สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง
ภายใต้โครงการ แผนงานโซนใต้บน
ภายใต้องค์กร สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
รหัสโครงการ 61-ข-009
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 5 มกราคม 2561 - 31 มีนาคม 2562
งบประมาณ 200,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุชีพ พัฒน์ทอง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมือง5ตำบล คือตำบลบางนอน ตำบลบางริ้น ตำบลเขานิเวศน์ ตำบลปากน้ำ ตำบลปากน้ำท่าเรือ
ละติจูด-ลองจิจูด 9.9382320846236,98.630559926395place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 5 ม.ค. 2561 30 มิ.ย. 2561 5 ม.ค. 2561 30 มิ.ย. 2561 70,000.00
2 1 ก.ค. 2561 30 มี.ค. 2562 1 ธ.ค. 2560 30 เม.ย. 2562 120,000.00
3 1 เม.ย. 2562 30 เม.ย. 2562 10,000.00
รวมงบประมาณ 200,000.00
stars
3. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ที่กำหนดให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วม ในระบบหลักประกันสุขภาพ ทั้งในส่วนของการเป็นผู้มีสิทธิในการเข้ารับบริการ การบริหารจัดการ
การตรวจสอบและรับรองคุณภาพบริการ ดังที่ปรากฏในมาตราต่างๆได้แก่ มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 13 (4) มาตรา18 (7) (9) (10) (13) มาตรา 41 มาตรา 47 มาตรา 48 (8) มาตรา 50 (5) (7) (9) มาตรา 59 และจากการดำเนินงานตามนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงเวลาที่ผ่านมาพบว่า ประชาชนยังคงมีปัญหาเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยเฉพาะเรื่องสิทธิประโยชน์ของประชาชนในการเข้ารับบริการ ยังไม่ชัดเจนเพียงพอ ทำให้ประชาชนบางส่วนไม่มีความมั่นใจและไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ นอกจากนี้ยังพบว่า ในการดำเนินงานในระบบหลักประกันสุขภาพ เป็นการทำงานแบบแยกส่วนตามบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายแต่ละหน่วยงาน ซึ่งต้องมีการประสานสร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์อันดีของทุกฝ่ายและหน่วยงาน ไม่ว่าจะเป็นผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และผู้จัดหาบริการ เพื่อให้การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาระบบบริการที่ดี ซึ่งจะนำไปสู่ความพึงพอใจระบบหลักประกันสุขภาพร่วมกัน และให้เป็นหลักประกันสุขภาพของประชาชนอย่างแท้จริง จากสถานการณ์ประชาชนส่วนใหญ่ในจังหวัดระนองประกอบอาชีพ เกษตรกร ประมง รับจ้างทั่วไป ซึ่งเป็นแรงงานนอกระบบและประชาชนส่วนใหญ่ยังเข้าไม่ถึงกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ

stars
4. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก
  1. ตั้งต้นประสานที่ พชอ.
  2. ช่วยกองทุนตำบลทำยุทธศาตร์/แผน ทำให้กองทุนมีโครงการตามแผน
  3. ยกระดับงานสู่สมัชชาสุขภาพระดับจังหวัด
  4. ยกระดับเป็นแนวทางให้กับ กขป. (เป็นวาระเข้าสู่มหกรรมสุขภาพของเขต11)
stars
5. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง
  1. เกิดภาคีความร่วมมือ จาก 7 ภาคส่วน
  2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
  3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม
  4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์
  5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  1. เกิดข้อมูลอย่างน้อย 5 ด้าน คือ
    • สถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในอำเภอเมืองระนอง
    • ผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • แนวโน้มความรุนแรง
    • กลไกหรือโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง
    • แนวทางแก้ไขและแผนปฏิบัติการโครงการ ของหน่วยงานและแผนปฏิบัติการร่วม
  2. เรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพถูกบรรจุในวาระของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองระนอง
  3. เกิดอนุกรรมการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพอำเภอเมืองระนอง
    • ร้อยละ 80 ของจำนวนกองทุนฯมีความตระหนักในเรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • ร้อยละ 20 ของจำนวนกองทุนฯ มีการขับเคลื่อนเรื่องการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่
  1. เกิดข้อมูลด้านพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ คือ
    • จำนวนประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
    • ผลกระทบจากการมีพฤติกรรมเสี่ยง
    • ทัศนคติ ความรู้ ของประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
    • ชนิด ประเภท ความถี่ ของพฤติกรรมการทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • สาเหตุ ปัจจัย ที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
  2. เกิดงานวิชาการ 1 เล่ม
  3. เกิดการนำเสนอต่อฝ่ายนโยบายของจังหวัดระนอง
4 เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  1. รายงานความก้าวหน้าโครงการ ทุก 6 เดือน
  2. รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ
stars
6. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ก.พ. 2561 10:17 น.