ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
๐๙.๔๕-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน/
๐๙.๐๐-๐๙.๔๕ น. - เปิดเวที : ผู้บริหารหรือผู้แทน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑
- ชี้แจงกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน : นายทวีวัตร เครือสาย
๐๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. สรุปผลการดำเนินงานสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น
๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ทบทวนเส้นทางการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
บทเรียนและความรู้สำคัญต่อการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่
กำหนดเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ ปี ๒๕๖๓
๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร
๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ระดมความคิด ต่อการออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
- กลวิธีสร้างเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่นได้อย่างไร?
- การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่
-จัดกลไกโครงสร้างที่เหมาะต่อการสนับสนุนงานพื้นที่
โดยทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ตอนบน
๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ น. สรุปผลการแลกเปลี่ยนการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่
: นายทวีวัตร เครือสาย
ปิดประชุม
ตามเอกสารแนบการประชุม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
จนท.กองทุนฯ คณะทำงาน
-
-
-
ตรวจสอบบัญชีการเงินโครงการ
ตรวจสอบบัญชีการเงินโครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฏร์ธานี
- มีการตรวจสอบการเงินโครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฏร์ธานี
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้ตรวจบัญชีการเงิน
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
๐๙.๔๕-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน
๐๙.๐๐-๐๙.๔๕ น. - เปิดเวที : ผู้บริหารหรือผู้แทน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ - ชี้แจงกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน : นายทวีวัตร เครือสาย
๐๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. สรุปผลการดำเนินงานสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น
๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ทบทวนเส้นทางการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่บทเรียนและความรู้สำคัญต่อการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่ กำหนดเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ ปี ๒๕๖๓
๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร
๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ระดมความคิด ต่อการออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ - กลวิธีสร้างเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่นได้อย่างไร? - การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ -จัดกลไกโครงสร้างที่เหมาะต่อการสนับสนุนงานพื้นที่ โดยทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ตอนบน
๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ น. สรุปผลการแลกเปลี่ยนการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่
: นายทวีวัตร เครือสาย
ปิดประชุม
ตามเอกสารแนบการประชุม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานประเด็นผู้สูงอายุจังหวัดสุราษฏร์ธานี
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
- รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
- สรุปการดำเนินงาน
- คณะกรรมการ. กขป. เขต 11 เรียนรู้บทเรียน ทุ่งตะโกโมเดลและพื้นที่รูปธรรม
- เกิดผลลัพธ์ของโครงการนี้ มากกว่า ร้อยละ 80
()
ประกอบด้วย
- คณะทำงานโครงการ
- อปท
- ผู้ที่ขับเคลื่อนงาน
-
-
-
เพื่อติดตามการดำเนินงานของพื้นที่จังหวัดระนอง
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปและออกแบบการสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พศ. ๒๕๖๒ (ตั้งแต่เวลา 09.00-๑๕.00 น.)
ณ.ภูธารา รีสอร์ท ต.บางนอน อ.เมือง จ.ระนอง
...................................................................................
เป้าหมายเวที
๑.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่
๒.เพื่อออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
๐๙.๔๕-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน
๐๙.๐๐-๐๙.๔๕ น. - เปิดเวที : ผู้บริหารหรือผู้แทน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑
- ชี้แจงกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน : นายทวีวัตร เครือสาย
๐๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. สรุปผลการดำเนินงานสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น : คุณ สุชีพ พัฒน์ทอง ผู้ประสานงานพื้นที่ อ.เมือง จ.ระนอง และทีมประเมินผล มอ. สุราษฎร์ธานี
๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ทบทวนเส้นทางการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่บทเรียนและความรู้สำคัญต่อการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่กำหนดเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ ปี ๒๕๖๓
๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร
๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ระดมความคิด ต่อการออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
กลวิธีสร้างเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่นได้อย่างไร?
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่
-จัดกลไกโครงสร้างที่เหมาะต่อการสนับสนุนงานพื้นที่โดยทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ตอนบน
๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ น. สรุปผลการแลกเปลี่ยนการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่ : นายทวีวัตร เครือสาย
ปิดประชุม
ตามเอกสารแนบการประชุม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปและออกแบบการสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พศ. ๒๕๖๒ (ตั้งแต่เวลา 09.00-๑๕.00 น.)
ณ ห้องประชุมเทศบาล ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร
...................................................................................
เป้าหมายเวที
๑.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่
๒.เพื่อออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
วันที่ ๒๓ พค.๖๒
๐๙.๔๕-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน
๐๙.๐๐-๐๙.๔๕ น. - เปิดเวที : ผู้บริหารหรือผู้แทน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑
- ชี้แจงกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน : นายทวีวัตร เครือสาย
๐๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. สรุปผลการดำเนินงานสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น
๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ทบทวนเส้นทางการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
บทเรียนและความรู้สำคัญต่อการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่
กำหนดเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ ปี ๒๕๖๓
๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร
๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ระดมความคิด ต่อการออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
- กลวิธีสร้างเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่นได้อย่างไร?
- การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่
-จัดกลไกโครงสร้างที่เหมาะต่อการสนับสนุนงานพื้นที่
โดยทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ตอนบน
๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ น. สรุปผลการแลกเปลี่ยนการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่
: นายทวีวัตร เครือสาย
ปิดประชุม
ตามเอกสารแนบการประชุม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-สสอ.ทุ่งตะโก -จนท.กองทุนฯ
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปและออกแบบการสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
วันที่ ๒๑ พฤษภาคม พศ. ๒๕๖๒ (ตั้งแต่เวลา 09.00-๑๕.00 น.)
ณ.โรงแรมเมืองลิกอร์ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
...................................................................................
เป้าหมายเวที
๑.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่
๒.เพื่อออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
วันที่ ๒๑ พค.๖๒
๐๙.๔๕-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน
๐๙.๐๐-๐๙.๔๕ น. - เปิดเวที : ผู้บริหารหรือผู้แทน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑
- ชี้แจงกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน : นายทวีวัตร เครือสาย
๐๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. สรุปผลการดำเนินงานสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น : คุณ เจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานพื้นที่ อ.เมือง จ.นครศรีฯ
๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ทบทวนเส้นทางการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่บทเรียนและความรู้สำคัญต่อการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่กำหนดเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ ปี ๒๕๖๓
๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร
๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ระดมความคิด ต่อการออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
กลวิธีสร้างเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่นได้อย่างไร?
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่
-จัดกลไกโครงสร้างที่เหมาะต่อการสนับสนุนงานพื้นที่
โดยทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ตอนบน
๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ น. สรุปผลการแลกเปลี่ยนการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่ : นายทวีวัตร เครือสาย
ปิดประชุม
ตามเอกสารแนบการประชุม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
จนท.รับผิดชอบงานด้านกองทุนฯ
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
ประชุมติดตามผลการดำเนินงาน
- ประสานความร่วมมือสนับงาน พชอ.คลองท่อมกับ ทีม สสจ.กระบี่/ ทีมสมัชชาสุขภาพ
- มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะเชิงประเด็น ทั้ง 6 อำเภอ เพื่อพัฒนาเป็นยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพเชิงประเด็นของ พชอ.
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงานโครงการ
- อปท
- ชุมชน
-
-
-

เพื่อสนับสนุนการพัฒนานโยบายสาธารณะและประเด็นยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่อำเภอและจังหวัดในภาคใต้ตอนบน
ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานพื้นที่อำเภอบ้านนาสาร คีรีรัฐนิคม จ.สุราษฎร์ธานี รายงานผลการดำเนินงาน
- ประสานความร่วมมือทีมคณะทำงานติดตามสนับสนุนกองทุนฯ
- มีการขับเคลื่อนงานที่มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-คณะทำงานโครงการ -อปท -จนทที่เกี่ยวข้องการขับเคลื่อนงาน
-
-
-

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
ลงพื้นที่ติดตามโครงการ
- ทบทวนพัฒนากลไกคณะทำงานคลองท่อมและแผนปฏิบัติการระดับอำเภอ
- เชื่อมโยงการดำเนินงานยุทธศาสตร์กับลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพและเครือข่ายกองทุนท้องถิ่น
- สนับสนุนการดำเนินงานทีมกระบี่กับทีม พชอ.คลองท่อม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
- มีการรายงานผลการดำเนินงานประเด็นปัจจัยเสี่ยงด้านเด็ก เยาวชน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
- มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาของเด็กภายในพื้นที่
- มีแผนการดำเนินงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-

ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
- รายงานผลการดำเนินงาน
- แลกเปลี่ยนการขับเคลื่อนงานเชิงประเด็น
- มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุ
- มีการวางแผนปฏิบัติการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ อปท จนท / ตัวแทนชุมชน ที่ขับเคลื่อนงาน
-
-
-
ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ
ถอดบทเรียนการเรียนรู้ในพื้นที่การดำเนินโครงการ
ตามเอกสารแนบ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- พื้นที่ดำเนินโครงการ
- ตัวแทนคณะทำงานโครงการถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ
-
-
-
ประชุมคณะทำงาน
ประชุมคณะทำงานระดับเขต
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ตามเอกสารแนบการประชุม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานระดับเขต
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
นำเสนอผลการดำเนินงาน
- มีการวางแผนการดำเนินงาน
- มีข้อมูลปัญหาภายในพื้นที่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
รายงานผลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
- มีความก้าวหน้าในการดำเนินงาน
- แลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับทีมจังหวัดนครศรีฯ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการ
- มีข้อมูลการขับเคลื่อนงาน
- มีข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุ
- มีแผนการดำเนินงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา
นำเสนอผลการดำเนินงาน
แลกเปลี่ยน
สรุปผลการดำเนินงาน
การประชุมเชื่อมเครือข่ายเพื่อยกระดับการขับเคลื่อนงานโดยการใช้กองทุนเป็นเครื่องมือ เพื่อสร้างให้เกิดการเรียนรู้ในระดับพื้นที่ เครือข่ายคนทำงานโดยในงบประมาณ ปี 2562 มีกระบวนการเชื่อมการทำงานเป็นระดับ คือ
การทำงานร่วมกับ สปสช และ สสส
การทำงานร่วม สปสช และ สช ซึ่งในการทำงานร่วมกับ สช จะเป็นการทำงานเพื่อให้เกิดธรรมนูญสุขภาพในระดับพื้นที่ (ข้อตกลง) โดยมีพื้นที่นำร่อง ดังนี้
นครศรีธรรมราช ต. นาไม้ไผ่ อ.ทุ่งสง
เทศบาลทุ่งสง อ.ทุ่งสง
ต.นาเหรง อ.นบพิตำ
ต.สี่ขีด อ.สิชล
ต.ชะมาย อ.ทุ่งสง
ต.ท่ายาง อ.ทุ่งใหญ่
ต. เขาชุมทอง อ.ร่อนพิบูลย์
สุราษฎร์ธานี บ้านทำเนียบ อ.คีรีรัฐนิคม ต. น้ำพุ อ.นาสาร
กระบี่ ต.อ่าวนาง อ.เมือง เทศบาลทรายขาว อ.คลองท่อม อบต. โคกยาง อ.เหนือคลอง อบต. แหลมศักดิ์ อ.อ่าวลึก คลองพนพัฒนา อ.คลองท่อม
พังงา อบต. บางวัน อ.คุระบุรี อบต. เกาะยาว อ.เกาะยาว
ชุมพร อบต. ช่องไม้แก้ว อ.ทุ่งตะโก อบต. เขาทะลุ อ.สวี อบต. ทุ่งระยะ อ.สวี เทศบาลทะเลทรัพย์ อ.ปะทิว อบต. วังไผ่ อ.เมือง อบต. วิลัยใต้ อ.สวี อบต. หงษ์เจริญ อ.ท่าแซะ
ระนอง เทศบาลเมืองระนอง
ภูเก็ต เทพกษัตรีย์ อ.ถลาง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
- ติดตามผลการดำเนินงาน
- สนับสนุนการดำเนินงานทีมกระบี่กับทีม พชอ.คลองท่อม
- เชื่อมโยงการดำเนินงานยุทธศาสตร์กับลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพและเครือข่ายกองทุนท้องถิ่น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
รายงานผลการดำเนินงาน
- รายงานผลการดำเนินงานภายในพื้นที่
- มีแผนการดำเนินโครงการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
- ติดตามผลการดำเนินงาน
- นำเสนอผลการดำเนินงาน
- มีข้อมูลสถานการณ์ภายในพื้นที่
- มีการวางแผนการดำเนินงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
- ติดตามผลการดำเนินงานโครงการพื้นที่อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
- ทบทวนพัฒนากลไกคณะทำงานคลองท่อมและแผนปฏิบัติการระดับอำเภอ
- สนับสนุนการดำเนินงานทีมกระบี่กับทีม พชอ.คลองท่อม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-
เพื่อติดตามผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินงาน
- ทบทวนการดำเนินงาน
- รายงานผลการดำเนินงาน
- วางแผนการดำเนินงาน
- คณะทำงานจังหวัดระนองมีความเข้าใจในเป้าหมายและผลลัพธ์ กระบวนการขับเคลื่อนโครงการ
- บันทึกรายงานในระบบออนไลท์
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ อปท จนท / ผู้ที่ขับเคลื่อนการดำเนินงาน
-
-
-
เพื่อการขับเคลื่อนงานด้านสุขภาพภายในจังหวัดชุมพร
กำหนดการ เวทีทบทวนบทเรียนและเป้าหมายแนวทางขับเคลื่อน
ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดชุมพร ปี 62-64
วันที่ 24-25 ธันวาคม พศ.61 ณ ปากตะโกโฮมสเตย์ อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร
............
เป้าหมาย : แลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนระบบหลักประกันสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อเติมศักยภาพแก่กรรมการศูนย์ฯ และผู้ประสานงานหลักประกันสุขภาพระดับตำบล ให้มีแผนยุทธศาสตร์ ปี 2562-2564
วันที่ 24 ธันวาคม 2561
08.30-09.00 น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร เตรียมความพร้อม
09.00-10.00 น. เปิดใจ รู้จักตนเอง รู้จักเพื่อน รู้จักกลไก ...เราเป็นใคร จะไปใหน ?
10.00-10.30 น. เปิดเวทีและบอกทิศระบบหลักประกันสุขภาพ
โดย ผู้บริหาร สปสช. เขต 11 สุราษฎร์ธานี
10.30-12.00 น. ทบทวนภารกิจหน้าที่และบทเรียนของ “ พลเมืองผู้ตื่นรู้ด้านสุขภาพ” และเรียนรู้ 4
สถานี (กลไกศูนย์ฯ หลักประกันสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภค กองทุนสุขภาพท้องถิ่น )
เติมเต็ม ด้วยผู้รู้ ผู้ชำนาญการแต่ละด้าน
12.00-13.00 น. เติมพลัง ด้วยอาหารเลิศรสกับผองเพื่อน
13.00-14.00 น. อภิปรายกลุ่ม การสร้างเสริมสุขภาพ สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่
14.00-16.00 น. กลุ่มย่อย ทบทวนบริบทศูนย์ฯ ระดับอำเภอ เพื่อปักธง สุขภาวะ ควรเป็นในปี 64
นำเสนอ เติมเต็ม หลอมรวมปักธงร่วม ในปี 64 เพื่อ ชุมพรน่าอยู่ สุขร่มเย็น
18.00-21.00 น. พบกับเมนูเด่น ดื่มด่ำธรรมชาติ บรรยากาศคนบ้านเดียวกัน
วันที่ 25 ธันวาคม 2561
08.30-09.00 น. ทบทวนยามเช้า ก่อนเรียนรู้สิ่งใหม่
09.00-10.00 น. รู้ลึก รู้จริง กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
10.00-12.30 น. กลุ่มย่อยฝึกวิเคราะห์ปัจจัยทางสังคมกำหนดสุขภาพ สู่โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก
12.00-13.00 น. เติมพลัง ด้วยอาหารเลิศรสกับผองเพื่อน
13.00-14.00 น. นำเสนอตัวอย่างโครงการเชิงรุก
14.00-15.00 น. สรุปตอกย้ำ เป้าหมายและภารกิจ เพื่อ ชุมพรน่าอยู่ สุขร่มเย็น
เลิกประชุม
ตามเอกสารแนบ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการกองทุนฯ จนท.ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ
-
-
-

เพื่อการพัฒนาโครงการเชิงรุก
ตามเอกสารแนบ
ตามเอกสารแนบ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
อปท ภาคประชาชน จนท.สาธารณสุข
-
-
-
เพื่อพัฒนาศักยภาพในเชิงวิเคราะห์สถานการณ์ภายในชุมชน เพื่อให้เกิดโครงการเชิงรุก
ตามเอกสารแนบ
ตามเอกสารแนบ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
อปท รพ.สต พชอ
-
-
-

พัฒนาการโครงการเชิงรุกภายในพื้นที่
- ชี้แจงวัตถุระสงค์
- เสวนา : ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนงานภายในพื้นที่ผ่านกลไก พชอ.
- ฝึกวิเคราะห์สถานการณ์ภายในพื้นที่
ตามเอกสารแนบ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
อปท จนท.รพ.สต คณะทำงานพชอ
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
- นำเสนอรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน
- มีการรายงานผลการดำเนินโครงการ
- สนับสนุนการดำเนินงานทีมกระบี่กับทีม พชอ.คลองท่อม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-
เพื่อติดตามผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินงาน
- ทบทวนการดำเนินโครงการ
- แลกเปลี่ยน
- สรุปผลการดำเนินงาน
- คณะทำงานจังหวัดมีความเข้าใจในเป้าหมายและผลลัพธ์ กระบวนการขับเคลื่อนโครงการ
- ประสานความร่วมมือทีมคณะทำงานติดตามสนับสนุนกองทุนฯ
- เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เชิงประเด็น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำง่านโครงการ
- อปท
- ผู้ที่ขับเคลื่อนดำเนินโครงการ
-
-
-
ค่าบริหารจัดการ
ค่าบริหารจัดการสาธารณูปโภคและค่าประสานงาน
ค่าบริหารจัดการและค่าสาธารณูปโภคในการดำเนินโครงการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
ติดตามรายงานเข้าระบบออนไลน์
- รายงานเข้าระบบออนไลน์ ของ ศวสต
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
จนท. สสอ.บ้านนาสาร จนท.สสอ.คีรีรัฐนิคม
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
-ชี้แจงวัตถุประสงค์
ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา
แลกเปลี่ยน
วางแนวทางการดำเนินงาน
สรุป
ข้อมูลสถานการณ์ภายในพื้นที่
มีแผนการดำเนินงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- จนท.สสอ.คลองท่อม
- คณะทำงานโครงการ
- อปท
- ภาคประชาสังคม
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
ประชุมติดตามประเมินผล HIA
รู้จักและประสานงานความร่วมมือกับทีมติดตามประเมินผลภาคใต้ตอนบน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการ จนท.ศวสต
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
ทบทวนการดำเนินงาน
สถานการณ์ปัญหาในพื้นที่
แลกเปลีย่น
การรายงานผลการดำเนินงานระบบออนไลน์
แนวทางการดำเนินงาน
สรุป
มีข้อมูลสถานการณ์พื้นที่
จนท.มีความเข้าใจในกา
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- จนท.สสอบ้านนาสาร
- อปท
- คณะทำงานโครงการ
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
กำหนดการประชุมปรึกษาหารือติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานการจัดทำยุทธศาสตร์ระดับพื้นที่อำเภอนำร่อง
วันที่ 1-2 ตุลาคม พศ.2561
ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ชุมพร ละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร
.....
วันที่ 1 ตุลาคม 61
เวลา 13.00 น ลงทะเบียน/จัดการงานเอกสารต่างๆ เวลา 13.30 – 14.00 น. เปิดประชุม/แจ้งวัตถุประสงค์ : นายทวีวัตร เครือสาย รู้จักมหาวิทยาลัย แม่โจ้ ชุมพร : ผู้บริหารมหาวิทยาลัย เวลา 14.00 – 15.00 น. ผู้แทนพื้นที่นำเสนอผลงาน/ความก้าวหน้าการดำเนินงานและบทเรียนสำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ พชอ. เวลา 15.00 – 17.00 น. สรุปประเด็นและบทเรียนร่วมของพื้นที่ เขต 11 บอกเล่าสถานการณ์และทิศทางงาน ศวสต.ภาคใต้ : จนท.ศวสต. เวลา 17.00 – 18.30 น. ผ่อนพัก ณ ชายหาดละแม / รับประทานอาหาร เวลา 18.30 – 20.30 น. ปรึกษาหารือออกแบบวางแผนจังหวะก้าวต่อไป
วันที่ 2 ตุลาคม 61
เวลา 08.30 น -09.00 น. เริ่มประชุม สรุปสาระสำคัญเมื่อวันวาน
การติดตามสนับสนุนจากทีมคณะทำงาน เขต 11
เวลา 9.00 – 10.00 น. เรียนรู้และแลกเปลี่ยนงานสื่อสารสาธารณะ : นายอานนท์ มีศรี
เวลา 10.00 – 11.00 น. ร่วมออกแบบการสนับสนุนงานสื่อสารสาธารณะ
เวลา 11.00 – 12.00 น. สรุปการประชุมปรึกษาหารือและนัดหมายครั้งต่อไป
รับประทานอาหาร / เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ
หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง ตามช่วงเวลาที่เหมาะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการประชุมปรึกษาหารือในครั้งนี้ โปรดเตรียมข้อมูลการดำเนินงานโครงการใช้ประกอบการเรียนรู้ร่วมกันในครั้งนี้
ผลการดำเนินงานของแต่พื้นที่
แผนการขับเคลื่อนงานด้านสื่อสาธารณะ
มีแผนการดำเนินงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- จนท.ศวสต (สจรส.ม.อ)
- ผู้แทนพื้นที่นำเสนอผลงาน
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
ชี้แจงวัตถุประสงค์
ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์การขับเคลื่อนงานภายในพื้นที่
แลกเปลี่ยน
วางแนวทางการดำเนินงาน
สรุป
- สร้างความเข้าใจในประเด็นปัจจัยเสี่ยงบุหรี่มากยิ่งขึ้น
- มีข้อมูลสถานการณ์ภายในพื้นที่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
จนท.สสอ.คลองท่อม คณะทำงานโครงการ ทีมประสานงานระดับจังหวัดกระบี่ ภาคประชาชน
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
ชี้แจงวัตถุประสงค์
ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์ปัญหาของเด็กและเยาวชน
แลกเปลี่ยน
วางแผนการดำเนินงาน
สรุป
แผนงานการขับเคลื่อนประเด็นเด็กและเยาวชน
มีข้อมูลสถานการณ์ของเด็กและเยาวชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ประชุมคณะทำงานโครงการ
ชี้แจงวัตถุประสงค์
ทบทวนการดำเนินงาน
แลกเปลี่ยน
พื้นที่นำเสนอผลการดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
วางแผนการดำเนินงาน
สรุป
มีแผนการดำเนินงาน
มีสถานการณ์ปัญหาภายในพื้นที่
มีประเด็นการขับเคลื่อนงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- อปท
- จนท.สาธารณสุข
- คณะทำงานโครงการ
-
-
-

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
ชี้แจงการประชุม
ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา
แลกเปลี่ยน
แนวทางการดำเนินงานครั้งต่อไป
สรุป
มีข้อมูลสถานการณ์พื้นที่
มีแผนการดำเนินงาน
มีการสนับสนุนการดำเนินงานกับทีม สสอ.บ้านนาสาร
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอบ้านนาสาร
-
-
-
ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
- รายงานความก้าวหน้าและเชื่อมโยงกับการจัดทำธรรมนูญสุขภาพระดับพื้นที่ในเขต 11 สุราษฏร์ธานี
- ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานจัดทำยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพและวางแนวทางสื่อสารสาธารณะ
- มีกลไกความร่มมือ / สนับสนุนการทำงานของคณะทำงานระดับจังหวัด/ระดับเขต 11
- มีการวางแผนการดำเนินงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมคณะทำงานระดับเขต
-
-
-
เพื่อการติดตามการดำเนินงานการเงินและการรายงานออนไลน์
เป็นการติดตามการดำเนินงานและติดตามการใช้งบประมาณ
-รายงานผลการดำเนิน/ระบบบันทึกออนไลน์ -รายงานสรุปผลโครงการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานระดับจังหวัด
-
-
-
เพื่อติดตามผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินงาน
ทบทวนการดำเนินงาน
นำเสนอผลการดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
สรุป
มีข้อมูลสถานการณ์การเกิดอุบัติเหตุ
มีกลไกการทำงานร่วมกับทุกส่วน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
-
-
-
เพื่อติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานทีมคณะทำงานแรงงานนอกระบบ
ทบทวนประเด็นแรงงานนอกระบบ
แนวทางการดำเนินงานต่อไป
การเชื่อมโยงประเด็นแรงงานนอกระบบที่มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
มีแผนการปฏิบัติ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง
-
-
-
ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงาน
วงคุยแลกเปลี่ยนการดำเนินงานโครงการฯ
ประสานความร่วมมือกับ สสจ. / สสอ. / สมัชชาจังหวัดกระบี่ ในการสนับสนุนทีมคณะทำงานคลองท่อม
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
คณะทำงานระดับจังหวัดกระบี่
-คณะทำงานระดับจังหวัดไม่เข้าร่วมประชุมได้ทุกคน
-
-
เพื่อพัฒนาศักยภาพในการบันทึกข้อมูลในระบบติดตาม ประเมินผล
- สร้างความเข้าใจในเรื่องการรายงานข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ของ ศวสต.
- เรียนรู้วิธีการและขั้นตอนในการเข้าระบบ
- ลงมือปฏิบัติในการเข้าระบบรายงานผลการดำเนินงาน
- ปัญหาหรือข้อสงสัยในการรายงานผลการดำเนินผ่านออนไลน์
- ได้เรียนรู้การรายงานผลการดำเนินโครงการผ่านระบบ
- การรายงานผลการดำเนินโครงการนั้น หลังจากที่จัดกิจกรรมควรรายงานผลการดำเนินโครงการภายใน 1 สัปดาห์
- การจัดเก็บรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องในการรายงานผลการดำเนินโครงการ เพื่อง่ายในการกรอกข้อมูลเข้าระบบรายงานฯ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่ด้านการบันทึกข้อมูล เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ
- ข้อมูลหาย ในส่วนของรายละเอียดโครงการเช่น พื้นที่ดำเนินการ
-
-
เพื่อเป็นการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ
ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฏร์ธานี ประจำเดือน มกราคม ถึง สิงหาคม 2561 เดือนละ 3000 บาท 8 เดือน
ค่าดำเนินโครงการฯ
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
ประชุมติดตามทีมณะทำงานโครงการและสนับสนุนการดำเนินงาน
-
มีข้อมูลสถานการณ์
มีแผนการดำเนินงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ทีมคณะทำงานระดับอำเภอ(พชอ)และเครือข่ายทีมพี่เลี้ยงกองทุน มีความเข้าใจร่วมกันในการจัดทำยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพและระบบสนับสนุนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (เขต 11) (พื้นที่นำร่อง อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร,อ.นาสาร/อ.คีรีรัฐ จ.สุราษฎร์ธานี,อ.เมือง จ.นครศรีฯ,อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ) วันที่ 19-20 มกราคม พศ.2561 ณ. โรงแรมเดอะพีค บูติก อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช วันที่ 19 มกราคม พศ. 2561
เวลา 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน/เตรียมความพร้อม ณ.โรงแรมเดอะพีท บูติก นครศรีฯ
เวลา 09.00-10.00 น. เรียนรู้การพัฒนากลไกคณะทำงานระดับอำเภอเมือง จ.นครศรี
เปิดเวทีปรึกษาหารือการดำเนินงานโครงการ พชอ.นครศรี
ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สจรส.มอ
นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานเครือข่าย จ.นครศรีฯ
เวลา 10.00-12.00 น. แนวทางการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอสู่ยุทธศาสตร์
ระดับจังหวัดนครศรีธรรมราช
-คณะทำงานอำเภอเมืองนครฯ และที่ประชุมร่วมแลกเปลี่ยน
เวลา 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
เวลา 13.00-13.30 น. ลงทะเบียนเพิ่มเติม/เตรียมความพร้อม
เวลา 13.30-14.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์และรู้จักทักทายทีมคณะทำงานจังหวัดต่างๆ
เวลา 14.00-17.00 น. การจัดทำยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่แบบมีส่วนร่วม
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และคณะ : สจรส.มอ
เวลา 17.00-19.30 น. เข้าที่พัก/รับประทานอาหาร และแลกเปลี่ยนทัศนะคนทำงานสร้างสุข
วันที่ 20 มกราคม พศ. 2561
เวลา 08.30-09.00 น. เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่กระบวนการ
เวลา 09.00-11.00 น. เสริมพลังเครือข่ายด้วยกระบวนการถอดบทเรียนสังเคราะห์ความรู้
โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก และคณะ : สจรส.มอ
เวลา 11.00-12.00 น. การจัดทำธรรมนูญสุขภาพ และประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
โดย คุณกรฤทธิ ชุมนุรักษ์ ผอ.สพท.ภาคใต้ (สช.)
เวลา 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
เวลา 13.00-14.30 น. ระบบติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานฯ ระดับเขต 11
โดย ทีมคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ เขต 11
(นายชญานิล เอกสุวรรณ ,เชาวลิต ลิปน้อย ,ทวีวัตร เครือสาย)
เวลา 14.30-15.30 น. ทบทวนแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนระดับพื้นที่นำร่อง
เวลา 15.30-16.00 น. สรุปผลเวทีเรียนรู้ และนัดหมายภารกิจครั้งต่อไป
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
พัฒนากลไกความร่วมมือระดับพื้นที่อำเภอ จังหวัดฯลฯ
-ประเมินสถานการณ์สุขภาพภายในพื้นที่จังหวัดระนอง -วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น -ออกแบบการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา
-เกิดแผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ภาคประชาสังคม อปท
-
-
จัดตั้งกลไกคณะทำงานที่เกี่ยวข้องโดยใช้กลไก พชอ ในพื้นที่ เป็นกลไกในการขับเคลื่อน