ใช้ในการเพาะปลูกมีสารอาหารที่ไม่เพียงพอ ทำให้พืชเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ และยังมีผู้เข้าร่วมโครงการบางส่วนที่ไม่มีเวลา เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่ทำอาชีพค้าขาย และรับจ้างทั่วไป จึงมีเวลาน้อยในการเพาะปลูก
0
0
17. อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing
วันที่ 13 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
อบรมในหัวข้อ 1) พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ตำบลพิมานให้เป็นระบบเเละมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าเเละสร้างความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมาน 3) ส่งเสริมด้านการตลาดเเละการประชาสัมพันธ์วิสาหกิจชุมชนพิมานให้เป็นที่รู้จักยิ่งขึ้น
***หมายเหตุ ทางสถาบันนโยบายสาธารณะ(พี่นุช)รับผิดชอบในการดูแลเบิกจ่ายทั้งหมด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมานมีความเข้าใจในด้านการจัดการกลุ่มทั้งด้านการตลาด การเพิ่มมูลค่าสินค้าเเละการประชาสัมพันธ์
0
0
18. อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing
วันที่ 14 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
อบรมในหัวข้อ 1) พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ตำบลพิมานให้เป็นระบบเเละมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าเเละสร้างความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมาน 3) ส่งเสริมด้านการตลาดเเละการประชาสัมพันธ์วิสาหกิจชุมชนพิมานให้เป็นที่รู้จักยิ่งขึ้น
***หมายเหตุ ทางสถาบันนโยบายสาธารณะ(พี่นุช)รับผิดชอบในการดูแลเบิกจ่ายทั้งหมด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมานมีความเข้าใจในด้านการจัดการกลุ่มทั้งด้านการตลาด การเพิ่มมูลค่าสินค้าเเละการประชาสัมพันธ์
0
0
19. อบรมการบริหารจัดการภายในกลุ่มและบัญชีกลุ่มวิสาหกิจ
วันที่ 15 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
โครงการอบรมยกระดับวิสาหกิจชุมชน ตำบลพิมาน มีกลุ่มวิสาหกิจกลุ่มสตรีปลาส้ม (สินค้า OTOP 4 ดาว) , วิสาหกิจกลุ่มเลี้ยงเเพะ, วิสาหกิจรักสุขภาพ, วิสาหกิจกกลุ่มสหพันธ์เกษตรกรปูนิ่ม เพื่อสร้างความเข้มแข็งภายในกลุ่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มวิสหากิจชุมชน ต.พิมาน ให้เป็นระบบและเป็นประสิทธิภาพ
2.ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าและสร้างความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนวิสาหกิจ
3.ส่งเสิรมการตลาดและการประชาสัมพันธ์ วิสหากิจชุมชนตำบลพิมานให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูลหัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 800,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.1 การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ จำนวน 1 ครั้ง
- 1.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานโครงการ- จัดทำข้อมูลและฐานข้อมูลชุมชน (ทำงานร่วมกับโครงการพัฒนาตำบลแบบบูรณาการ ของกรมการปกครอง) และการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) เพื่อนำข้อมูลใช้วางแผนและตัดสินใจจัดทำแผน แนวทาง และงบประมาณสนับสนุน
- 2.1 การประชุมเกษตรกร ผู้ประกอบการท่องเที่ยว ร้านค้า กลุ่มอาชีพในตำบล
- 2.2 ปฏิบัติการยกระดับการผลิต การแปรรูปผลผลิตการเกษตรในชุมชน - การพัฒนาผลผลิตการเกษตร โดยใช้ความรู้ เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น - มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร - ปฏิบัติการพัฒนาสินค้าเกษตร/ การยกระดับแปรรูปอาหารให้มีมาตรฐานและมูลค่าเพิ่ม - พัฒนาบรรจุภัณฑ์
- 2.3 การติดตามประเมินสภาพแวดล้อม แหล่งผลิตอาหารของชุมชน การผลิตสินค้า OTOP
- 2.4 พัฒนาการตลาด การสร้างกลไก Matching Model
- ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ
- ประชุมวางแผนการทำงานในช่วงการระบาดของโควิด
- ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
- ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
- ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
- ติดตามผลการปลูกพื้นแนวตั้ง
- ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
- ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก
- อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing
- อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing
- อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing
- อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing
- ประชุมวางแผนออกแบบกิจกรรม
- ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
- ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
- ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
- ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
- ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
- ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
- ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง
- ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ |
||
วันที่ 9 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ ได้แก่
|
0 | 0 |
2. ประชุมวางแผนการทำงานในช่วงการระบาดของโควิด |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำประชุมวางแผนการทำงานในช่วงการระบาดของโควิด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแนวทางการดำเนินงาน 1. สำรวจครัวเรือนยากจนมาให้ได้ มีกี่ครัวเรือน รายได้ตกเกณฑ์กี่ครัวเรือน 2. การจัดกิจกรรม ให้จัดกลุ่มเล็กๆ 1-5 คน ก่อนถ้ามีการระบาด ออกแบบกิจกรรมให้เซฟเรื่องโควิดมากที่สุดก่อน สรุป
|
0 | 0 |
3. ประชุมวางแผนออกแบบกิจกรรม |
||
วันที่ 31 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำประชุมวางแผนเพื่อออกแบบกิจกรรมปฏิบัติการยกระดับเศรษฐกิจชุมชน โดยวางแผนกับดร.สมยศ ทุ่งหว้า อดีตอาจารย์คณะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และนายสุริยา ฉาดหลี จากนักวิชาการเกษตรจากสำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสตูลเมื่อวางแผนและกำหนดวันปฏิบัติกิจกรรมแล้วได้มีการนัดแนะวันเวลาสถานที่และเนื้อหากิจกรรมเบื้องต้นกับกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่จะจัดมีทั้งหมด 2 กิจกรรม ได้แก่ 1.ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง และ 2.ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน โดยจะจัดที่บริเวณวัดชนาธิปเฉลิม ในวันที่ 7,9,14และ 16 กันยายน 2564 โดยมีกลุ่มเป้าหมายที่สนใจเข้าร่วมทั้งหมด 69 ครัวเรือนแบ่งเป็นวันละประมาณ 15-18 ครัวเรือนและได้แจ้งกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดได้ทราบถึงการจัดกิจกรรม
|
0 | 0 |
4. ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง |
||
วันที่ 7 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 13 ครัวเรือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
|
13 | 0 |
5. ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน |
||
วันที่ 7 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่ ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 13 ครัวเรือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านต่อได้
|
13 | 0 |
6. ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน |
||
วันที่ 9 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่ ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 13 ครัวเรือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
13 | 0 |
7. ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง |
||
วันที่ 9 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 13 ครัวเรือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
|
0 | 0 |
8. ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง |
||
วันที่ 14 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 20 ครัวเรือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
|
20 | 0 |
9. ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน |
||
วันที่ 14 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่ ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 20 ครัวเรือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
10. ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง |
||
วันที่ 16 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 10 ครัวเรือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 0 |
11. ปฏิบัติการอบรมปลูกพืชเเนวตั้ง เเละทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษผักเเละผลไม้ วันที่ 7, 9, 14เเละ16 กันยายน 2564 |
||
วันที่ 16 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่ ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 10 ครัวเรือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 0 |
12. ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก |
||
วันที่ 7 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน โคกพยอม,โรงพระสามัคคี,คลองเส็นเต็น รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 12 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด
|
0 | 0 |
13. ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก |
||
วันที่ 14 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน ทุ่งเฉลิมสุข,ชนาธิป,ท่าไม้ไผ่ รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 20 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด
|
0 | 0 |
14. ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน ม้าขาว,ปานชูรำลึก,เทศบาล4 รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 13คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด
|
0 | 0 |
15. ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก |
||
วันที่ 30 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน สี่แยกคอกเป็ด,ห้องสมุด,ท่านายเนาว์ รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 11 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด
|
0 | 0 |
16. สรุปผลการติดตามการปลูกพืชแนวตั้งทั้ง 12 ชุมชน |
||
วันที่ 6 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำจำนวนชุมชนจากทั้งหมด 20 ชุมชน ในตำบลพิมาน มีจำนวนชุมชนเข้าร่วมทั้งสิ้นทั้งหมด 13 ชุมชน โดยรายชื่อชุมชนที่ไม่เข้าร่วมได้แก่ หลังโรงพัก, บ้านหัวทาง, เมืองพิมาน, สัตยารามทุ่งเฉลิมตะวันออก และจงหัว ตามลำดับโดยมีจำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมด 69 คน ก่อนได้รับการอบรม และหลังจากได้รับการอบรมเสร็จสิ้น และเริ่มดำเนินการติดตามประเมินผลในแต่ละชุมชนทั้งสิ้น 13 ชุมชน มีชุมชนศาลากันตงที่ไม่สามารถทำการเพาะปลูกได้ หลังจากมีการติดตามประเมินผลทำให้ชุมชนที่เข้าร่วมจะเหลือ 12 ชุมชน โดยมีจำนวนที่ยังคงสามารถติดตามผล และประเมินผลได้ทั้งสิ้น 51 คน จากจำนวนทั้งสิ้น 69 คน คิดเป็น 73.9 % ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโดยปัญหาที่เกิดขึ้นของชุมชนที่ไม่เข้าร่วม คือ การแพร่ระบาดของโรค covid-19 ที่ยังมีความรุนแรงในช่วงระยะเวลาในการอบรม ทำให้กลุ่มชุมชนดังกล่าวไม่สะดวกในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการลดรายจ่ายในครัวเรือนด้วยวิธีการเกษตรได้ ซึ่งผู้ที่เข้าร่วมในโครงการจะมีปัญหาระหว่างดำเนินการติดตามผล ดังนี้ ปัญหาด้านศัตรูพืช เช่น หนอน, ไก่, หมา, แมว, ลิง และหอยทาก เป็นต้น อีกทั้งปัญหาคุณภาพดินที่ใช้ในการเพาะปลูกมีสารอาหารที่ไม่เพียงพอ ทำให้พืชเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ และยังมีผู้เข้าร่วมโครงการบางส่วนที่ไม่มีเวลา เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่ทำอาชีพค้าขาย และรับจ้างทั่วไป จึงมีเวลาน้อยในการเพาะปลูก
|
0 | 0 |
17. อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing |
||
วันที่ 13 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำอบรมในหัวข้อ 1) พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ตำบลพิมานให้เป็นระบบเเละมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าเเละสร้างความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมาน 3) ส่งเสริมด้านการตลาดเเละการประชาสัมพันธ์วิสาหกิจชุมชนพิมานให้เป็นที่รู้จักยิ่งขึ้น ***หมายเหตุ ทางสถาบันนโยบายสาธารณะ(พี่นุช)รับผิดชอบในการดูแลเบิกจ่ายทั้งหมด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมานมีความเข้าใจในด้านการจัดการกลุ่มทั้งด้านการตลาด การเพิ่มมูลค่าสินค้าเเละการประชาสัมพันธ์
|
0 | 0 |
18. อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing |
||
วันที่ 14 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำอบรมในหัวข้อ 1) พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ตำบลพิมานให้เป็นระบบเเละมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าเเละสร้างความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมาน 3) ส่งเสริมด้านการตลาดเเละการประชาสัมพันธ์วิสาหกิจชุมชนพิมานให้เป็นที่รู้จักยิ่งขึ้น ***หมายเหตุ ทางสถาบันนโยบายสาธารณะ(พี่นุช)รับผิดชอบในการดูแลเบิกจ่ายทั้งหมด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมานมีความเข้าใจในด้านการจัดการกลุ่มทั้งด้านการตลาด การเพิ่มมูลค่าสินค้าเเละการประชาสัมพันธ์
|
0 | 0 |
19. อบรมการบริหารจัดการภายในกลุ่มและบัญชีกลุ่มวิสาหกิจ |
||
วันที่ 15 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำโครงการอบรมยกระดับวิสาหกิจชุมชน ตำบลพิมาน มีกลุ่มวิสาหกิจกลุ่มสตรีปลาส้ม (สินค้า OTOP 4 ดาว) , วิสาหกิจกลุ่มเลี้ยงเเพะ, วิสาหกิจรักสุขภาพ, วิสาหกิจกกลุ่มสหพันธ์เกษตรกรปูนิ่ม เพื่อสร้างความเข้มแข็งภายในกลุ่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มวิสหากิจชุมชน ต.พิมาน ให้เป็นระบบและเป็นประสิทธิภาพ 2.ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าและสร้างความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนวิสาหกิจ 3.ส่งเสิรมการตลาดและการประชาสัมพันธ์ วิสหากิจชุมชนตำบลพิมานให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......