สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง ”

อำเภอเมือง5ตำบล คือตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ ตำบลปากน้ำ ตำบลปากน้ำท่าเรือ

หัวหน้าโครงการ
นายสุชีพ พัฒน์ทอง

ชื่อโครงการ โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง

ที่อยู่ อำเภอเมือง5ตำบล คือตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ ตำบลปากน้ำ ตำบลปากน้ำท่าเรือ จังหวัด ระนอง

รหัสโครงการ 61-ข-009 เลขที่ข้อตกลง 61-ข-009

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง จังหวัดระนอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมือง5ตำบล คือตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ ตำบลปากน้ำ ตำบลปากน้ำท่าเรือ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมือง5ตำบล คือตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ ตำบลปากน้ำ ตำบลปากน้ำท่าเรือ รหัสโครงการ 61-ข-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มกราคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 940 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ที่กำหนดให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วม ในระบบหลักประกันสุขภาพ ทั้งในส่วนของการเป็นผู้มีสิทธิในการเข้ารับบริการ การบริหารจัดการ
การตรวจสอบและรับรองคุณภาพบริการ ดังที่ปรากฏในมาตราต่างๆได้แก่ มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 13 (4) มาตรา18 (7) (9) (10) (13) มาตรา 41 มาตรา 47 มาตรา 48 (8) มาตรา 50 (5) (7) (9) มาตรา 59 และจากการดำเนินงานตามนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงเวลาที่ผ่านมาพบว่า ประชาชนยังคงมีปัญหาเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยเฉพาะเรื่องสิทธิประโยชน์ของประชาชนในการเข้ารับบริการ ยังไม่ชัดเจนเพียงพอ ทำให้ประชาชนบางส่วนไม่มีความมั่นใจและไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ นอกจากนี้ยังพบว่า ในการดำเนินงานในระบบหลักประกันสุขภาพ เป็นการทำงานแบบแยกส่วนตามบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายแต่ละหน่วยงาน ซึ่งต้องมีการประสานสร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์อันดีของทุกฝ่ายและหน่วยงาน ไม่ว่าจะเป็นผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และผู้จัดหาบริการ เพื่อให้การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาระบบบริการที่ดี ซึ่งจะนำไปสู่ความพึงพอใจระบบหลักประกันสุขภาพร่วมกัน และให้เป็นหลักประกันสุขภาพของประชาชนอย่างแท้จริง จากสถานการณ์ประชาชนส่วนใหญ่ในจังหวัดระนองประกอบอาชีพ เกษตรกร ประมง รับจ้างทั่วไป ซึ่งเป็นแรงงานนอกระบบและประชาชนส่วนใหญ่ยังเข้าไม่ถึงกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่
  4. เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เวทีแลกเปลี่ยนและเสนอแนะแนวทางการสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานข้ามชาติ

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวทีแลกเปลี่ยนและเสนอแนะแนวทางการสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานข้ามชาติ จัดขึ้นวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมทินิดี อำเภอเมืองระนอง  จังหวัดระนอง  นายแพทย์นรเทพ อัศวพัชระ รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระนอง กล่าวเปิดงาน และมีการผู้คุยแลกเปลี่ยนความรูป และแลกเปลี่ยน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 100

    2. ติดตามความก้าวหน้าผลดำเนินโครงการครั้งที่1

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เรียนรู้เรื่องการรายงานกิจกรรมออนไลน์
    • เรียนรู้เรื่องเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เข้าใจการรายงานกิจกรรมออนไลน์
    • เข้าใจเรื่องเอกสารการเงิน

     

    3 3

    3. ประชุมแกนประสานงานก่อนการประชุมแต่ละกิจกรรมครั้งที่1

    วันที่ 14 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นายชยพล บัวดิษ และนายสุชีพ เป็นผู้ดำเนินการหลักในการพูดคุยหารือการวางแผนการดำเนินโครงการ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้แผนการดำเนินงาน
    2. ได้สร้างความเข้าใจที่ตรงกันกับคณะทำงาน

     

    12 12

    4. ประชุมร่วมคณะทำงานเครือข่ายประชาคมงดเหล้าจังหวัดระนอง

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการเสนอโครงลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนองกับคณะทำงาน

     

    20 0

    5. ประชุมทีมสร้างความเข้าใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประเด็นแรงงานนอกระบบที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2561 เวลา 9.00-15.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
    2. เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการ
    3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานฯ ด้านอุดมคติ การคิดเชิงระบบ การใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง
    4. เพื่อยกระดับการทำงานเชิงยุทธศาสตร์ วิเคราะห์หาจุดคานงัด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เกิดภาคีความร่วมมือ
    2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
    3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม
    4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์
    5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

     

    10 0

    6. ประชุมปรึกษาหารือเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง

    วันที่ 21 มิถุนายน 2561 เวลา 08:30-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจ้งความเป็นมาของโครงการ
    2. ชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
    3. กำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการ
    4. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานฯ ด้านอุดมคติ การคิดเชิงระบบ การใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดแผนปฏิบัติการลงพื้นที่ถอดบทเรียนในแต่ละตำบล

    • ตำบลบางนอนวันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
    • ตำบลเขานิเวศน์วันที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
    • ตำบลปากน้ำวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
    • ตำบลปากน้ำท่าเรือวันที่ ๑๖กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
    • ตำบลบางริ้น วันที่ ๑๖กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

     

    27 27

    7. ประชุมแกนประสานงานก่อนการประชุมแต่ละกิจกรรมครั้งที่2

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้เเจงการประชุมในครั้งแรก 2.รายงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 3.สรุปผล และวางแผน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้กลุ่มแกนนำ และแผนงาน

     

    12 13

    8. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสุขภาพในพื้นครั้งที่ 1

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2561 เวลา 08:30-15.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้เเจงรายละเอียดโครงการ แลความสำคัในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ 2.ให้ความรู้ในเรื่องแรงงานนอกระบบและปัจจัยเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 3.แบ่งกลุ่มระดมความคิด 4.นำเสนอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ข้อเสนอต่างๆ เช่นปัญหาของเเรงงานนอกระบบ ปัญหาสุขภาพ 2.เกิดภาคีเครือข่ายมากขึ้น

     

    20 20

    9. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสุขภาพในพื้นครั้งที่ 2

    วันที่ 20 สิงหาคม 2561 เวลา 09.00-15.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้เเจงรายละเอียดโครงการ แลความสำคัในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ 2.ให้ความรู้ในเรื่องแรงงานนอกระบบและปัจจัยเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 3.แบ่งกลุ่มระดมความคิด 4.นำเสนอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ข้อเสนอต่างๆ เช่นปัญหาของเเรงงานนอกระบบ ปัญหาสุขภาพ 2.เกิดภาคีเครือข่ายมากขึ้น 3.ทุกตำบลเริ่มเห็นแนวทางในการขับเคลื่อนงาน

     

    20 23

    10. เวทีเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในระบบหลักประกันสุขภาพในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    วันที่ 30 สิงหาคม 2561 เวลา 08:30-15.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ขอความร่วมมือที่จะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งหน่วยรับเรื่องร้องเรียน ม.50(5) ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำร่อง อำเภอละ 3 หน่วย
    • แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกียวกับกองทุนตำบล
    • ทำอย่างไรให้ประชาชนทุกคนเข้าถึงกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้รู้ที่ตั้งของศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชนตำบลในจังหวัดระนอง - เกิดความเขาใจกับกองทุนตำบล

    ผลลัพธ์

     

    30 30

    11. ประชุมแกนประสานงานกับทีมประเมินโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง

    วันที่ 6 กันยายน 2561 เวลา 09:00-12.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • รายงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
    • ประชุมพูดคุยทำความเข้าใจและให้นิยาม "แรงงานนอกระบบ" คือใคร
    • วางแผนการทำงเนินงานในก้าวต่อไปของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -แกนประสานงานความเข้าใจตรงกันและเห็นเป้าหมายทิศทางในการดำเนินงานโครงการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ผลลัพธ์ - แกนประสานงานสามารถนำ

     

    13 15

    12. ประชุมจัดทำข้อมูลพื้นฐานแรงนอกระบบและปัจจัยเสี่ยงของพื้นที่ 4 ตำบลนำร่อง

    วันที่ 10 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเชิงปฏิบัติการ ระดมข้อมูล ระดมความคิด สรุปเป็นแผนงานร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ข้อมูลสรุปเกี่ยวกับตำบลที่เลือก 2.แผนงานที่ดำเนินการต่อ

     

    20 20

    13. ประชุมสร้างความเข้าใจหน่วยงานด้านสุขภาพระดับอำเภอและกองทุนฯตำบล

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมสัมนา และบรรยาย 2.ให้ผู้เข้าร่วมได้เเลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอเเนวทางดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อสรุปและเเนวความคิดต่างๆ

     

    50 50

    14. จัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาวะตำบลและแผนปฏิบัติการกองทุนตำบล

    วันที่ 19 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.มีการบรรยาย 2.แบ่งกลุ่มเเลกเปลี่ยน นำเสนอ 3.รวบรวมเเละเรียบเรียงให้เกิดแผน 4.สรุปแผน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เเผนงานที่ผ่านการกลั่นกรองจากทุกคนในที่ประชุมเเล้ว

     

    25 25

    15. ประชุมแกนประสานงานก่อนการประชุมแต่ละกิจกรรมครั้งที่3

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้เเจงแกนเตรียมงานแบ่งงานและรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แผนงานกิจกรรมจากการแลกเปลี่ยน

     

    12 13

    16. กิจกรรมรายงานผลการดำเนินงาน

    วันที่ 8 มีนาคม 2562 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นำเสนอผลการดำเนินงาน 2.สรุป ถอดบทเรียน 3.ตรวจเอกสารและรับคำเเนะนำจากทีม สจรส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้แนวทางการดำเนินงาน 2.ได้ข้อเสนอแนะในการจัดทำรายงานและรายละเอียดกิจกรรม

     

    2 15

    17. เวทีถอดบทเรียนการดำเนินงานของตำบลนำร่อง

    วันที่ 14 มีนาคม 2562 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.บรรยายชี้เเจงตัวโครงการ 2.เเลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่ม 3.นำเสนอ 4.สรุปผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ข้อสรุปแนวทางการดำเนินงานต่อไป 2.ได้ภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้น

     

    50 50

    18. การจัดรายการวิทยุ และการลงFacebook-LINE

    วันที่ 29 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.มีการจัดรายการวิทยุ สวท.ระนอง FM 107.25 MHz ทุกวันอาทิตย์ 11.00-12.00 น. และมีการ live ผ่าน Facebook สวท.ระนอง FM 107.25 MHz 2.มีการประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมผ่าน line และ Facebook

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมข่าวสารในทุกช่องทางทำให้ประชาชนรับรู้ข่าวสารที่เป็นประโยชน์

     

    200 0

    19. ติดตามผลการดำเนินงานเเละตรวจเอกสารการเงิน

    วันที่ 10 เมษายน 2562 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ตรวจเอกสารการเงิน 2.ให้คำเเนะนำในการลงข้อมูลใน website

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ความรู้ในการลงข้อมูล

     

    2 0

    20. สำรวจข้อมูลสถานการณ์ด้านปัจจัยเสี่ยงในระดับกองทุนตำบล

    วันที่ 26 เมษายน 2562 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.มีการจัดทำแบบสอบถาม

    2.มีการลงพื้นที่สำรวจข้อมูล ทั้ง 3 ตำบลนำร่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ข้อมูลสถานการณ์ ของเเต่ละพื้นที่

    2.ได้ภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้น

     

    500 10

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดภาคีความร่วมมือ จาก 7 ภาคส่วน 2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม 4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์ 5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

     

    2 เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดข้อมูลอย่างน้อย 5 ด้าน คือ - สถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในอำเภอเมืองระนอง - ผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ - แนวโน้มความรุนแรง - กลไกหรือโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง - แนวทางแก้ไขและแผนปฏิบัติการโครงการ ของหน่วยงานและแผนปฏิบัติการร่วม 2. เรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพถูกบรรจุในวาระของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองระนอง 3. เกิดอนุกรรมการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพอำเภอเมืองระนอง - ร้อยละ 80 ของจำนวนกองทุนฯมีความตระหนักในเรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ - ร้อยละ 20 ของจำนวนกองทุนฯ มีการขับเคลื่อนเรื่องการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ

     

    3 เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดข้อมูลด้านพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ คือ - จำนวนประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง - ผลกระทบจากการมีพฤติกรรมเสี่ยง - ทัศนคติ ความรู้ ของประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง - ชนิด ประเภท ความถี่ ของพฤติกรรมการทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ - สาเหตุ ปัจจัย ที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ 2. เกิดงานวิชาการ 1 เล่ม 3. เกิดการนำเสนอต่อฝ่ายนโยบายของจังหวัดระนอง

     

    4 เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. รายงานความก้าวหน้าโครงการ ทุก 6 เดือน 2. รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่ (4) เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง จังหวัด ระนอง

    รหัสโครงการ 61-ข-009

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุชีพ พัฒน์ทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด