สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ "คลองท่อม Model" แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ "คลองท่อม Model" แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% ”

อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ต.คลองท่อมเหนือ ต.คลองพน และตำบลทรายขาว

หัวหน้าโครงการ
นางอรวรรณ เล็กมาก

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ "คลองท่อม Model" แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%

ที่อยู่ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ต.คลองท่อมเหนือ ต.คลองพน และตำบลทรายขาว จังหวัด

รหัสโครงการ 60-ข-084 เลขที่ข้อตกลง 60-ข-084

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ "คลองท่อม Model" แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ต.คลองท่อมเหนือ ต.คลองพน และตำบลทรายขาว

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ "คลองท่อม Model" แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ "คลองท่อม Model" แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ต.คลองท่อมเหนือ ต.คลองพน และตำบลทรายขาว รหัสโครงการ 60-ข-084 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพผู้บริหาร/เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้ความเข้าใจด้านการการสร้างสังคมสุขภาวะ โดยการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนเป็น “คลองท่อมโมเดล” แหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่ 100%
  2. เพื่อจัดพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% ด้วยการจัดสภาพแวดล้อม/ภูมิทัศน์/การติดป้ายสัญลักษณ์ต่าง ๆ ด้วยรูปแบบที่ทันสมัยและเป็นเอกลักษณ์
  3. เพื่อการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ คลองท่อมโมเดล แหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่ 100% เครือข่าย กำนันผู้ใหญ่บ้าน/เครือข่ายครู/เครือข่ายผู้ปกครอง/เครือข่ายเยาวชนและเครือข่ายจากภายนอก ทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชน
  4. เพื่อถอดบทเรียน และนำเสนอ “คลองท่อมโมเดล” ให้เป็นแบบอย่างการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่ 100% นำสู่วาระจังหวัดกระบี่ได้
  5. เพื่อเพิ่มปัจจัยเสริมทางสุขภาพที่สามารถลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 3 อ 2 ส
  6. เพื่อสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้กับประชาชนในการป้องกันการเกิดโรคจากพฤติกรรมสุขภาพ
  7. ไไ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน โครงการคลองท่อมเหนือโมเดล
  2. กิจกรรมปรับภูมิทัศน์ คลองท่อมโมเดล น้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100 เปอร์เซ็นต์
  3. กิจกรรมเครือข่ายเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลบุหรี่
  4. ประชุมคณะทำงานลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจังหวัดกระบี่ แลกเปลี่ยนการทำงานเพื่อขับเคลื่อนคลองท่อมปลอดบุหรี่ เชื่อมการทำงานกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพระดับอำเภอ (พชอ.) อ. คลองท่อม จ.กระบี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน โครงการคลองท่อมเหนือโมเดล

วันที่ 19 ธันวาคม 2560 เวลา 09:00-15.00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมหารือแนวทางการจัดการพื้นที่น้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100 เปอร์เซ็นต์ เพื่อให้เป็นคลองท่อมเหนือโมเดล ซึ่งทางองค์การบริหารส่วนตำบลคลองท่อมเหนือ ได้ออกข้อบัญญัติท้องถิ่นในการบริหารจัดการพื้นที่น้ำตกร้อน โดยให้พื้นที่ภายในน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100 เปอร์เซ็นต์ และติดตั้งป้ายห้ามสูบในพื้นที่ให้นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปรับทราบ โดยประสานความร่วมมือกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกระบี่, มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ และสื่อมวลชนกระบี่อาสาร่วมสร้างจังหวัดกระบี่ปลอดบุหรี่  และปัจจุบันได้มีการพิมพ์ข้อความปลอดบุหรี่บนตั๋วที่จำหน่ายให้เข้าชมน้ำตกร้อนอีกด้วย และนอกจากนั้น ทางผู้บริหารได้มีการขยายโครงการปลอดบุหรี่ และขอความร่วมมือไปยังสถานที่ต่างๆ ในความรับผิดชอบในพื้นที่ของ อบต.คลองท่อมเหนือ นอกเหนือจากน้ำตกร้อน เช่น ศูนย์เด็กเล็ก,โรงเรียน.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.วัด.มัสยิด ฯ และพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง คือ สระมรกต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

--- ปรับแก้ไข ---

ประชุมหารือแนวทางการจัดการพื้นที่น้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100 เปอร์เซ็นต์ เพื่อให้เป็นคลองท่อมเหนือโมเดล ซึ่งทางองค์การบริหารส่วนตำบลคลองท่อมเหนือ ได้ออกข้อบัญญัติท้องถิ่นในการบริหารจัดการพื้นที่น้ำตกร้อน โดยให้พื้นที่ภายในน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100 เปอร์เซ็นต์ และติดตั้งป้ายห้ามสูบในพื้นที่ให้นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปรับทราบ โดยประสานความร่วมมือกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกระบี่, มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ และสื่อมวลชนกระบี่อาสาร่วมสร้างจังหวัดกระบี่ปลอดบุหรี่  และปัจจุบันได้มีการพิมพ์ข้อความปลอดบุหรี่บนตั๋วที่จำหน่ายให้เข้าชมน้ำตกร้อนอีกด้วย และนอกจากนั้น ทางผู้บริหารได้มีการขยายโครงการปลอดบุหรี่ และขอความร่วมมือไปยังสถานที่ต่างๆ ในความรับผิดชอบในพื้นที่ของ อบต.คลองท่อมเหนือ นอกเหนือจากน้ำตกร้อน เช่น ศูนย์เด็กเล็ก,โรงเรียน.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.วัด.มัสยิด ฯ และพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง คือ สระมรกต

 

10 8

2. กิจกรรมปรับภูมิทัศน์ คลองท่อมโมเดล น้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100 เปอร์เซ็นต์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

50 0

3. กิจกรรมเครือข่ายเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลบุหรี่

วันที่ 21 พฤษภาคม 2561 เวลา 08:30-16.00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม

  • ให้ความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่ และภาพรวมสถานการณ์การสูบบุหรี่ของประเทศไทย และในพื้นที่จังหวัดกระบี่ เพื่อให้เด็กและและเยาวชนตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะนี้ และร่วมกันระดมความคิดว่าเด็ก เยาวชนจะสามารถป้องกันตนเองอย่างไรมิให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่ตลอดจนยาสูบอื่นๆ รวมถึงบทบาทของแกนนำในโรงเรียนที่จะช่วยเป็นพลังในการสร้างเครือข่ายปลอดบุหรี่ เชื่อมประสานการทำงานไปยังสถานศึกษาอื่นๆ ตลอดจนชุมชนของตนเอง ได้อย่างเข้าใจและเกิดการขยายผลต่อเนื่องจากรุ่นสู่รุ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิตและผลลัทธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • แกนนำนักเรียน สามารถเป็นนักสื่อสารด้านสุขภาพ โดยเฉพาะเรื่องพิษภัยบุหรี่ .พรบ.ควบคุมยาสูบฉบับใหม่ พ.ศ.2560 ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน ได้อย่างถูกต้อง สามารถนำไปประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภายในโรงเรียน .บ้าน.ชุมชน ฯ และเป็นเครือข่ายร่วมกับวิทยุท้องถิ่นในจังหวัดกระบี่ ในการจัดรายการรณรงค์ควบคุมการบริโภคยาสูบไปยังกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เพื่อส่งผลให้เกิดการ ลด ละ เลิก และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ได้อีกทางหนึ่ง
    ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • แกนนำที่รับการอบรมในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ม.3 และ มัธยมศึกษาตอนปลาย ม.6 เมื่อจบการศึกษาไปแล้ว บางครั้งย้ายสถานศึกษา หรือ ศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ทำให้ขาดการต่อเนื่องในการรณรงค์สร้างความรู้ความเข้าใจในการควบคุมการบริโภคยาสูบ  ฉะนั้น ในแต่ละโรงเรียน ควรจะมีแกนนำในช่วงชั้นต่างๆ ทุกห้องเพื่อให้สามารถสานต่องานรณรงค์จากรุ่นสู่รุ่นอย่างถูกต้อง และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องควรจะเข้าไปจัดอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ รวมถึงเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลใหม่ๆ ในการควบคุมการบริโภคยาสูบให้นักเรียนแกนนำได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง

 

30 50

4. ประชุมคณะทำงานลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจังหวัดกระบี่ แลกเปลี่ยนการทำงานเพื่อขับเคลื่อนคลองท่อมปลอดบุหรี่ เชื่อมการทำงานกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพระดับอำเภอ (พชอ.) อ. คลองท่อม จ.กระบี่

วันที่ 11 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00-12:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจังหวัดกระบี่
  • แลกเปลี่ยนการทำงานเพื่อขับเคลื่อนคลองท่อมปลอดบุหรี่
  • เชื่อมการทำงานกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพระดับอำเภอ (พชอ.) อ. คลองท่อม จ.กระบี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมหารือแลกเปลี่ยนข้อมูลการขับเคลื่อนลดการบริโภคยาสูบในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลคลองท่อมเหนือ และ “น้ำตกร้อนปลอดบุหรี่” โมเดลแหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่เพื่อสุขภาพของ อบต.คลองท่อมเหนือ ซึ่งที่ประชุมจะใช้โมเดลแหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่ของ อบต.คลองท่อมเหนือ ขยายพื้นที่การดำเนินกิจกรรมเชื่อมโยงไปยังแหล่งท่องเที่ยวสำคัญๆ ในอำเภอคลองท่อม ซึ่งมีจุดเด่นในการเป็นเมืองสปา และเมืองสุขภาพของจังหวัดกระบี่ โดยมีแหล่งท่องเที่ยวด้านสุขภาพ เช่น น้ำพุร้อนเค็ม ในเขต อบต.ห้วยน้ำขาว,สระมรกต.น้ำตกร้อน ในเขต อบต.คลองท่อมเหนือ นอกจากนั้นยังมีแหล่งน้ำพุร้อนเค็ม และสถานที่อื่นๆ ของภาคเอกชน ที่นักท่องเที่ยวนิยมมาใช้บริการอย่างต่อเนื่องเช่นกัน
นอกจากนั้นการทำงานเชื่อมโยงเครือข่ายในภาพรวม ควรจะขับเคลื่อนผ่านคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ของอำเภอคลองท่อม เพื่อให้เกิดรูปธรรมและต่อเนื่องในการดำเนินโครงการ โดยทางสาธารณสุขอำเภอคลองท่อม จะเสนอเรื่องดังกล่าวบรรจุเข้าไปในวาระการประชุมของ พชอ.เพื่อพิจารณาในปี 2562 ต่อไป และเบื้องต้นพื้นที่ก็สามารถดำเนินกิจกรรมไปตามแผนงาน โครงการที่กำหนดไว้ ซึ่งทางนายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองท่อมเหนือ ได้ขับเคลื่อนเชิงประจักษ์ในการควบคุมการบริโภคยาสูบในพื้นที่รับผิดชอบ โดยการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นเพื่อให้น้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100 %

 

8 8

5. ตรวจรายงานงวด1

วันที่ 24 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจรายงานการเงิน และตรวจกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตรวจเอกสาร มีการปรับแก้ไข

 

1 1

6. การขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

วันที่ 16 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานเข้าใจการทำงานของโครงการ

 

30 0

7. สำรวจข้อมูลผู้นำชุมชนและ อสม ที่สูบบุหรี่

วันที่ 31 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจข้อมูลผู้นำชุมชนและ อสม.ที่สูบบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการถอดบทเรียน การบริโภคบุหรี่
ในพื้นที่ประชาชนไม่เห็นถึงพิษภัยของบุหรี่ชัดเจน ทำให้ประชานไม่ตระหนักถึงผลที่ตามมา การบังคับใช้กฏหมาย ยังไม่มีการบังคับใช้กฏหมายอย่างชัดเจนเช่นพื้นที่ห้ามสูบบุหรี่กรณีมีป้ายก็ยังสูบบุหรี่ ยังไม่มีการจัดการใดๆ บางพื้นที่ยังไม่มีป้ายห้ามสูบบุหรี่เช่นร้านอาหาร บางร้านยังไม่ติดป้าย ห้ามสูบบุหรี่ ประชาชนยังไม่รู้ว่ามีกฏหมายบังคับใช้เรื่องการจำหน่ายบุหรี่ การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายยังมีน้อย เนื่องจากผู้บริหารหรือกลุ่มแกนนำยังสูบบุหรี่

การป้องกันโรคไข้เลือดออก ขาดความต่อเนื่องในการควบคุมโรค งบประมาณเพียงพอ ภาคีมีส่วนร่วม ประชาชนยังไม่รับรู้ถึงภัยของไข้เลือดออก

 

1,860 10

8. ถอดบทเรียนการดำเนินงานการดำเนินงานแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ (รอเอกสาร)

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 17 พย.61 ให้ความรู้เรื่องการถอดบทเรียนแก่ นศ. วสส.และแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชน วันที่ 18 พย.62 อสม.ร่วมกับ นศ.วสส.ถอดบทเรียนการดำเนินงานควบคุมบุหรี่ในชุมชน และ การควบคุมโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ สอน.คลองพนและ รพ.สต.บ้านบางคราม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการถอดบทเรียน การบริโภคบุหรี่
ในพื้นที่ประชาชนไม่เห็นถึงพิษภัยของบุหรี่ชัดเจน ทำให้ประชานไม่ตระหนักถึงผลที่ตามมา การบังคับใช้กฏหมาย ยังไม่มีการบังคับใช้กฏหมายอย่างชัดเจนเช่นพื้นที่ห้ามสูบบุหรี่กรณีมีป้ายก็ยังสูบบุหรี่ ยังไม่มีการจัดการใดๆ บางพื้นที่ยังไม่มีป้ายห้ามสูบบุหรี่เช่นร้านอาหาร บางร้านยังไม่ติดป้าย ห้ามสูบบุหรี่ ประชาชนยังไม่รู้ว่ามีกฏหมายบังคับใช้เรื่องการจำหน่ายบุหรี่ การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายยังมีน้อย เนื่องจากผู้บริหารหรือกลุ่มแกนนำยังสูบบุหรี่

การป้องกันโรคไข้เลือดออก ขาดความต่อเนื่องในการควบคุมโรค งบประมาณเพียงพอ ภาคีมีส่วนร่วม ประชาชนยังไม่รับรู้ถึงภัยของไข้เลือดออก

 

90 94

9. ตรวจการเงินโครงการ

วันที่ 8 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

2 2

10. ตรวจการเงิน

วันที่ 8 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

11. จัดทำMAPing ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง

วันที่ 8 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

1 1

12. ประชุมร่วมกับ สจรส.มอ

วันที่ 27 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมร่วมกับสจรส.มอ รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมร่วมกับสจรส.มอ

 

1 1

13. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในพื้นที่ ครั้งที่ 1

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจข้อมูลสถานการณ์การสูบบุหรี่ในกลุ่มประชาชนและอสม.ในพื้นที่บ้านทรายขาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดข้อมูลสถานการณ์การสูบบหรี่ในกลุ่มประชาชน และกลุ่มอสม. ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายที่ทำการสำรวจได้รับความรู้ โทษภัยจากการสูบบหรี่ และบหรี่มือสองในบ้านที่ส่งผลกระทบต่อคนในครอบครัวโดยเฉพาะเด็กเล็ก ผู็สูงอายุ และผู้ป๋วย

 

75 74

14. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในพื้นที่ ครั้งที่ 2

วันที่ 1 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
บรรยาย แชร์ประสบการณ์ และแลกเปลี่ยนกับผู้เข้าประชุมที่มีประสบการณ์เลิกบุหรี่ ดูวิดีโอ แจกตัวอย่างสมุนไพรช่วยเลิกบุหรี่ เช่น กานพลู หญ้าดอกขาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มผู้เข้าประชุมให้ความสนใจ จากประสบการณ์ของผู้มีประสบการณ์เลิกบุหรี่พบว่า ปัจจัยที่ช่วยให้เลิกบุหรี่ได้คือ ความตั้งใจของผู้สูบบุหรี่เอง หากตั้งใจแล้วก็จะพยายามหลีกเลี่ยงปัจจัยที่เชิญชวนให้กลับไปสูบซ้ำ เช่น

-หากไปกินกาแฟกับเพื่อนกลุ่มเดิมที่สูบบุหรี่ก็มีโอกาสสูงที่จะสูบบุหรี่อีกครั้ง
-เมื่อรู้สึกเครียด คิดถึงกิจกรรมที่จะทำคือสูบบุหรี่ให้หลีกเลี่ยงไปเล่นกีฬาแทน ผู้นำศาสนาบอกว่า เมื่อเลิกบุหรี่แล้วรู้สึกรังเกียจคนสูบบุหรี่ เมื่อได้กลิ่นบุหรี่รู้หายใจลำบาก เลยไม่สามารถกลับไปสูบบุหรี่ -มีคนสมัครเข้าร่วมเลิกบุหรี่ 5 คน -ใให้ อสม.ไปเชิญชวนคนที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 9 คน
-กิจกรรมครั้งต่อไป อีก 1เดือน

 

75 55

15. คลีนิคช่วยเลิกบุหรี่

วันที่ 29 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินกิจกรรมคลีนิตช่วยเลิกบุหรี่ ในการให้คำปรึกษากับประชาชนและผู้ป่วยที่ต้องการเลิก ลด การสูบบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนและผู้ป่วยสามารถเข้ามาใช้บริการของคลีนิคช่วยเลิกบุหรี่ โดยมีเจ้าหน้าที่ในการให้คำปรึกษา

 

100 100

16. ประชุมเชิงปฎิบัติการเรื่อง แนวทางการเลิกบุหรี่ด้วยแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

วันที่ 30 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระชุมเชิงปฎิบัติการเรื่อง แนวทางการเลิกบุหรี่ด้วยแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนและอสม.ที่เข้าร่วมประชุมมีความรู้ การเลิกบุหรี่ด้วยแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น การนวดเท้า การกดจุด และการใช้สมุนไพร

 

56 56

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างศักยภาพผู้บริหาร/เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้ความเข้าใจด้านการการสร้างสังคมสุขภาวะ โดยการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนเป็น “คลองท่อมโมเดล” แหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่ 100%
ตัวชี้วัด : ผู้บริหารท้องถิ่นและผู้ปฏิบัติงาน อบต. คลองท่อมเหนือได้รับการเสริมศักยภาพการทำงาน ในเชิงวิชาการ โดยเป้าหมายของการสร้างสังคมสุขภาวะ สร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคอย่างเป็นรูปธรรม

 

2 เพื่อจัดพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% ด้วยการจัดสภาพแวดล้อม/ภูมิทัศน์/การติดป้ายสัญลักษณ์ต่าง ๆ ด้วยรูปแบบที่ทันสมัยและเป็นเอกลักษณ์
ตัวชี้วัด : แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อน มีการปรับปรุง พัฒนาด้วยรูปแบบที่สะท้อนถึงการท่องเที่ยวเชิง สุขภาพได้อย่างแท้จริง ด้วยการจัดสภาพแวดล้อม เป็นแหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%

 

3 เพื่อการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ คลองท่อมโมเดล แหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่ 100% เครือข่าย กำนันผู้ใหญ่บ้าน/เครือข่ายครู/เครือข่ายผู้ปกครอง/เครือข่ายเยาวชนและเครือข่ายจากภายนอก ทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชน
ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่ายความร่วมมือ ด้านสุขภาวะ ประกอบด้วย กำนันผู้ใหญ่บ้าน/เครือข่ายครู/ เครือข่ายผู้ปกครอง/เครือข่ายเยาวชนและเครือข่ายจากภายนอก ทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชน

 

4 เพื่อถอดบทเรียน และนำเสนอ “คลองท่อมโมเดล” ให้เป็นแบบอย่างการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่ 100% นำสู่วาระจังหวัดกระบี่ได้
ตัวชี้วัด : เกิดรูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ “คลองท่อมโมเดล” แหล่งท่องเที่ยวปลอด บุหรี่ 100% ที่สามารถเป็นแบบอย่างได้ และข้อมูลที่ได้จากการดำเนินโครงการสามารถเป็นข้อมูลทางวิชาการที่จะเป็นหลักฐานอ้างอิง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวส่งเสริมสุขภาพดีต่อไปได้

 

5 เพื่อเพิ่มปัจจัยเสริมทางสุขภาพที่สามารถลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 3 อ 2 ส
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีบุคคลต้นแบบ โดยผู้นำชุมชนและ อสม.ที่สูบบุหรี่สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ร้อยละ 80 และเป็นต้นแบบเชิญชวนประชาชนให้เลิกบุหรี่

 

6 เพื่อสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้กับประชาชนในการป้องกันการเกิดโรคจากพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : การมีส่วนร่วมในการป้องกันการอุบัติเหตุ

 

7 ไไ
ตัวชี้วัด : ไไ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างศักยภาพผู้บริหาร/เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้ความเข้าใจด้านการการสร้างสังคมสุขภาวะ โดยการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนเป็น “คลองท่อมโมเดล” แหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่ 100% (2) เพื่อจัดพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% ด้วยการจัดสภาพแวดล้อม/ภูมิทัศน์/การติดป้ายสัญลักษณ์ต่าง ๆ ด้วยรูปแบบที่ทันสมัยและเป็นเอกลักษณ์ (3) เพื่อการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ คลองท่อมโมเดล แหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่ 100% เครือข่าย กำนันผู้ใหญ่บ้าน/เครือข่ายครู/เครือข่ายผู้ปกครอง/เครือข่ายเยาวชนและเครือข่ายจากภายนอก ทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชน (4) เพื่อถอดบทเรียน และนำเสนอ “คลองท่อมโมเดล” ให้เป็นแบบอย่างการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวปลอดบุหรี่ 100% นำสู่วาระจังหวัดกระบี่ได้ (5) เพื่อเพิ่มปัจจัยเสริมทางสุขภาพที่สามารถลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 3 อ 2 ส (6) เพื่อสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้กับประชาชนในการป้องกันการเกิดโรคจากพฤติกรรมสุขภาพ (7) ไไ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน โครงการคลองท่อมเหนือโมเดล  (2)  กิจกรรมปรับภูมิทัศน์ คลองท่อมโมเดล น้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100 เปอร์เซ็นต์  (3) กิจกรรมเครือข่ายเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลบุหรี่  (4) ประชุมคณะทำงานลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจังหวัดกระบี่  แลกเปลี่ยนการทำงานเพื่อขับเคลื่อนคลองท่อมปลอดบุหรี่ เชื่อมการทำงานกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพระดับอำเภอ (พชอ.)  อ. คลองท่อม จ.กระบี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ "คลองท่อม Model" แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%

รหัสโครงการ 60-ข-084 รหัสสัญญา 60-ข-084 ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ "คลองท่อม Model" แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% จังหวัด

รหัสโครงการ 60-ข-084

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรวรรณ เล็กมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด